SlideShare a Scribd company logo
1 of 92
ปรัชญาทั่วไป ตอน
ปรัชญาอินเดีย สายอาสติกะ
โดย อ.สรณีย์ สายศร
ปรัชญาแบ่งตามภูมิภาคที่เป็ นแหล่งกาเนิด
ปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญากรีก
- ธาเลส (Thales)
ฯลฯ
ปรัชญาอินเดีย ปรัชญาจีน
- อาสติกะ -เต๋า
- นาสติกะ -ขงจื๊อ
ฯลฯ
ความหมายของปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาอินเดีย หมายถึง ปรัชญาทุกสานักหรือทุกระบบที่เกิดขึ้นใน
อินเดีย หรือที่คิดสร้างสรรค์ขึ้นไว้โดยศาสดาและนักคิดที่เคยมีชีวิต
อยู่หรือกาลังมีชีวิตอยู่ในอินเดีย
การแบ่งยุคในปรัชญาอินเดีย
1. ยุคพระเวท (Vedic Period) เริ่มตั้งแต่เกิดมีพระเวทขึ้น ประมาณ 1,000
ปี ถึง 100 ปี ก่อนพุทธกาล
2. ยุคมหากาพย์ (Epic Period) เกิดมหากาพย์รามายนะและมหาภารตะ /
พระพุทธศาสนาและศาสนาเชนรุ่งโรจน์ เริ่ม 100 ปี ก่อนพุทธกาลจนถึง
ราว พ.ศ. 700
3. ยุคระบบทั้ง 6 (Period of the Six System) เกิดระบบทั้ง 6 ของปรัชญา
ฮินดู คือ นยายะ ไวเศษิกะ สางขยะ โยคะ มีมามสา เวทานตะ / ยุคที่ศาสนา
พราหมณ์พัฒนามาเป็น ศาสนาฮินดู ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 700 ลงมา
ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาอินเดียแบ่งออกเป็นสองสาย ได้แก่
อาสติกะ (Āstik) และนาสติกะ (nāstik)
-ในทางปรัชญาอาสติกะ และนาสติกะ หมายถึงความเชื่อหรือไม่เชื่อในความ
ถูกต้องและความศักดิ์สิทธิ์ของพระเวท (testimony of vedas)
-ปรัชญาอินเดียกลุ่มอาสติกะ ได้แก่ปรัชญาฝ่ ายฮินดู 6 สานัก หรือ 6
ทรรศนะ มี นยายะ ไวเศษิกะ สางขยะ โยคะ มีมามสา และเวทานตะ
-ปรัชญาอินเดียกลุ่มนาสติกะ ได้แก่ ปรัชญาพุทธ ปรัชญาเชน และ
ปรัชญาจารวาก (ไม่เชื่อในคัมภีร์พระเวท)
ลักษณะร่วมแห่งระบบต่างๆ ของ
ปรัชญาอินเดีย (ยกเว้นจารวาก)
1. เป็นปรัชญาชีวิต สามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ชีวิตเพื่อบรรลุอุดมคติที่ตังงไว้
2. เป็นปรัชญาที่เริ่มต้นแบบ ทุทรรศนนิยม (Pessimism) แต่จบลงด้วย สุทรรศน
นิยม (Optimism)...ชีวิตมีทุกข์... ไม่พอใจ... หาทางออก....พ้นทุกข์ พบสุข
3. เชื่อในกฎแห่งกรรม
4. อวิชชา หรือ อวิทยา เป็นสาเหตุแห่งความติดข้อง และการเวียนว่ายตายเกิด
/วิชชา หรือ วิทยา เป็นสิ่งที่ทาให้พ้นจากความติดข้อง และมุ่งการบรรลุโมกษะ หรือ
ความหลุดพ้นจากทุกข์เป็นจุดหมายปลายทาง
ลักษณะร่วมแห่งระบบต่างๆ ของ
ปรัชญาอินเดีย (ยกเว้นจารวาก)
5. การบาเพ็ญสมาธิ และวิปัสสนา โดยพิจารณาสิ่งต่างๆ ให้เห็นตามสภาพความ
เป็นจริง เป็นทางที่จะนาไปสู่ความหลุดพ้นจากทุกข์
6. การควบคุมตนเอง หรือ การควบคุมจิตใจไม่ปล่อยให้เป็นไปในอานาจของตัณหา
เป็นวิถีทางที่จะกาจัดกิเลสเพื่อบรรลุโมกษะ
7. ความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง หรือ โมกษะเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ แต่ต้องอาศัยการ
ปฎิบัติพากเพียรอย่างเข้มงวด
ปรัชญาอินเดียยุคพระเวท
เป็นปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ เกิดจากการผสมผสานความเชื่อของชน
พื้นเมืองอินเดีย คือ พวกทราวิท หรือ ดราวิเดียน กับ ความเชื่อของผู้บุกรุก คือ
พวกอารยัน กลายเป็นศาสนาและปรัชญาตามแนวคาสอนของคัมภีร์พระเวท
ยุคพระเวท เป็นยุคที่นับตั้งแต่เริ่มเกิดมีพระเวทขึ้น คัมภีร์พระเวทเริ่มมีขึ้น
ประมาณ 1,000 ปี ก่อนพุทธกาล
เมืองโมเหนโจดาโร : อารยธรรมโบราณลุ่มแม่น้าสินธุ
ของพวกดราวิเดียน
เมืองฮารัปปา : อารยธรรมโบราณลุ่มแม่น้าสินธุ
ของพวกดราวิเดียน
คัมภีร์พระเวท
ยุคพระเวทเริ่มขึงนเมื่อประมาณ 1,000 ปีก่อนพุทธกาล โดยมีคัมภีร์ฤคเวทเกิดขึงนก่อน
คัมภีร์พระเวท ประกอบด้วย 4 คัมภีร์ ได้แก่
1. คัมภีร์ฤคเวท : เป็นบทร้อยกรอง ใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้าต่างๆ
2. คัมภีร์ยชุรเวท : เป็นบทร้อยแก้ว ว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีกรรม
บูชายัญ และพิธีบวงสรวง
3. คัมภีร์สามเวท : เป็นคาฉันท์ สาหรับสวดในพิธีถวายนงาโสมแด่พระอินทร์
4. คัมภีร์อาถรรพเวท : เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนต์
พระเวทแต่ละคัมภีร์ แบ่งออกเป็ น 4 ตอน คือ
1. มันตระ : รวบรวมมนต์สาหรับใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า
2. พราหมณะ : อธิบายระเบียบการประกอบพิธีกรรม
3. อารัณยกะ : เรียบเรียงในป่าที่เงียบสงัด เกิดแนวคิดทางปรัชญา
4. อุปนิษัท : ประมวลแนวความคิดทางปรัชญาในคัมภีร์พระเวทไว้ทังงหมด
ว่าด้วยความรู้ในเรื่องธรรมชาติอันแท้จริงของโลก , พรหม หรือ พรหมัน หรือ
อาตมัน
 อุปนิษัท เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเวทานตะ แปลว่าที่สุดแห่งพระเวท
เพราะเป็นตอนสุดท้ายของพระเวทอย่างหนึ่ง และเป็นประมวลส่วนที่
สาคัญที่สุดของพระเวทอย่างหนึ่ง
ชาวฮินดูเชื่อว่าคัมภีร์พระเวทเป็น “ศรุติ” – พระวจนะของพระเจ้าที่ทรงสั่ง
สอนถ่ายทอดให้แก่พวกฤาษีอินเดียในสมัยโบราณ ฤาษีทั้งหลายเมื่อได้
เรียนรู้พระเวทจากพระเจ้าแล้วก็สั่งสอนถ่ายทอดให้แก่สานุศิษย์ต่อๆ มา
ในเตวิชชสูตร : ฤาษี 10 ตน ผู้เป็นบูรพาจารย์ผู้สอนคัมภีร์พระเวทให้แก่
พวกพราหมณ์ ได้แก่ ฤาษีอัฏฐกะ, ฤาษีวามกะ, ฤาษีวามเทวะ, ฤาษีเวส
สามิตร,ฤาษียมตัคคี, ฤาษีอังคีรส, ฤาษีภารทวาชะ, ฤาษีวาเสฎฐะ,
ฤาษีกัสสปะ และฤาษีภคุ
ความคิดทางด้านศาสนาและปรัชญาในคัมภีร์พระเวท
คนพืงนเมืองเดิมของอินเดีย นับถือ บูชาโลกธาตุ 4 และธรรมชาติ มีแนวคิดแบบ
“วิญญาณนิยม” (Animism)
เมื่อพวกอารยันเข้ามารุกราน จึงเกิดการผสมผสานแนวความคิด และความเชื่อ
ของพวกอารยันและชนพืงนเมืองเข้าด้วยกัน จนกลายป็นศาสนาและปรัชญาตาม
แนวคาสอนของคัมภีร์พระเวทในยุคต่อมา
ในยุคพระเวทเกิดมีเทพเจ้าใหม่ๆ เป็นเทพเจ้าประจาธรรมชาติ
พระสาวิตรี
พระวรุณ เทพผู้ควบคุมกฎ ฤตะ
พระอินทร์ พระผู้สร้างโลก
พระยม เทพแห่งความตาย
พระอัคนี
พัฒนาการทางศาสนาในยุคพระเวท
พหุเทวนิยม (Polytheism)
อติเทวนิยม (Henotheism)
เอกเทวนิยม (Monotheism )
เอกนิยม (Monism)
การแบ่งบุคคลในสังคมออกเป็ น
4 ประเภท หรือ วรรณะ
1. วรรณะกษัตริย์ : เป็นชนชังนนักรบ
2. วรรณะพราหมณ์ : นักบวช ศึกษาทรงจาและสืบต่อคัมภีร์ พระเวท
เป็นผู้ประกอบพิธีกรรม
3. วรรณะแพศย์ หรือ ไวศยะ : เป็นวรรณะของคนส่วนใหญ่ มีอาชีพ
ค้าขาย ทาการเกษตร ศิลปหัตถกรรม
4. วรรณะศูทร : มีอาชีพเป็นกรรมกร ใช้แรงงาน ให้บริการแก่วรรณะอื่น
บ่อน้าร้อนตโปทาราม
หลักธรรมที่สาคัญ อาศรม 4
ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ได้แบ่งขังนตอนของชีวิตออกเป็น 4 ขังน
1. พรหมจรรย์ : ขังนตอนของชีวิตที่ยังศึกษาเล่าเรียนในสานักของ
อาจารย์
2. คฤหัสถ์ : การครองเรือนโดยการแต่งงานและตังงครอบครัว ต้อง
บาเพ็ญมหายัญ 5 อย่าง
3. วานปรัสถ์ : ขังนตอนการแยกจากครอบครัว เพื่อไปปฏิบัติธรรมใน
ป่า “เมื่อผู้ครองเรือนสังเกตเห็นความเหี่ยวย่นปรากฏบนผิวหนังของ
ตน เห็นผมปรากฏเป็นสีเทา เห็นบุตรของบุตร เขาควรละจากบ้านไปสู่
ป่า”
อาศรม 4 (ต่อ)
4. สันยาสี : เป็นขังนตอนสุดท้ายของชีวิต เป็นผู้ครองเพศบรรพชิต สละชีวิตทาง
โลกโดยสิงนเชิง อุทิศตนในการแสวงหาความจริงเกี่ยวกับชีวิต แสวงหาอาหาร
ด้วยการภิกขาจาร รักษาพรหมจรรย์ ควบคุมกาย วาจา ใจ มุ่งปฏิบัติขัดเกลา
โดยมีความหลุดพ้นจากทุกข์เป็นจุดหมายปลายทาง
ประโยชน์ 4
การดาเนินชีวิตที่ดี ควรมุ่งประโยชน์ตามลาดับ ดังนีง
1. อรรถะ : ความสมบูรณ์พรั่งพร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
2. กามะ : การแสวงหาความสุขทางโลกตามควรแก่
ภาวะหรือวิสัยของผู้ครองเรือน
3. ธรรมะ : การถึงพร้อมด้วยคุณธรรม
4. โมกษะ : การเข้าถึงการหลุดพ้นจากทุกข์โดย
สิงนเชิงและตลอดไป
ปรัชญาอุปนิษัท
ปรัชญาอุปนิษัท
อุปนิษัทเป็นตอนสุดท้ายของคัมภีร์พระเวท เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “เวทานตะ”
อุปนิษัท แปลว่า การนั่งลงใกล้อาจารย์ของผู้เป็นศิษย์ เพื่อรับคาสอนอย่างตังงใจ
เกี่ยวกับเรื่องความจริง หรือสัจธรรม ที่จะบรรเทาความสงสัย หรือ ทาลายอ
วิทยาให้หมดไป
ยุคอุปนิษัท เริ่มต้นเมื่อประมาณ 100 ปีก่อนพุทธกาล และสิงนสุดลงในราว พ.ศ.
700
ความเชื่อแบบอติเทวนิยม เปลี่ยนเป็นความเชื่อแบบ เอกเทวนิยม อย่างเต็มที่
คือ นับถือ พระประชาบดี หรือ พระพรหม เป็นเทพผู้ยิ่งใหญ่สูงสุด เป็นผู้สร้าง
โลกและสร้างสรรพสิ่ง
คัมภีร์อุปนิษัท
เป็นคัมภีร์ที่ว่าด้วยความคิดทางปรัชญา นั่นคือ ความนึกคิดเกี่ยวกับปัญหา
เรื่องความมีอยู่ของ พรหมัน หรือ อาตมัน (Supream Soul) มายา / อวิทยา/
การสร้างโลก / โมกษะ หรือความหลุดพ้น ความรู้ที่เป็นความจริง หรือทาง
นาไปสู่ความเป็นเสรี
ถือกันว่าอุปนิษัทเป็นคัมภีร์เล่มสุดท้ายของการศึกษา เป็นบทสนทนาโต้ตอบ
ได้อธิบายถึงธรรมชาติและจักรวาล วิญญาณของมนุษย์ การเวียนว่ายตายเกิด
กฎแห่งกรรมและหลักปฏิบัติ ปรัชญาสาคัญ ซึ่งเป็นการอธิบายสาระสาคัญของ
คัมภีร์พระเวททังงหมด
สาระแห่งปรัชญาอุปนิษัท
1) เรื่องปรมาตมัน - ปรมาตมัน คือ วิญญาณดังงเดิม หรือ ความจริงสูงสุด
ของโลกและชีวิต หรือ จักรวาล ซึ่งเรียกว่า พรหมัน สรรพสิ่งมาจากพรหมัน
และในที่สุดก็จะกลับคืนสู่ความเป็นเอกภาพกับพรหมัน มีลักษณะเป็นอัตตา
อมตะนิรันดร
2) เรื่องอาตมัน หรือ ชีวาตมัน - ซึ่งเป็นส่วนอัตตาย่อยหรือวิญญาณย่อยที่
ปรากฏแยกออกมาอยู่ในแต่ละคน ดังนังนการที่อาตมันหรือชีวาตมันย่อยนีงเข้าไป
รวมกับพรหมันหรือปรมาตมันได้จึงเป็นการพ้นทุกข์ ไม่มีการเวียนว่ายตายเกิด
อีกต่อไป
สาระแห่งปรัชญาอุปนิษัท
3.) เรื่องกรรม – การที่ชีวาตมันจะกลับคืนสู่พรหมันเป็นเอกภาพอมตะได้นังน
ผู้นังนจะต้องบาเพ็ญเพียร ทาความดี และประกอบพิธีกรรมต่างๆ ที่เรียกว่า
โยคะ คือ กรรมโยคะ ทากรรมดี ภักติโยคะ มีศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้า และ
ชญานโยคะ หรือการศึกษาจนเข้าใจคัมภีร์พระเวทอย่างถูกต้อง
คาสอนในคัมภีร์อุปนิษัท ทาให้ศาสนาพราหมณ์เป็น เอกนิยม (Monism) เชื่อ
ว่า สรรพสิ่งมาจากหนึ่งและจะกลับไปสู่ความเป็นหนึ่ง
คาสอนในคัมภีร์อุปนิษัท
1.พระพรหมเป็นผู้ทรงความเที่ยงแท้นิรันดร โลกทั้งปวงเป็นมายา และต้อง
ถึงความพินาศเมื่อสิงนกัลป์ สรรพสิ่งรวมทังงเทพเจ้าล้วนมีกาเนิดมาจากพระพรหม
ทังงสิงน กรรมเป็นเหตุให้มนุษย์ต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ใน สังสาระ การพ้นจาก
สังสารวัฏและเข้าไปเป็นเอกภาพของพระพรหมเป็นจุดหมายสูงสุด
2. วิญญาณของมนุษย์และสรรพสัตว์ย่อมมาจากวิญญาณแรก คือ พรหมัน
เปรียบเหมือนประกายไฟที่กระเด็นออกมาจากไฟดวงมหึมาดวงเดิม เมื่อวิญญาณ
ที่หลุดออกมาจากพรหมันแล้ว ต้องเข้าสิงสู่อยู่ในรูปต่างๆ นับครังงนับชาติไม่ถ้วน
และต้องมีสภาพไม่สม่าเสมอกันจนกว่าวิญญาณนังนจะเข้าถึงโมกษะ
คาสอนในคัมภีร์อุปนิษัท
3. อาศัยกรรมดี กรรมชั่ว เป็นปัจจัยให้มีการเวียนว่ายตายเกิด ถ้าใคร
สามารถหาอุบายไม่ทากรรมได้ ก็จะรอดพ้นจากความเกิดกรรม เช่น ออกป่า
ถือเพศเป็นดาบสหรือนักพรตเข้าสู่ความเป็นผู้ไม่ประกอบกรรม เพื่อให้วิญญาณเข้า
ใกล้ชิดกับพรหมัน
4. เมื่อถึงกาหนดสิ้นกัลป์ หนึ่งซึ่งเป็นคราวล้างโลก วิญญาณและโลกธาตุ
จะต้องพินาศลงและเข้าสู่สภาวะเดิมคือ พรหมัน เมื่อถึงเวลาของพรหมัน
สร้างโลกขึ้นมาใหม่ ธาตุนานาชนิดก็จะชุมนุมกันขึ้น วิญญาณก็จะแยกออก
จากพรหมัน เข้าสิงเกิดเป็นมนุษย์ สัตว์ และสรรพสิ่งต่างๆ และจัดหมวดหมู่แบ่งชังน
ของมนุษย์ เป็น วรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ วรรณะศูทร เพื่อ
ความศานติสุขของมนุษย์
ปรัชญาภควัทคีตา
เพลงของพระผู้เป็ นเจ้า
ปรัชญาภควัทคีตา
ปรากฏอยู่ในมหากาพย์ เรื่อง มหาภารตะ เป็นเรื่องว่าด้วย กษัตริย์ 2 วงศ์ คือ
วงศ์เการพ และวงศ์ปาณฑบ ซึ่งเป็นญาติกัน แต่ต้องมารบกัน พระกฤษณะซึ่ง
เป็นพระนารายณ์อวตารปางที่ 8 ผู้ทาหน้าที่สารถีขับรถให้อรชุนซึ่งอยู่ในวงศ์
ปาณฑบ ได้แสดงหลักปรัชญาเรื่อง อาตมัน กับพรหมัน ไว้อย่างชัดเจน จนทา
ให้อรชุนมีกาลังใจในการรบจนกระทั่งชนะฝ่ายศัตรู โดยสอนเน้นเรื่อง
“การทาหน้าที่เพื่อหน้าที่ของมนุษย์”
“........พระอรชุนทรงยืนในท่าทรงศร ท่ามกลางสนาม
รบ คอยให้สัญญาณให้ทหารลงมือรบ ขณะนั้น พระ
อรชุนมองเห็นกองทัพฝ่ายตรงข้ามปรากฏอยู่ตรงหน้า
ซึ่งเป็นกองทัพของพวกที่เป็นญาติของพระองค์เอง
บรรดาแม่ทัพนายกอง ล้วนเป็นญาติใกล้ชิดของ
พระองค์อยู่หลายคน และส่วนใหญ่ก็เป็นบุคคลที่ตน
นับถือยิ่ง ส่วนคนในกองทัพของพระอรชุนเองก็มีพระ
ภาดา และญาติของพระองค์รวมอยู่ด้วย ทันใดนั้น
พระอรชุนก็ตกอยู่ในอาการประหวั่นพรั่นพรึง ด้วย
ความสลดพระทัยอย่างยิ่ง จึงถามตนเองว่าจะมี
ประโยชน์อันใดกับราชอาณาจักร เมื่อเรารบชนะก็จะ
ได้มา แต่จะต้องสูญเสียชีวิตและเลือดเนื้อของผู้คน
เป็นอันมาก เป็นการสมควรแล้วหรือที่จะ
ประหัตประหารคนเหล่านี้.......ถ้าเกิดรบกันจนโลหิต
ไหลนอง เราก็มิเป็นผู้กระทาบาปอย่างปราศจาก
เหตุผลละหรือ? เมื่อทรงคิดเช่นนี้ พระทัยก็อ่อนลงจน
ศรหลุดจากพระหัตถ์ ขณะนั้นพระกฤษณะซึ่งเป็น
สารถีของพระอรชุนได้เตือนสติและปลุกพระทัยของ
พระอรชุนให้เข้มแข็งขึ้นด้วยบทปรัชญาในภควัทคีตา
• ปรัชญาภควัทคีตา.....มีจุดมุ่งหมาย
ที่จะสอนคติปรัชญาแห่งการกระทา
หน้าที่ที่ถูกต้อง โดยยกเอา
เกียรติยศของบุคคลให้สูงขึ้น ซึ่ง
หมายถึง หน้าที่ที่บุคคลพึงกระทา
โดยไม่คานึงถึงผลประโยชน์ส่วนตัว
เป็นที่ตั้ง หรือ ไม่มีจุดมุ่งหวังใดๆ
จะต้องทาหน้าที่ของตนอย่าง
เคร่งครัด และเข้าใจว่าแท้จริงแล้ว
วิญญาณ(อาตมัน) ไม่มีการถูก
ทาลาย เป็นอมตะ
• สิ่งที่แตกสลายทาลายได้ คือ
ร่างกายเท่านั้น
คัมภีร์ภควัทคีตา สอนจริยธรม คือ โยคะ หรือ
ทางแห่งการบรรลุความเป็ นเอกภาพกับพรหมัน 3 ทาง คือ
1) การกระทากรรมดี โดยการปฏิบัติหน้าที่ของตนในแต่ละวรรณะให้
ถูกต้อง และละความยึดมั่นถือมั่นในการกระทากรรม เรียกว่า
“กรรมโยคะ”
2) การภักดี หรือ อุทิศตนหรือการมอบตนด้วยศรัทธาต่อพระผู้เป็นเจ้า
เรียก “ภักติโยคะ”
3) ความรู้ เริ่มต้นด้วยการศึกษาพระเวท จนสามารถเข้าใจถึงธรรมชาติที่
แท้จริงของชีวิต ว่าวิญญาณเกิดจากพรหมันและต้องกลับไปอยู่กับพร
หมัน มิใช่มัวยึดติดกับร่างกายซึ่งเป็นเรื่องของกิเลส เรียก “ชญาณโยคะ”
ปรัชญาอินเดียสายอาสติกะ 6 สานัก
• นยายะ
• ไวเศษิกะ
• สางขยะ
• โยคะ
• มีมามสา
• เวทานตะ
• เชื่อมั่นในความถูกต้องและความ
ศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์พระเวท
1. ปรัชญานยายะ
ก่อตังงโดยฤาษีโคตมะ
เป็นระบบปรัชญาที่เน้นหนักไปในทางส่งเสริมสติปัญญา / การ
วิเคราะห์/ และการโต้แย้งเชิงตรรกวิทยาและญาณวิทยา
นยายะ เป็นปรัชญา “พหุปรมาณูนิยม” (Atomistic Pluralism)
เป็น “ตรรกสัจนิยม” (Logical Realism)
ยอมรับ อภิปรัชญาของไวเศษิกะเป็นส่วนใหญ่
ทฤษฎีความรู้ของ นยายะ
• นยายะเป็น ปรัชญา “สัจนิยม” ถือว่า
ความรู้เป็นสิ่งที่เปิดเผยให้ปรากฏทังงผู้รู้
(Subject) และ สิ่งที่ถูกรู้ (Object) ความรู้
ทุกประเภท เป็นสิ่งที่ทาให้สิ่งที่ถูกรู้ปรากฏ
ออกมา
• ความรู้ มีทังงชนิดที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง
• ความรู้ที่ถูกต้อง เรียกว่า “ประมา”
หรือ ความเข้าใจสิ่งที่ถูกรู้ตามความ
เป็นจริง ต้องเป็นความรู้ที่สอดคล้อง
กับความเป็นจริง ซึ่งได้มาโดยวิธี
4 ประการ
ความรู้ที่ถูกต้อง 4 ประการ
1. ความรู้โดยการประจักษ์ (Perception)
 “อาตมัน สัมผัสกับ มนัส(จิต)
 มนั สัมผัสกับอายตนะภายใน
 อายตนะภายใน สัมผัสกับ อายตนะภายนอก การรับรู้
2. ความรู้โดยการอนุมาน (Inference)
 เป็นการอ้างเหตุผลทังงแบบนิรนัย และอุปนัย และต้องถูกต้องทังงรูปแบบ
และเนืงอหา
3. ความรู้ที่ได้รับจากการเปรียบเทียบ (Comparison)
4. ความรู้จากการบอกเล่าของผู้อื่น (Verbal Testimony)
ลาดับการหาเหตุผลแบบ นยายะ
ที่ภูเขามีไฟ (ประติชญา)
เพราะว่าที่ภูเขามีควัน (เหตุ)
ที่ใดมีควันที่นั่นมีไฟ เช่นที่เตาหุงข้าว (อุทาหรณ์)
ที่ภูเขามีควัน ซึ่งเป็นสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกับไฟ (อุปนัย)
เพราะฉะนั้น ที่ภูเขามีไฟ (นิคม)
(ไฟ เป็นคาหลัก / ภูเขา เป็นคารอง / ควัน เป็นคากลาง)
ความรู้ที่ไม่ถูกต้อง
1. ความรู้ที่ไม่สอดคล้องกับความจริง หรือ ข้อเท็จจริง
2. ความรู้ที่เกิดจากการจา (Memory)
3. ความสงสัย (Doubt)
4. ความสาคัญผิด (Error)
5. ความรู้ที่เกิดจากการสมมติ (Hypothetical Reasoning)
อภิปรัชญาของนยายะ
•ทฤษฎีปัจจยาการ (Causation) หรือ ทฤษฎีแห่งเหตุและผล เหตุ
หมายถึง สิ่งที่มีมาก่อนสิ่งที่เป็นผลอย่างแน่นอน และโดยปราศจาก
เงื่อนไข/ และผล หมายถึง สิ่งที่เกิดขึงนสืบเนื่องมาจากสิ่งที่เป็นเหตุ อย่าง
แน่นอนและโดยปราศจากเงื่อนไข/เหตุและผลต้องสอดคล้องกันเสมอ
•นยายะ เป็น “อสัตการยวาท” มีแนวคิดว่า ผลไม่ได้มีอยู่ก่อนแล้วในสิ่งที่
เป็นเหตุ แต่เป็นสิ่งที่เกิดขึงนใหม่ โดยสิ่งที่เป็นเหตุทาให้มันเกิดขึงน (ตรง
ข้ามกับ “สัตการยวาท” ของ สางขยะ โยคะ และเวทานตะ)
•นยายะ มี เหตุผล อยู่ 3 ชนิด คือ 1) สมวายี-วัสดุปัจจัย/ 2) อสมวายี –
สาเหตุที่ไม่แนบเนื่องอยู่ในสิ่งที่เป็นผล / 3) นิมิตตะ- อานาจที่ช่วย..........
ให้วัสดุปัจจัยสามารถทาให้สิ่งที่เป็นผลเกิดขึงน
ทฤษฎีการเกิดโลกของนยายะ
• โลก หรือ สากลจักรวาล เกิดขึงนจากการสร้างสรรค์ของพระเจ้า โดยพระเจ้า
นาเอาปรมาณูของธาตุทังง 4 มารวมกันเข้าตามสัดส่วนที่เหมาะสมโดยอาศัย
อานาจที่มองไม่เห็น (อฤษฏะ- กฎแห่งกรรม) ช่วยในการทาให้ปรมาณูของธาตุ
ต่างๆ รวมตัวและยึดโยงเข้าด้วยกัน
• พระเจ้า เป็นสัมฤทธิ์ปัจจัย ไม่ใช่วัสดุปัจจัย จึงมิใช่ผู้สร้างโลกที่แท้จริง
อานาจที่แท้จริง คือ อทฤษฏะ
• พระเจ้า เป็นสิ่งสมบูรณ์ ถึงพร้อมด้วย ความเป็นใหญ่, อานาจ, ความรุ่งเรือง,
ความงาม, ความรู้, และอิสรภาพ
ทัศนะเกี่ยวกับอาตมัน หรือ ชีวาตมัน
•ชีวาตมัน เป็นตัวผู้รับรู้อารมณ์ ผู้เสวยอารมณ์ ผู้กระทากรรม และผู้รับผล
ของกรรม
•การติดข้องของชีวาตมันเกิดจากอวิทยาและกรรม
•โมกษะ หรือ ความหลุดพ้นเกิดขึงนโดยอานาจของอวิทยาและการทาลาย
กรรมให้หมดไป
•อัตตาของคน เมื่อบรรลุโมกษะแล้วจะไปรวมอยู่กับบรมอัตตาของ
โลก หรืออัตตาสากล (พระเจ้า) มีสภาวะบริสุทธิ์ปลอดจาก
ความสุข ความทุกข์ ปลอดจากความกลัว ความแก่ชรา และความ
ตาย พ้นจากความผูกพันของร่างกายและประสาท
จริยศาสตร์ของนยายะ
• จุดหมายปลายทางสูงสุดของชีวิต คือ
การรู้แจ้วตน หรือ โมกษะ
• วิถีสู่การหลุดพ้น
• ให้เรียนรู้ลักษณะอันแท้จริงของตน หรือ
ของอาตมันจากการศึกษาคัมภีร์พระเวท
• ให้คิดไตร่ตรองตามที่เรียนมาด้วยเหตุผล
• เข้าสมาธิ เพ่งพิจารณาให้เห็นลักษณะแท้ของอาตมัน ทาให้สามารถ
แยกตัวตนออกมาจากสิ่งที่ไม่ใช่อาตมัน ปลดเปลื้องตัวเองจากความ
หลงผิด + ความเมตตาจากพระเจ้า ผู้นั้นก็จะปลอดกรรมและบรรลุถึง
โมกษะ
2. ปรัชญาไวเศษิกะ
เป็นปรัชญาที่เน้น เรื่อง “วิเศษะ” หรือ ลักษณะ
เฉพาะตัวของส่วนประกอบของสิ่งต่างๆ เป็นพิเศษ –
คุณลักษณะของบรรดาสิ่งที่ประกอบกันขึ้นเป็น
จักรวาล ซึ่งมีจานวนนับประมาณมิได้ แต่ละสิ่งมี
ลักษณะแตกต่างกันไป
ก่อตั้งโดย นักพรต“กนาทะ” ผู้รจนา “ไวเศษิกสูตร”
ทฤษฎีความรู้ : ความรู้ที่ถูกต้อง มี 2 ทาง คือ
1) โดยการรับรู้ทางประสาทสัมผัส
2) โดยการอนุมาน
อภิปรัชญา ของไวเศษิกะ
เป็น “พหุสัจนิยม” : สิ่งที่เรารับรู้ด้วยประสาทสัมผัสมีอยู่จริง และสิ่งที่มีอยู่จริงก็
มีจานวนมากมายนับไม่ถ้วน
สิ่งที่มีอยู่จริง เรียกว่า “ปทารถะ” หรือ สิ่งที่แสดงให้รู้ได้ด้วยคาพูด มี 7 ชนิด
 ทรัพยะ (สสาร)
 คุณะ (คุณสมบัติ)
 กรรม (อากัปกิริยา)
 สามานยลักษณะ (ลักษณะสามัญ)
 วิเศษลักษณะ (ลักษณะเฉพาะ)
 สมวายะ (ความแนบเนื่อง)
 อภาวะ (ความไม่มีอยู่)
อภิปรัชญา ของไวเศษิกะ (ต่อ)
เชื่อในทฤษฎีปัจจยาการ คือ “อสัตการยวาท”
“ปรมาณูการณวาท” คือ ปรมาณู 4 ชนิด คือ ดิน นงา ลม ไฟ เป็นปฐมเหตุของ
สิ่งต่างๆ
การเคลื่อนไหวของปรมาณู เกิดจากพลังอทฤษฏะ
การรวมตัวกันเป็นโลกและสิ่งต่างๆ เกิดจากเจตจานงของพระเจ้า /พระเจ้าเป็น
ผู้สร้างโลก สร้างพระพรหม มีพลังอทฤษฏะช่วยเสริม
ชีวาตมัน เป็นสิ่งเที่ยงแท้คู่กับปรมาณู เป็นศูนย์กลางของชีวิต และเป็นตัวรับผล
กรรม
จริยศาสตร์ ของไวเศษิกะ
 การกระทาใดที่สอดคล้องกับคาสอนของคัมภีร์พระเวท การกระทานังนจัดเป็น
กุศล ก่อให้เกิดบุญ / การกระทาใดที่ขัดต่อข้อห้ามของคัมภีร์พระเวทจัดเป็น
อกุศลกรรม ก่อให้เกิดบาป
 บุญ และบาป รวมตัวกันเป็น “อทฤษฏะ” ยังผลให้เกิดสุข ทุกข์ เจริญ และ
เสื่อม แก่ชีวาตมันที่ยังเวียนว่ายในสังสารวัฏ – เป็นไปตามกรรมของตน
 อวิทยา เป็นสาเหตุแห่งความติดข้อง / วิทยา หรือ ความรู้แจ้งเห็นจริงในสัจ
ธรรม ว่า ตน (ชีวาตมัน) เป็นสิ่งบริสุทธิ์เที่ยงแท้นิรันดร จะเป็นปัจจัย แห่งการ
หลุดพ้น ซึ่งเป็นภาวะ แห่งจิตสสารบริสุทธ์ ปราศจากสัมปชัญญะ ไม่มีความรู้
ไม่มีความสุข ดารงปัจเจกภาพนิรันดร
3. ปรัชญาสางขยะ
ลัทธิสางขยะ เป็นลัทธิที่เก่าแก่ที่สุดในบรรดาปรัชญาฮินดู 6 ระบบ ก่อตังงโดย
“กปิละ”
สางขยะ มาจากคาว่า “สังขยา” แปลว่า จานวน เป็นปรัชญาที่มุ่งแสวงหาความรู้
ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับสัจภาพ โดยการจาแนกวัตถุแห่งการรับรู้ออกเป็นจานวน
มากมายถึง 25 ชนิด
เป็นปรัชญา “ทวินิยมเชิงสัจนิยม” (Realistic Dualism) กล่าวถึงสัจภาพ 2
อย่าง คือ ประกฤติ และ ปุรุษะ ว่าเป็นมูลการณะแห่งสรรพสิ่ง
มีจุดหมายสูงสุด คือ มุ่งการนาหลักคาสอนมาประยุกต์ใช้ปฏิบัติเพื่อการ
เข้าถึงการหลุดพ้นจากทุกข์ชั่วนิรันดร
อภิปรัชญา ของสางขยะ
 สางขยะ มีแนวคิดแบบ “สัตการยวาท” : สิ่งที่เป็นผล เป็นสิ่งที่มี
อยู่แล้วในสิ่งที่เป็นเหตุมาก่อน การเกิดมีขึงนของผลเป็นเพียงการ
คลี่คลายออกจากสิ่งที่เป็นเหตุเท่านังน
 โลกและทุกสิ่งในโลก (วัตถุ) ล้วนเกิดจาก “ประกฤติ” (มูลฐาน
ของโลก) โดยวิวัฒนาการออกมาจากประกฤติ ตัวประกฤติ
ประกอบด้วยส่วนผสม 3 อย่าง คือ
 สัตตวะ (ความแท้จริง),
 รชัส (ความเคลื่อนไหว),
 ตมัส (ความหนัก ความหยุดนิ่ง)
อภิปรัชญา ของสางขยะ (ต่อ)
 “ปุรุษะ” เป็นความจริงอันติมะ คู่กับประกฤติ เป็นวิญญาณบริสุทธิ์ (ชีวาตมัน)
เป็นผู้รู้และพืงนฐานของความรู้ เป็นสิ่งเที่ยงแท้
 ประกฤติต้องการปุรุษะเพื่อที่ตนจะได้เป็นที่รู้จัก เพื่อให้ความบันเทิงแก่ ปุรุษะ
/ ปุรุษะต้องการประกฤติเพื่อความรื่นเริงบันเทิงสุข และเพื่อความหลุดพ้นจาก
สังสารวัฏ
 สางขยะแทบไม่ได้กล่าวถึงพระเจ้าเลย – ได้รับอิทธิพลแบบ อเทวนิยม / เชื่อว่า
การเกิดขึงนและเป็นไปของสรรพสิ่งมาจากประกฤติและปุรุษะ
ทฤษฎีความรู้ ของสางขยะ
ที่มาของความรู้ที่ถูกต้อง มี 3 ทาง
1. การประจักษ์
2. การอนุมาน
3. การบอกเล่าของคัมภีร์
 ความรู้ที่ถูกต้อง ต้องประกอบด้วยองค์ 3 คือ ผู้รู้ (ปุรุษะ) /สิ่งที่ถูกรู้ /
ที่มาของความรู้ที่ถูกต้อง
จริยศาสตร์ ของสางขยะ
เห็นว่า ชีวิตตามสภาพที่เป็นอยู่ในโลกนีงเต็มไปด้วยความ
ทุกข์ ซึ่งทุกข์มีอยู่ 3 ประการ
 อาธยาตมิกะ : ทุกข์เนื่องจากความผิดปกติของอวัยวะ
ต่างๆ ของร่างกาย และความทุกข์ทางใจ
 อธิเภาติกะ : ความทุกข์ที่เกิดจากสาเหตุภายนอก
 อธิไธกวิกะ : ทุกข์ที่เกิดจากเหตุเหนือวิสัยปกติธรรมดา
 ดังนังน มนุษย์จึงควรแสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ที่
ยั่งยืน ซึ่งก็คือการเข้าถึงโมกษะที่หลุดพ้นจากการเวียน
ว่ายตายเกิดตลอดกาล
 การเวียนว่ายตายเกิด มีสาเหตุมาจากอวิทยา – ปุรุษะเกิดความหลงผิด คิดว่า
เงาสะท้อนของตนเองที่ปรากฏในพุทธิเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับตนเอง นาไปสู่
การหลงผิดว่า ตนเองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพุทธิ อหังการ และมนัส ซึ่งวิวัฒน์
ออกมาจากประกฤติ
 ปุรุษะที่ถูกห่อหุ้มด้วยร่างกาย เรียกว่า “ชีวะ” ***เมื่อใดที่ชีวะเข้าใจถูกต้องว่า
ตัวตนที่แท้จริง คือ ปุรุษะ ไม่ใช่ร่างกายที่เกิดจากประกฤติ เมื่อนังนชีวะก็จะ
เข้าถึงความหลุดพ้น หรือโมกษะ
 สถานะของโมกษะ**ไม่มีความสนุกสนาน ไม่มีความสุข และไม่มีนิรามิสสุข
ใดๆ การเข้าถึงโมกษะของปุรุษะ คือ การกลับสู่ภาวะความเป็นวิญญาณ
บริสุทธิ์ตามเดิม
ปรัชญาโยคะ
4. ปรัชญาโยคะ
 ผู้ให้กาเนิดลัทธิโยคะ คือ “ปตัญชลี” ผู้รจนา “โยคสูตร” ขึงน
 “โยคะ” มีความหมายว่า “รวม” คือ รวมอาตมันย่อย หรือ ชีวาตมัน เข้ากับ
อาตมันสากล หรือปรมาตมัน -----เป็นการบรรลุเอกภาพอันเป็น
อันหนึ่งเดียวกันระหว่างชีวาตมัน กับปรมาตมัน
 “โยคะ” ในความหมายของปตัญชลี คือ ความพากเพียร เพื่อแยกปุรุษะ
ออกอย่างเด็ดขาดจากประกฤติ เพื่อให้ปุรุษะ ซึ่งเป็นวิญญาณบริสุทธิ์
เข้าถึงสถานะแห่งโมกษะ
โยคะ จึงหมายถึง วิธีการแห่งการบาเพ็ญเพียร โดยการควบคุม
อินทรีย์ (ตา หู จมูก ลิงน กาย ใจ) ปลดเปลืงองร่างกายและจิตออกจาก
ความเศร้าหมองทังงปวง โดยมีการหลุดพ้นจากทุกข์ หรือ จากการเวียน
ว่ายตายเกิดในสังสารวัฏเป็นจุดหมายปลายทาง
โยคสูตร แบ่งเป็น 4 ตอน
 สมาธิบาท : ว่าด้วยธรรมชาติและจุดมุ่งหมายของสมาธิ
 สาธนาบาท : วิธีการปฏิบัติที่นาไปสู่จุดมุ่งหมาย
 วิภูติบาท : อานาจวิเศษที่บรรลุได้ด้วยการบาเพ็ญโยคะ
 ไกวัลยบาท : ว่าด้วยโมกษะ หรือ ความหลุดพ้น
อภิปรัชญา และจริยศาสตร์ของโยคะ
 โยคะ ยอมรับอภิปรัชญาและญาณวิทยาของสางขยะเป็นส่วนใหญ่ แตกต่าง
ตรงที่ โยคะเชื่อในความมีอยู่ของพระเจ้าในฐานะเป็น ปุรุษะพิเศษ ที่ดารงอยู่
ในสถานะแห่งโมกษะตลอดกาล ได้ชื่อว่า “เทวนิยมสางขยะ”
 ปุรุษะ โดยธรรมชาติอันแท้จริง เป็นสิ่งบริสุทธิ์ นิรันดร การติดข้องในสังสารวัฏ
เกิดเมื่อปุรุษะมาพัวพันกับจิตและถูกกักขังอยู่ในร่างกายชนิดต่างๆ และตกอยู่
ใต้อานาจ กิเลส 5 ชนิด คือ ความโง่เขลา(อวิทยา) / ความยึดมั่นตัวเอง (อัสมิ
ตา) / ความรักใคร่หลงใหล (ราคะ) / ความโกรธแค้นขึงเครียด (โทสะ) / ความ
รักชีวิตและความกลัวตาย (อภินิเวศะ)
จริยศาสตร์ ของโยคะ
โยคะ มุ่งฝึกฝนอบรมร่างกาย ประสาทสัมผัสและจิตให้อยู่ใต้การควบคุมอย่าง
เข้มงวด เพื่อให้สะอาดจากกิเลสทังงปวง โดยมีโมกษะเป็นจุดหมายปลายทาง
ปรัชญาโยคะ ได้วางมรรควิธีเพื่อการหลุดพ้นไว้ 8 ประการ
 1. ยมะ : การสารวมระวัง 5 ประการ ได้แก่
 อหิงสา – การไม่เบียดเบียน
 สัตยะ – การรักษาความสัตย์
 อัสเตยะ – การไม่ลักขโมย
 พรหมจริยะ – การรักษาพรหมจรรย์
 อปริครหะ - การไม่โลภ
จริยศาสตร์ ของโยคะ (ต่อ)
2. นิยมะ : การฝึกฝนอบรมตนเองให้บริสุทธิ์ทังงภายนอกและภายใน
 ภายนอก - ทาตัวเองให้บริสุทธิ์ด้วยการชาระล้างร่างกาย (เศาจะ) และ
บริโภคอาหารที่ปราศจากโทษ
 ภายใน – ควบคุมอารมณ์ และฝึกฝนคุณธรรม คือ สันโดษ, ตบะ, สวาธ
ยายะ และอิศวรประณิธาน
3. อาสนะ : การควบคุมร่างกายให้อยู่ในอิริยาบถที่สบาย และเป็นประโยชน์แก่
การเจริญสมาธิ
4. ประณายามะ : การกาหนดควบคุมลมหายใจเข้า ออก
5. ปรัตยาหาระ : การควบคุมประสาทสัมผัส และเพ่งจิตให้จดจ่ออยู่กับอารมณ์
สมาธิเพียงอย่างเดียว
จริยศาสตร์ ของโยคะ (ต่อ)
6. ธารณะ: การกาหนดจิตให้แน่วแน่อยู่กับอารมณ์สมาธิ
7. ธยานะ: การที่จิตแน่วแน่อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
8. สมาธิ : จิตดื่มด่ากับอารมณ์สมาธิอย่างเต็มที่ ความสัมพันธ์กับโลก
ภายนอกถูกตัดขาดโดยสิงนเชิง
**เข้าสู่ไกวัลยะ สถานะที่ปุรุษะเกิดความรู้แจ้งในความแตกต่างระหว่าง
ตนเองกับประกฤติ เข้าสู่การหลุดพ้น กลับคืนสู่สถานะดังงเดิมของปุรุษะ หรือ
วิญญาณบริสุทธิ์
5. ปรัชญามีมามสา
คาว่า “มีมามสา” แปลว่า “ความคิดที่ได้รับ
การยกย่อง” เดิมใช้อธิบายความหมายแห่ง
พิธีกรรมในพระเวท
ก่อตังงโดย “ไชมินิ”
 ลัทธิมีมามสา ได้ให้กฎเกณฑ์เกี่ยวกับการ
อธิบายความหมายแห่งข้อกาหนดที่กล่าวไว้
ในคัมภีร์พระเวท โดยเฉพาะเรื่องพิธีกรรม
มีมามสาเน้นว่า พระเวท เป็นคัมภีร์แห่ง
พิธีกรรม ที่กล่าวถึงข้อพึงปฏิบัติต่างๆ ตอนที่
สาคัญที่สุด คือ พราหมณะ
มีการตีความในแง่ปรัชญา มุ่งถึงการหลุดพ้น
จากทุกข์เป็นจุดหมาย
อภิปรัชญา ของมีมามสา
 เป็น “พหุสัจนิยม”: เชื่อในความมีอยู่จริงของโลกภายนอก และ
ของชีวาตมัน
 เชื่อในกฎแห่งกรรม หรือ อทฤษตะ เชื่อในนรก สวรรค์
 เชื่อในความหลุดพ้นจากทุกข์ (โมกษะ)
 เชื่อในความถูกต้องสมบูรณ์ของพระเวท
 ถือว่าพระเจ้าสูงสุด ไม่มีความจาเป็น โลกนีงไม่เคยมีใครสร้าง
และจะไม่แตกสลาย มันจะดารงอยู่อย่างนีงตลอดไป
ทฤษฎีความรู้ ของมีมามสา
เป็นทฤษฎี “สวตหปรามาณยวาทะ” ถือว่าความรู้เป็นสิ่งที่มีความถูกต้องในตัว
มันเอง (ถ้าเกิดจากเหตุอันถูกต้องและสอดคล้องกับเหตุนังน)
วิถีแห่งการรับรู้ที่ถูกต้องมี 6 ประการ
 1. ความรู้ประจักษ์
 2. ความรู้จากการอนุมาน
 3. ความรู้จากการบอกเล่าของผู้อื่น
 4. ความรู้จากการเปรียบเทียบ
 5. ความรู้ดรรชนีนัย
 6. ความรู้โดยการปฏิเสธ
จริยศาสตร์ ของมีมามสา
ธรรมะ ได้แก่ บทบัญญัติ หรือ คาสั่งที่กาหนดให้มนุษย์ต้องกระทากรรม ซึ่งระบุไว้ใน
คัมภีร์พระเวท
มีมามสา ได้แบ่งกรรม เป็น 3 อย่าง
 1. กรรมที่ต้องกระทา : อาจไม่ก่อให้เกิดบาปหรือบุญ แต่ถ้างดเว้นไม่กระทาจะทา
ให้เกิดบาปหรือโทษ
 2. กรรมที่ทาก็ได้ ไม่ทาก็ได้ : ทาก่อให้เกิดบุญ ถ้าไม่ทาไม่ก่อให้เกิดบาป
 3. กรรมที่ต้องห้าม : กรรมที่ห้ามไม่ให้กระทา ถ้าทาจะเป็นบาป เช่น การผิดศีล
การขจัดการเวียนว่ายตายเกิด จึงต้องขจัดด้วย “การงดเว้นกระทากรรม” คือ งด
เว้นจากการกระทากรรมต้องห้าม และ กรรมที่กระทาก็ได้ ไม่กระทาก็ได้
ส่งผลทาให้การพัวพันของชีวาตมัน กับร่างกาย ประสาทรับสัมผัส จิต และความ
เข้าใจสิงนสุด ยุติลงโดยอัตโนมัติ ถึงการบรรลุโมกษะ
การปฏิบัติตามบทบัญญัติของพระเวท เป็นการกระทาที่มีค่าสูงสุด เป็นการ
กระทาที่ปราศจากอุปทาน โดยไม่ต้องกังวล หรือคานึงถึงผลที่จะได้รับ กระทาไป
เพราะพระเวทบัญญัติไว้อย่างนังน
6. ปรัชญาเวทานตะ (ของศังกราจารย์)
อภิปรัชญา :
 1. สิ่งแท้จริงอันติมะ มีเพียงสิ่งเดียว คือ
พรหมัน (เอกนิยม)
 2. โลกไม่ใช่สิ่งจริงแท้ เป็นเพียงการปรากฏ
ของพรหมัน ด้วยอานาจของมายาที่อนุสัยอยู่
ในพรหมัน
 3. ชีวาตมันยึดถือด้วยอานาจของอวิทยาว่า
ตนเอง แตกต่างจากพรหมัน และเข้าใจผิดว่า
พรหมันเป็น โลกแห่งความหลากหลาย
 4. อวิทยาย่อมหายไปเมื่อวิทยาเกิดขึงน
อภิปรัชญา ของเวทานตะ (ต่อ)
“พรหมัน” เป็น สัต จิต อานันทะ เป็นความจริงหนึ่งเดียว เป็นมูลการณะของทุก
อย่างในสากลจักรวาล เป็นเบืงองต้นของทุกสิ่ง และเป็นที่สุดของสรรพสิ่ง
พรหมัน มี 2 สถานะ
 ปรพรหม : ฐานะสิ่งสัมบูรณ์
 อปรพรหม หรือ อีศวร : พรหมันในฐานะแห่งพระเจ้าที่มีตัวตน
การสร้างโลกมิได้เป็นเจตจานงของอีศวร การเกิดขึงนของโลกเป็นการหลั่งไหล
คลี่คลายออกมาเองจากธรรมชาติอันสมบูรณ์เต็มที่ของพระองค์
เวทานตะ เชื่อใน “ทฤษฎีสัตการยวาท”
“พรหมการณวาท” พรหมันเป็นเหตุเกิดของโลกแห่งปรากฏการณ์ แต่
ไม่ใช่การเกิดจริงๆ เป็นเพียงพรหมันปรากฏให้เห็นเป็นโลก
“พรหมวิวรตวาท” : พรหมันเท่านังนเป็นสิ่งจริงแท้ ส่วนโลกแห่ง
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึงนจากพรหมันไม่ใช่สิ่งจริงแท้ เหตุมีอยู่ได้ด้วย
ตนเอง แต่ผลเป็นสิ่งที่ต้องขึงนอยู่กับเหตุ
จริยศาสตร์ ของเวทานตะ
 ยอมรับหลักปฏิบัติของโยคะ ซึ่งมีจุดหมายปลายทางอยู่ที่การทาให้เป็นสมาธิ
เพื่อทาให้ความรู้อันถูกต้องเกิดมีขึงน และเมื่อนังนจึงบรรลุโมกษะ
 โดยธรรมชาติของโมกษะเป็นอย่างเดียวกับพรหมัน เข้ารวมเป็นเอกภาพกับพร
หมัน
 แต่ผู้ที่บูชาอีศวร ซึ่งเป็นพระเจ้ามีตัวตนจะยังไม่อาจขจัดอวิทยาให้หมดไปได้
ตายแล้วจะเข้าถึงพรหมโลก มีอานาจความเป็นใหญ่ จากนังนจึงจะบรรลุแบบ
ค่อยเป็นค่อยไปในที่สุด
จบแล้วค่ะ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์Nareerat Keereematcharu
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 Padvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 

What's hot (20)

ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา   นารีรัตน์
พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา นารีรัตน์
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 

Viewers also liked

วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 

Viewers also liked (10)

วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 

Similar to ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย

ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกรมณ รมณ
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์sorrachat keawjam
 

Similar to ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-2-แก้ไขแล้ว
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 

ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย

  • 2. ปรัชญาแบ่งตามภูมิภาคที่เป็ นแหล่งกาเนิด ปรัชญา ปรัชญาตะวันตก ปรัชญาตะวันออก ปรัชญากรีก - ธาเลส (Thales) ฯลฯ ปรัชญาอินเดีย ปรัชญาจีน - อาสติกะ -เต๋า - นาสติกะ -ขงจื๊อ ฯลฯ
  • 3. ความหมายของปรัชญาอินเดีย ปรัชญาอินเดีย หมายถึง ปรัชญาทุกสานักหรือทุกระบบที่เกิดขึ้นใน อินเดีย หรือที่คิดสร้างสรรค์ขึ้นไว้โดยศาสดาและนักคิดที่เคยมีชีวิต อยู่หรือกาลังมีชีวิตอยู่ในอินเดีย
  • 4. การแบ่งยุคในปรัชญาอินเดีย 1. ยุคพระเวท (Vedic Period) เริ่มตั้งแต่เกิดมีพระเวทขึ้น ประมาณ 1,000 ปี ถึง 100 ปี ก่อนพุทธกาล 2. ยุคมหากาพย์ (Epic Period) เกิดมหากาพย์รามายนะและมหาภารตะ / พระพุทธศาสนาและศาสนาเชนรุ่งโรจน์ เริ่ม 100 ปี ก่อนพุทธกาลจนถึง ราว พ.ศ. 700 3. ยุคระบบทั้ง 6 (Period of the Six System) เกิดระบบทั้ง 6 ของปรัชญา ฮินดู คือ นยายะ ไวเศษิกะ สางขยะ โยคะ มีมามสา เวทานตะ / ยุคที่ศาสนา พราหมณ์พัฒนามาเป็น ศาสนาฮินดู ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 700 ลงมา
  • 5. ปรัชญาอินเดีย ปรัชญาอินเดียแบ่งออกเป็นสองสาย ได้แก่ อาสติกะ (Āstik) และนาสติกะ (nāstik) -ในทางปรัชญาอาสติกะ และนาสติกะ หมายถึงความเชื่อหรือไม่เชื่อในความ ถูกต้องและความศักดิ์สิทธิ์ของพระเวท (testimony of vedas) -ปรัชญาอินเดียกลุ่มอาสติกะ ได้แก่ปรัชญาฝ่ ายฮินดู 6 สานัก หรือ 6 ทรรศนะ มี นยายะ ไวเศษิกะ สางขยะ โยคะ มีมามสา และเวทานตะ -ปรัชญาอินเดียกลุ่มนาสติกะ ได้แก่ ปรัชญาพุทธ ปรัชญาเชน และ ปรัชญาจารวาก (ไม่เชื่อในคัมภีร์พระเวท)
  • 6. ลักษณะร่วมแห่งระบบต่างๆ ของ ปรัชญาอินเดีย (ยกเว้นจารวาก) 1. เป็นปรัชญาชีวิต สามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ชีวิตเพื่อบรรลุอุดมคติที่ตังงไว้ 2. เป็นปรัชญาที่เริ่มต้นแบบ ทุทรรศนนิยม (Pessimism) แต่จบลงด้วย สุทรรศน นิยม (Optimism)...ชีวิตมีทุกข์... ไม่พอใจ... หาทางออก....พ้นทุกข์ พบสุข 3. เชื่อในกฎแห่งกรรม 4. อวิชชา หรือ อวิทยา เป็นสาเหตุแห่งความติดข้อง และการเวียนว่ายตายเกิด /วิชชา หรือ วิทยา เป็นสิ่งที่ทาให้พ้นจากความติดข้อง และมุ่งการบรรลุโมกษะ หรือ ความหลุดพ้นจากทุกข์เป็นจุดหมายปลายทาง
  • 7. ลักษณะร่วมแห่งระบบต่างๆ ของ ปรัชญาอินเดีย (ยกเว้นจารวาก) 5. การบาเพ็ญสมาธิ และวิปัสสนา โดยพิจารณาสิ่งต่างๆ ให้เห็นตามสภาพความ เป็นจริง เป็นทางที่จะนาไปสู่ความหลุดพ้นจากทุกข์ 6. การควบคุมตนเอง หรือ การควบคุมจิตใจไม่ปล่อยให้เป็นไปในอานาจของตัณหา เป็นวิถีทางที่จะกาจัดกิเลสเพื่อบรรลุโมกษะ 7. ความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง หรือ โมกษะเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ แต่ต้องอาศัยการ ปฎิบัติพากเพียรอย่างเข้มงวด
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12. ปรัชญาอินเดียยุคพระเวท เป็นปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ เกิดจากการผสมผสานความเชื่อของชน พื้นเมืองอินเดีย คือ พวกทราวิท หรือ ดราวิเดียน กับ ความเชื่อของผู้บุกรุก คือ พวกอารยัน กลายเป็นศาสนาและปรัชญาตามแนวคาสอนของคัมภีร์พระเวท ยุคพระเวท เป็นยุคที่นับตั้งแต่เริ่มเกิดมีพระเวทขึ้น คัมภีร์พระเวทเริ่มมีขึ้น ประมาณ 1,000 ปี ก่อนพุทธกาล
  • 13.
  • 16. คัมภีร์พระเวท ยุคพระเวทเริ่มขึงนเมื่อประมาณ 1,000 ปีก่อนพุทธกาล โดยมีคัมภีร์ฤคเวทเกิดขึงนก่อน คัมภีร์พระเวท ประกอบด้วย 4 คัมภีร์ ได้แก่ 1. คัมภีร์ฤคเวท : เป็นบทร้อยกรอง ใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้าต่างๆ 2. คัมภีร์ยชุรเวท : เป็นบทร้อยแก้ว ว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีกรรม บูชายัญ และพิธีบวงสรวง 3. คัมภีร์สามเวท : เป็นคาฉันท์ สาหรับสวดในพิธีถวายนงาโสมแด่พระอินทร์ 4. คัมภีร์อาถรรพเวท : เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนต์
  • 17. พระเวทแต่ละคัมภีร์ แบ่งออกเป็ น 4 ตอน คือ 1. มันตระ : รวบรวมมนต์สาหรับใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า 2. พราหมณะ : อธิบายระเบียบการประกอบพิธีกรรม 3. อารัณยกะ : เรียบเรียงในป่าที่เงียบสงัด เกิดแนวคิดทางปรัชญา 4. อุปนิษัท : ประมวลแนวความคิดทางปรัชญาในคัมภีร์พระเวทไว้ทังงหมด ว่าด้วยความรู้ในเรื่องธรรมชาติอันแท้จริงของโลก , พรหม หรือ พรหมัน หรือ อาตมัน  อุปนิษัท เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเวทานตะ แปลว่าที่สุดแห่งพระเวท เพราะเป็นตอนสุดท้ายของพระเวทอย่างหนึ่ง และเป็นประมวลส่วนที่ สาคัญที่สุดของพระเวทอย่างหนึ่ง
  • 18. ชาวฮินดูเชื่อว่าคัมภีร์พระเวทเป็น “ศรุติ” – พระวจนะของพระเจ้าที่ทรงสั่ง สอนถ่ายทอดให้แก่พวกฤาษีอินเดียในสมัยโบราณ ฤาษีทั้งหลายเมื่อได้ เรียนรู้พระเวทจากพระเจ้าแล้วก็สั่งสอนถ่ายทอดให้แก่สานุศิษย์ต่อๆ มา ในเตวิชชสูตร : ฤาษี 10 ตน ผู้เป็นบูรพาจารย์ผู้สอนคัมภีร์พระเวทให้แก่ พวกพราหมณ์ ได้แก่ ฤาษีอัฏฐกะ, ฤาษีวามกะ, ฤาษีวามเทวะ, ฤาษีเวส สามิตร,ฤาษียมตัคคี, ฤาษีอังคีรส, ฤาษีภารทวาชะ, ฤาษีวาเสฎฐะ, ฤาษีกัสสปะ และฤาษีภคุ
  • 19. ความคิดทางด้านศาสนาและปรัชญาในคัมภีร์พระเวท คนพืงนเมืองเดิมของอินเดีย นับถือ บูชาโลกธาตุ 4 และธรรมชาติ มีแนวคิดแบบ “วิญญาณนิยม” (Animism) เมื่อพวกอารยันเข้ามารุกราน จึงเกิดการผสมผสานแนวความคิด และความเชื่อ ของพวกอารยันและชนพืงนเมืองเข้าด้วยกัน จนกลายป็นศาสนาและปรัชญาตาม แนวคาสอนของคัมภีร์พระเวทในยุคต่อมา ในยุคพระเวทเกิดมีเทพเจ้าใหม่ๆ เป็นเทพเจ้าประจาธรรมชาติ
  • 26. การแบ่งบุคคลในสังคมออกเป็ น 4 ประเภท หรือ วรรณะ 1. วรรณะกษัตริย์ : เป็นชนชังนนักรบ 2. วรรณะพราหมณ์ : นักบวช ศึกษาทรงจาและสืบต่อคัมภีร์ พระเวท เป็นผู้ประกอบพิธีกรรม 3. วรรณะแพศย์ หรือ ไวศยะ : เป็นวรรณะของคนส่วนใหญ่ มีอาชีพ ค้าขาย ทาการเกษตร ศิลปหัตถกรรม 4. วรรณะศูทร : มีอาชีพเป็นกรรมกร ใช้แรงงาน ให้บริการแก่วรรณะอื่น
  • 28.
  • 29.
  • 30. หลักธรรมที่สาคัญ อาศรม 4 ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ได้แบ่งขังนตอนของชีวิตออกเป็น 4 ขังน 1. พรหมจรรย์ : ขังนตอนของชีวิตที่ยังศึกษาเล่าเรียนในสานักของ อาจารย์ 2. คฤหัสถ์ : การครองเรือนโดยการแต่งงานและตังงครอบครัว ต้อง บาเพ็ญมหายัญ 5 อย่าง 3. วานปรัสถ์ : ขังนตอนการแยกจากครอบครัว เพื่อไปปฏิบัติธรรมใน ป่า “เมื่อผู้ครองเรือนสังเกตเห็นความเหี่ยวย่นปรากฏบนผิวหนังของ ตน เห็นผมปรากฏเป็นสีเทา เห็นบุตรของบุตร เขาควรละจากบ้านไปสู่ ป่า”
  • 31. อาศรม 4 (ต่อ) 4. สันยาสี : เป็นขังนตอนสุดท้ายของชีวิต เป็นผู้ครองเพศบรรพชิต สละชีวิตทาง โลกโดยสิงนเชิง อุทิศตนในการแสวงหาความจริงเกี่ยวกับชีวิต แสวงหาอาหาร ด้วยการภิกขาจาร รักษาพรหมจรรย์ ควบคุมกาย วาจา ใจ มุ่งปฏิบัติขัดเกลา โดยมีความหลุดพ้นจากทุกข์เป็นจุดหมายปลายทาง
  • 32.
  • 33. ประโยชน์ 4 การดาเนินชีวิตที่ดี ควรมุ่งประโยชน์ตามลาดับ ดังนีง 1. อรรถะ : ความสมบูรณ์พรั่งพร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ 2. กามะ : การแสวงหาความสุขทางโลกตามควรแก่ ภาวะหรือวิสัยของผู้ครองเรือน 3. ธรรมะ : การถึงพร้อมด้วยคุณธรรม 4. โมกษะ : การเข้าถึงการหลุดพ้นจากทุกข์โดย สิงนเชิงและตลอดไป
  • 34.
  • 36. ปรัชญาอุปนิษัท อุปนิษัทเป็นตอนสุดท้ายของคัมภีร์พระเวท เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “เวทานตะ” อุปนิษัท แปลว่า การนั่งลงใกล้อาจารย์ของผู้เป็นศิษย์ เพื่อรับคาสอนอย่างตังงใจ เกี่ยวกับเรื่องความจริง หรือสัจธรรม ที่จะบรรเทาความสงสัย หรือ ทาลายอ วิทยาให้หมดไป ยุคอุปนิษัท เริ่มต้นเมื่อประมาณ 100 ปีก่อนพุทธกาล และสิงนสุดลงในราว พ.ศ. 700 ความเชื่อแบบอติเทวนิยม เปลี่ยนเป็นความเชื่อแบบ เอกเทวนิยม อย่างเต็มที่ คือ นับถือ พระประชาบดี หรือ พระพรหม เป็นเทพผู้ยิ่งใหญ่สูงสุด เป็นผู้สร้าง โลกและสร้างสรรพสิ่ง
  • 37.
  • 38. คัมภีร์อุปนิษัท เป็นคัมภีร์ที่ว่าด้วยความคิดทางปรัชญา นั่นคือ ความนึกคิดเกี่ยวกับปัญหา เรื่องความมีอยู่ของ พรหมัน หรือ อาตมัน (Supream Soul) มายา / อวิทยา/ การสร้างโลก / โมกษะ หรือความหลุดพ้น ความรู้ที่เป็นความจริง หรือทาง นาไปสู่ความเป็นเสรี ถือกันว่าอุปนิษัทเป็นคัมภีร์เล่มสุดท้ายของการศึกษา เป็นบทสนทนาโต้ตอบ ได้อธิบายถึงธรรมชาติและจักรวาล วิญญาณของมนุษย์ การเวียนว่ายตายเกิด กฎแห่งกรรมและหลักปฏิบัติ ปรัชญาสาคัญ ซึ่งเป็นการอธิบายสาระสาคัญของ คัมภีร์พระเวททังงหมด
  • 39. สาระแห่งปรัชญาอุปนิษัท 1) เรื่องปรมาตมัน - ปรมาตมัน คือ วิญญาณดังงเดิม หรือ ความจริงสูงสุด ของโลกและชีวิต หรือ จักรวาล ซึ่งเรียกว่า พรหมัน สรรพสิ่งมาจากพรหมัน และในที่สุดก็จะกลับคืนสู่ความเป็นเอกภาพกับพรหมัน มีลักษณะเป็นอัตตา อมตะนิรันดร 2) เรื่องอาตมัน หรือ ชีวาตมัน - ซึ่งเป็นส่วนอัตตาย่อยหรือวิญญาณย่อยที่ ปรากฏแยกออกมาอยู่ในแต่ละคน ดังนังนการที่อาตมันหรือชีวาตมันย่อยนีงเข้าไป รวมกับพรหมันหรือปรมาตมันได้จึงเป็นการพ้นทุกข์ ไม่มีการเวียนว่ายตายเกิด อีกต่อไป
  • 40. สาระแห่งปรัชญาอุปนิษัท 3.) เรื่องกรรม – การที่ชีวาตมันจะกลับคืนสู่พรหมันเป็นเอกภาพอมตะได้นังน ผู้นังนจะต้องบาเพ็ญเพียร ทาความดี และประกอบพิธีกรรมต่างๆ ที่เรียกว่า โยคะ คือ กรรมโยคะ ทากรรมดี ภักติโยคะ มีศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้า และ ชญานโยคะ หรือการศึกษาจนเข้าใจคัมภีร์พระเวทอย่างถูกต้อง คาสอนในคัมภีร์อุปนิษัท ทาให้ศาสนาพราหมณ์เป็น เอกนิยม (Monism) เชื่อ ว่า สรรพสิ่งมาจากหนึ่งและจะกลับไปสู่ความเป็นหนึ่ง
  • 41. คาสอนในคัมภีร์อุปนิษัท 1.พระพรหมเป็นผู้ทรงความเที่ยงแท้นิรันดร โลกทั้งปวงเป็นมายา และต้อง ถึงความพินาศเมื่อสิงนกัลป์ สรรพสิ่งรวมทังงเทพเจ้าล้วนมีกาเนิดมาจากพระพรหม ทังงสิงน กรรมเป็นเหตุให้มนุษย์ต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ใน สังสาระ การพ้นจาก สังสารวัฏและเข้าไปเป็นเอกภาพของพระพรหมเป็นจุดหมายสูงสุด 2. วิญญาณของมนุษย์และสรรพสัตว์ย่อมมาจากวิญญาณแรก คือ พรหมัน เปรียบเหมือนประกายไฟที่กระเด็นออกมาจากไฟดวงมหึมาดวงเดิม เมื่อวิญญาณ ที่หลุดออกมาจากพรหมันแล้ว ต้องเข้าสิงสู่อยู่ในรูปต่างๆ นับครังงนับชาติไม่ถ้วน และต้องมีสภาพไม่สม่าเสมอกันจนกว่าวิญญาณนังนจะเข้าถึงโมกษะ
  • 42. คาสอนในคัมภีร์อุปนิษัท 3. อาศัยกรรมดี กรรมชั่ว เป็นปัจจัยให้มีการเวียนว่ายตายเกิด ถ้าใคร สามารถหาอุบายไม่ทากรรมได้ ก็จะรอดพ้นจากความเกิดกรรม เช่น ออกป่า ถือเพศเป็นดาบสหรือนักพรตเข้าสู่ความเป็นผู้ไม่ประกอบกรรม เพื่อให้วิญญาณเข้า ใกล้ชิดกับพรหมัน 4. เมื่อถึงกาหนดสิ้นกัลป์ หนึ่งซึ่งเป็นคราวล้างโลก วิญญาณและโลกธาตุ จะต้องพินาศลงและเข้าสู่สภาวะเดิมคือ พรหมัน เมื่อถึงเวลาของพรหมัน สร้างโลกขึ้นมาใหม่ ธาตุนานาชนิดก็จะชุมนุมกันขึ้น วิญญาณก็จะแยกออก จากพรหมัน เข้าสิงเกิดเป็นมนุษย์ สัตว์ และสรรพสิ่งต่างๆ และจัดหมวดหมู่แบ่งชังน ของมนุษย์ เป็น วรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ วรรณะศูทร เพื่อ ความศานติสุขของมนุษย์
  • 43.
  • 45. ปรัชญาภควัทคีตา ปรากฏอยู่ในมหากาพย์ เรื่อง มหาภารตะ เป็นเรื่องว่าด้วย กษัตริย์ 2 วงศ์ คือ วงศ์เการพ และวงศ์ปาณฑบ ซึ่งเป็นญาติกัน แต่ต้องมารบกัน พระกฤษณะซึ่ง เป็นพระนารายณ์อวตารปางที่ 8 ผู้ทาหน้าที่สารถีขับรถให้อรชุนซึ่งอยู่ในวงศ์ ปาณฑบ ได้แสดงหลักปรัชญาเรื่อง อาตมัน กับพรหมัน ไว้อย่างชัดเจน จนทา ให้อรชุนมีกาลังใจในการรบจนกระทั่งชนะฝ่ายศัตรู โดยสอนเน้นเรื่อง “การทาหน้าที่เพื่อหน้าที่ของมนุษย์”
  • 46. “........พระอรชุนทรงยืนในท่าทรงศร ท่ามกลางสนาม รบ คอยให้สัญญาณให้ทหารลงมือรบ ขณะนั้น พระ อรชุนมองเห็นกองทัพฝ่ายตรงข้ามปรากฏอยู่ตรงหน้า ซึ่งเป็นกองทัพของพวกที่เป็นญาติของพระองค์เอง บรรดาแม่ทัพนายกอง ล้วนเป็นญาติใกล้ชิดของ พระองค์อยู่หลายคน และส่วนใหญ่ก็เป็นบุคคลที่ตน นับถือยิ่ง ส่วนคนในกองทัพของพระอรชุนเองก็มีพระ ภาดา และญาติของพระองค์รวมอยู่ด้วย ทันใดนั้น พระอรชุนก็ตกอยู่ในอาการประหวั่นพรั่นพรึง ด้วย ความสลดพระทัยอย่างยิ่ง จึงถามตนเองว่าจะมี ประโยชน์อันใดกับราชอาณาจักร เมื่อเรารบชนะก็จะ ได้มา แต่จะต้องสูญเสียชีวิตและเลือดเนื้อของผู้คน เป็นอันมาก เป็นการสมควรแล้วหรือที่จะ ประหัตประหารคนเหล่านี้.......ถ้าเกิดรบกันจนโลหิต ไหลนอง เราก็มิเป็นผู้กระทาบาปอย่างปราศจาก เหตุผลละหรือ? เมื่อทรงคิดเช่นนี้ พระทัยก็อ่อนลงจน ศรหลุดจากพระหัตถ์ ขณะนั้นพระกฤษณะซึ่งเป็น สารถีของพระอรชุนได้เตือนสติและปลุกพระทัยของ พระอรชุนให้เข้มแข็งขึ้นด้วยบทปรัชญาในภควัทคีตา
  • 47. • ปรัชญาภควัทคีตา.....มีจุดมุ่งหมาย ที่จะสอนคติปรัชญาแห่งการกระทา หน้าที่ที่ถูกต้อง โดยยกเอา เกียรติยศของบุคคลให้สูงขึ้น ซึ่ง หมายถึง หน้าที่ที่บุคคลพึงกระทา โดยไม่คานึงถึงผลประโยชน์ส่วนตัว เป็นที่ตั้ง หรือ ไม่มีจุดมุ่งหวังใดๆ จะต้องทาหน้าที่ของตนอย่าง เคร่งครัด และเข้าใจว่าแท้จริงแล้ว วิญญาณ(อาตมัน) ไม่มีการถูก ทาลาย เป็นอมตะ • สิ่งที่แตกสลายทาลายได้ คือ ร่างกายเท่านั้น
  • 48. คัมภีร์ภควัทคีตา สอนจริยธรม คือ โยคะ หรือ ทางแห่งการบรรลุความเป็ นเอกภาพกับพรหมัน 3 ทาง คือ 1) การกระทากรรมดี โดยการปฏิบัติหน้าที่ของตนในแต่ละวรรณะให้ ถูกต้อง และละความยึดมั่นถือมั่นในการกระทากรรม เรียกว่า “กรรมโยคะ” 2) การภักดี หรือ อุทิศตนหรือการมอบตนด้วยศรัทธาต่อพระผู้เป็นเจ้า เรียก “ภักติโยคะ” 3) ความรู้ เริ่มต้นด้วยการศึกษาพระเวท จนสามารถเข้าใจถึงธรรมชาติที่ แท้จริงของชีวิต ว่าวิญญาณเกิดจากพรหมันและต้องกลับไปอยู่กับพร หมัน มิใช่มัวยึดติดกับร่างกายซึ่งเป็นเรื่องของกิเลส เรียก “ชญาณโยคะ”
  • 49. ปรัชญาอินเดียสายอาสติกะ 6 สานัก • นยายะ • ไวเศษิกะ • สางขยะ • โยคะ • มีมามสา • เวทานตะ • เชื่อมั่นในความถูกต้องและความ ศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์พระเวท
  • 50. 1. ปรัชญานยายะ ก่อตังงโดยฤาษีโคตมะ เป็นระบบปรัชญาที่เน้นหนักไปในทางส่งเสริมสติปัญญา / การ วิเคราะห์/ และการโต้แย้งเชิงตรรกวิทยาและญาณวิทยา นยายะ เป็นปรัชญา “พหุปรมาณูนิยม” (Atomistic Pluralism) เป็น “ตรรกสัจนิยม” (Logical Realism) ยอมรับ อภิปรัชญาของไวเศษิกะเป็นส่วนใหญ่
  • 51. ทฤษฎีความรู้ของ นยายะ • นยายะเป็น ปรัชญา “สัจนิยม” ถือว่า ความรู้เป็นสิ่งที่เปิดเผยให้ปรากฏทังงผู้รู้ (Subject) และ สิ่งที่ถูกรู้ (Object) ความรู้ ทุกประเภท เป็นสิ่งที่ทาให้สิ่งที่ถูกรู้ปรากฏ ออกมา • ความรู้ มีทังงชนิดที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง • ความรู้ที่ถูกต้อง เรียกว่า “ประมา” หรือ ความเข้าใจสิ่งที่ถูกรู้ตามความ เป็นจริง ต้องเป็นความรู้ที่สอดคล้อง กับความเป็นจริง ซึ่งได้มาโดยวิธี 4 ประการ
  • 52. ความรู้ที่ถูกต้อง 4 ประการ 1. ความรู้โดยการประจักษ์ (Perception)  “อาตมัน สัมผัสกับ มนัส(จิต)  มนั สัมผัสกับอายตนะภายใน  อายตนะภายใน สัมผัสกับ อายตนะภายนอก การรับรู้ 2. ความรู้โดยการอนุมาน (Inference)  เป็นการอ้างเหตุผลทังงแบบนิรนัย และอุปนัย และต้องถูกต้องทังงรูปแบบ และเนืงอหา 3. ความรู้ที่ได้รับจากการเปรียบเทียบ (Comparison) 4. ความรู้จากการบอกเล่าของผู้อื่น (Verbal Testimony)
  • 53. ลาดับการหาเหตุผลแบบ นยายะ ที่ภูเขามีไฟ (ประติชญา) เพราะว่าที่ภูเขามีควัน (เหตุ) ที่ใดมีควันที่นั่นมีไฟ เช่นที่เตาหุงข้าว (อุทาหรณ์) ที่ภูเขามีควัน ซึ่งเป็นสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกับไฟ (อุปนัย) เพราะฉะนั้น ที่ภูเขามีไฟ (นิคม) (ไฟ เป็นคาหลัก / ภูเขา เป็นคารอง / ควัน เป็นคากลาง)
  • 54. ความรู้ที่ไม่ถูกต้อง 1. ความรู้ที่ไม่สอดคล้องกับความจริง หรือ ข้อเท็จจริง 2. ความรู้ที่เกิดจากการจา (Memory) 3. ความสงสัย (Doubt) 4. ความสาคัญผิด (Error) 5. ความรู้ที่เกิดจากการสมมติ (Hypothetical Reasoning)
  • 55. อภิปรัชญาของนยายะ •ทฤษฎีปัจจยาการ (Causation) หรือ ทฤษฎีแห่งเหตุและผล เหตุ หมายถึง สิ่งที่มีมาก่อนสิ่งที่เป็นผลอย่างแน่นอน และโดยปราศจาก เงื่อนไข/ และผล หมายถึง สิ่งที่เกิดขึงนสืบเนื่องมาจากสิ่งที่เป็นเหตุ อย่าง แน่นอนและโดยปราศจากเงื่อนไข/เหตุและผลต้องสอดคล้องกันเสมอ •นยายะ เป็น “อสัตการยวาท” มีแนวคิดว่า ผลไม่ได้มีอยู่ก่อนแล้วในสิ่งที่ เป็นเหตุ แต่เป็นสิ่งที่เกิดขึงนใหม่ โดยสิ่งที่เป็นเหตุทาให้มันเกิดขึงน (ตรง ข้ามกับ “สัตการยวาท” ของ สางขยะ โยคะ และเวทานตะ) •นยายะ มี เหตุผล อยู่ 3 ชนิด คือ 1) สมวายี-วัสดุปัจจัย/ 2) อสมวายี – สาเหตุที่ไม่แนบเนื่องอยู่ในสิ่งที่เป็นผล / 3) นิมิตตะ- อานาจที่ช่วย.......... ให้วัสดุปัจจัยสามารถทาให้สิ่งที่เป็นผลเกิดขึงน
  • 56. ทฤษฎีการเกิดโลกของนยายะ • โลก หรือ สากลจักรวาล เกิดขึงนจากการสร้างสรรค์ของพระเจ้า โดยพระเจ้า นาเอาปรมาณูของธาตุทังง 4 มารวมกันเข้าตามสัดส่วนที่เหมาะสมโดยอาศัย อานาจที่มองไม่เห็น (อฤษฏะ- กฎแห่งกรรม) ช่วยในการทาให้ปรมาณูของธาตุ ต่างๆ รวมตัวและยึดโยงเข้าด้วยกัน • พระเจ้า เป็นสัมฤทธิ์ปัจจัย ไม่ใช่วัสดุปัจจัย จึงมิใช่ผู้สร้างโลกที่แท้จริง อานาจที่แท้จริง คือ อทฤษฏะ • พระเจ้า เป็นสิ่งสมบูรณ์ ถึงพร้อมด้วย ความเป็นใหญ่, อานาจ, ความรุ่งเรือง, ความงาม, ความรู้, และอิสรภาพ
  • 57. ทัศนะเกี่ยวกับอาตมัน หรือ ชีวาตมัน •ชีวาตมัน เป็นตัวผู้รับรู้อารมณ์ ผู้เสวยอารมณ์ ผู้กระทากรรม และผู้รับผล ของกรรม •การติดข้องของชีวาตมันเกิดจากอวิทยาและกรรม •โมกษะ หรือ ความหลุดพ้นเกิดขึงนโดยอานาจของอวิทยาและการทาลาย กรรมให้หมดไป •อัตตาของคน เมื่อบรรลุโมกษะแล้วจะไปรวมอยู่กับบรมอัตตาของ โลก หรืออัตตาสากล (พระเจ้า) มีสภาวะบริสุทธิ์ปลอดจาก ความสุข ความทุกข์ ปลอดจากความกลัว ความแก่ชรา และความ ตาย พ้นจากความผูกพันของร่างกายและประสาท
  • 58. จริยศาสตร์ของนยายะ • จุดหมายปลายทางสูงสุดของชีวิต คือ การรู้แจ้วตน หรือ โมกษะ • วิถีสู่การหลุดพ้น • ให้เรียนรู้ลักษณะอันแท้จริงของตน หรือ ของอาตมันจากการศึกษาคัมภีร์พระเวท • ให้คิดไตร่ตรองตามที่เรียนมาด้วยเหตุผล • เข้าสมาธิ เพ่งพิจารณาให้เห็นลักษณะแท้ของอาตมัน ทาให้สามารถ แยกตัวตนออกมาจากสิ่งที่ไม่ใช่อาตมัน ปลดเปลื้องตัวเองจากความ หลงผิด + ความเมตตาจากพระเจ้า ผู้นั้นก็จะปลอดกรรมและบรรลุถึง โมกษะ
  • 59.
  • 60. 2. ปรัชญาไวเศษิกะ เป็นปรัชญาที่เน้น เรื่อง “วิเศษะ” หรือ ลักษณะ เฉพาะตัวของส่วนประกอบของสิ่งต่างๆ เป็นพิเศษ – คุณลักษณะของบรรดาสิ่งที่ประกอบกันขึ้นเป็น จักรวาล ซึ่งมีจานวนนับประมาณมิได้ แต่ละสิ่งมี ลักษณะแตกต่างกันไป ก่อตั้งโดย นักพรต“กนาทะ” ผู้รจนา “ไวเศษิกสูตร” ทฤษฎีความรู้ : ความรู้ที่ถูกต้อง มี 2 ทาง คือ 1) โดยการรับรู้ทางประสาทสัมผัส 2) โดยการอนุมาน
  • 61. อภิปรัชญา ของไวเศษิกะ เป็น “พหุสัจนิยม” : สิ่งที่เรารับรู้ด้วยประสาทสัมผัสมีอยู่จริง และสิ่งที่มีอยู่จริงก็ มีจานวนมากมายนับไม่ถ้วน สิ่งที่มีอยู่จริง เรียกว่า “ปทารถะ” หรือ สิ่งที่แสดงให้รู้ได้ด้วยคาพูด มี 7 ชนิด  ทรัพยะ (สสาร)  คุณะ (คุณสมบัติ)  กรรม (อากัปกิริยา)  สามานยลักษณะ (ลักษณะสามัญ)  วิเศษลักษณะ (ลักษณะเฉพาะ)  สมวายะ (ความแนบเนื่อง)  อภาวะ (ความไม่มีอยู่)
  • 62. อภิปรัชญา ของไวเศษิกะ (ต่อ) เชื่อในทฤษฎีปัจจยาการ คือ “อสัตการยวาท” “ปรมาณูการณวาท” คือ ปรมาณู 4 ชนิด คือ ดิน นงา ลม ไฟ เป็นปฐมเหตุของ สิ่งต่างๆ การเคลื่อนไหวของปรมาณู เกิดจากพลังอทฤษฏะ การรวมตัวกันเป็นโลกและสิ่งต่างๆ เกิดจากเจตจานงของพระเจ้า /พระเจ้าเป็น ผู้สร้างโลก สร้างพระพรหม มีพลังอทฤษฏะช่วยเสริม ชีวาตมัน เป็นสิ่งเที่ยงแท้คู่กับปรมาณู เป็นศูนย์กลางของชีวิต และเป็นตัวรับผล กรรม
  • 63. จริยศาสตร์ ของไวเศษิกะ  การกระทาใดที่สอดคล้องกับคาสอนของคัมภีร์พระเวท การกระทานังนจัดเป็น กุศล ก่อให้เกิดบุญ / การกระทาใดที่ขัดต่อข้อห้ามของคัมภีร์พระเวทจัดเป็น อกุศลกรรม ก่อให้เกิดบาป  บุญ และบาป รวมตัวกันเป็น “อทฤษฏะ” ยังผลให้เกิดสุข ทุกข์ เจริญ และ เสื่อม แก่ชีวาตมันที่ยังเวียนว่ายในสังสารวัฏ – เป็นไปตามกรรมของตน  อวิทยา เป็นสาเหตุแห่งความติดข้อง / วิทยา หรือ ความรู้แจ้งเห็นจริงในสัจ ธรรม ว่า ตน (ชีวาตมัน) เป็นสิ่งบริสุทธิ์เที่ยงแท้นิรันดร จะเป็นปัจจัย แห่งการ หลุดพ้น ซึ่งเป็นภาวะ แห่งจิตสสารบริสุทธ์ ปราศจากสัมปชัญญะ ไม่มีความรู้ ไม่มีความสุข ดารงปัจเจกภาพนิรันดร
  • 64. 3. ปรัชญาสางขยะ ลัทธิสางขยะ เป็นลัทธิที่เก่าแก่ที่สุดในบรรดาปรัชญาฮินดู 6 ระบบ ก่อตังงโดย “กปิละ” สางขยะ มาจากคาว่า “สังขยา” แปลว่า จานวน เป็นปรัชญาที่มุ่งแสวงหาความรู้ ที่ถูกต้อง เกี่ยวกับสัจภาพ โดยการจาแนกวัตถุแห่งการรับรู้ออกเป็นจานวน มากมายถึง 25 ชนิด เป็นปรัชญา “ทวินิยมเชิงสัจนิยม” (Realistic Dualism) กล่าวถึงสัจภาพ 2 อย่าง คือ ประกฤติ และ ปุรุษะ ว่าเป็นมูลการณะแห่งสรรพสิ่ง มีจุดหมายสูงสุด คือ มุ่งการนาหลักคาสอนมาประยุกต์ใช้ปฏิบัติเพื่อการ เข้าถึงการหลุดพ้นจากทุกข์ชั่วนิรันดร
  • 65. อภิปรัชญา ของสางขยะ  สางขยะ มีแนวคิดแบบ “สัตการยวาท” : สิ่งที่เป็นผล เป็นสิ่งที่มี อยู่แล้วในสิ่งที่เป็นเหตุมาก่อน การเกิดมีขึงนของผลเป็นเพียงการ คลี่คลายออกจากสิ่งที่เป็นเหตุเท่านังน  โลกและทุกสิ่งในโลก (วัตถุ) ล้วนเกิดจาก “ประกฤติ” (มูลฐาน ของโลก) โดยวิวัฒนาการออกมาจากประกฤติ ตัวประกฤติ ประกอบด้วยส่วนผสม 3 อย่าง คือ  สัตตวะ (ความแท้จริง),  รชัส (ความเคลื่อนไหว),  ตมัส (ความหนัก ความหยุดนิ่ง)
  • 66. อภิปรัชญา ของสางขยะ (ต่อ)  “ปุรุษะ” เป็นความจริงอันติมะ คู่กับประกฤติ เป็นวิญญาณบริสุทธิ์ (ชีวาตมัน) เป็นผู้รู้และพืงนฐานของความรู้ เป็นสิ่งเที่ยงแท้  ประกฤติต้องการปุรุษะเพื่อที่ตนจะได้เป็นที่รู้จัก เพื่อให้ความบันเทิงแก่ ปุรุษะ / ปุรุษะต้องการประกฤติเพื่อความรื่นเริงบันเทิงสุข และเพื่อความหลุดพ้นจาก สังสารวัฏ  สางขยะแทบไม่ได้กล่าวถึงพระเจ้าเลย – ได้รับอิทธิพลแบบ อเทวนิยม / เชื่อว่า การเกิดขึงนและเป็นไปของสรรพสิ่งมาจากประกฤติและปุรุษะ
  • 67. ทฤษฎีความรู้ ของสางขยะ ที่มาของความรู้ที่ถูกต้อง มี 3 ทาง 1. การประจักษ์ 2. การอนุมาน 3. การบอกเล่าของคัมภีร์  ความรู้ที่ถูกต้อง ต้องประกอบด้วยองค์ 3 คือ ผู้รู้ (ปุรุษะ) /สิ่งที่ถูกรู้ / ที่มาของความรู้ที่ถูกต้อง
  • 68. จริยศาสตร์ ของสางขยะ เห็นว่า ชีวิตตามสภาพที่เป็นอยู่ในโลกนีงเต็มไปด้วยความ ทุกข์ ซึ่งทุกข์มีอยู่ 3 ประการ  อาธยาตมิกะ : ทุกข์เนื่องจากความผิดปกติของอวัยวะ ต่างๆ ของร่างกาย และความทุกข์ทางใจ  อธิเภาติกะ : ความทุกข์ที่เกิดจากสาเหตุภายนอก  อธิไธกวิกะ : ทุกข์ที่เกิดจากเหตุเหนือวิสัยปกติธรรมดา  ดังนังน มนุษย์จึงควรแสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ที่ ยั่งยืน ซึ่งก็คือการเข้าถึงโมกษะที่หลุดพ้นจากการเวียน ว่ายตายเกิดตลอดกาล
  • 69.  การเวียนว่ายตายเกิด มีสาเหตุมาจากอวิทยา – ปุรุษะเกิดความหลงผิด คิดว่า เงาสะท้อนของตนเองที่ปรากฏในพุทธิเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับตนเอง นาไปสู่ การหลงผิดว่า ตนเองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพุทธิ อหังการ และมนัส ซึ่งวิวัฒน์ ออกมาจากประกฤติ  ปุรุษะที่ถูกห่อหุ้มด้วยร่างกาย เรียกว่า “ชีวะ” ***เมื่อใดที่ชีวะเข้าใจถูกต้องว่า ตัวตนที่แท้จริง คือ ปุรุษะ ไม่ใช่ร่างกายที่เกิดจากประกฤติ เมื่อนังนชีวะก็จะ เข้าถึงความหลุดพ้น หรือโมกษะ  สถานะของโมกษะ**ไม่มีความสนุกสนาน ไม่มีความสุข และไม่มีนิรามิสสุข ใดๆ การเข้าถึงโมกษะของปุรุษะ คือ การกลับสู่ภาวะความเป็นวิญญาณ บริสุทธิ์ตามเดิม
  • 71. 4. ปรัชญาโยคะ  ผู้ให้กาเนิดลัทธิโยคะ คือ “ปตัญชลี” ผู้รจนา “โยคสูตร” ขึงน  “โยคะ” มีความหมายว่า “รวม” คือ รวมอาตมันย่อย หรือ ชีวาตมัน เข้ากับ อาตมันสากล หรือปรมาตมัน -----เป็นการบรรลุเอกภาพอันเป็น อันหนึ่งเดียวกันระหว่างชีวาตมัน กับปรมาตมัน  “โยคะ” ในความหมายของปตัญชลี คือ ความพากเพียร เพื่อแยกปุรุษะ ออกอย่างเด็ดขาดจากประกฤติ เพื่อให้ปุรุษะ ซึ่งเป็นวิญญาณบริสุทธิ์ เข้าถึงสถานะแห่งโมกษะ
  • 72. โยคะ จึงหมายถึง วิธีการแห่งการบาเพ็ญเพียร โดยการควบคุม อินทรีย์ (ตา หู จมูก ลิงน กาย ใจ) ปลดเปลืงองร่างกายและจิตออกจาก ความเศร้าหมองทังงปวง โดยมีการหลุดพ้นจากทุกข์ หรือ จากการเวียน ว่ายตายเกิดในสังสารวัฏเป็นจุดหมายปลายทาง โยคสูตร แบ่งเป็น 4 ตอน  สมาธิบาท : ว่าด้วยธรรมชาติและจุดมุ่งหมายของสมาธิ  สาธนาบาท : วิธีการปฏิบัติที่นาไปสู่จุดมุ่งหมาย  วิภูติบาท : อานาจวิเศษที่บรรลุได้ด้วยการบาเพ็ญโยคะ  ไกวัลยบาท : ว่าด้วยโมกษะ หรือ ความหลุดพ้น
  • 73. อภิปรัชญา และจริยศาสตร์ของโยคะ  โยคะ ยอมรับอภิปรัชญาและญาณวิทยาของสางขยะเป็นส่วนใหญ่ แตกต่าง ตรงที่ โยคะเชื่อในความมีอยู่ของพระเจ้าในฐานะเป็น ปุรุษะพิเศษ ที่ดารงอยู่ ในสถานะแห่งโมกษะตลอดกาล ได้ชื่อว่า “เทวนิยมสางขยะ”  ปุรุษะ โดยธรรมชาติอันแท้จริง เป็นสิ่งบริสุทธิ์ นิรันดร การติดข้องในสังสารวัฏ เกิดเมื่อปุรุษะมาพัวพันกับจิตและถูกกักขังอยู่ในร่างกายชนิดต่างๆ และตกอยู่ ใต้อานาจ กิเลส 5 ชนิด คือ ความโง่เขลา(อวิทยา) / ความยึดมั่นตัวเอง (อัสมิ ตา) / ความรักใคร่หลงใหล (ราคะ) / ความโกรธแค้นขึงเครียด (โทสะ) / ความ รักชีวิตและความกลัวตาย (อภินิเวศะ)
  • 74. จริยศาสตร์ ของโยคะ โยคะ มุ่งฝึกฝนอบรมร่างกาย ประสาทสัมผัสและจิตให้อยู่ใต้การควบคุมอย่าง เข้มงวด เพื่อให้สะอาดจากกิเลสทังงปวง โดยมีโมกษะเป็นจุดหมายปลายทาง ปรัชญาโยคะ ได้วางมรรควิธีเพื่อการหลุดพ้นไว้ 8 ประการ  1. ยมะ : การสารวมระวัง 5 ประการ ได้แก่  อหิงสา – การไม่เบียดเบียน  สัตยะ – การรักษาความสัตย์  อัสเตยะ – การไม่ลักขโมย  พรหมจริยะ – การรักษาพรหมจรรย์  อปริครหะ - การไม่โลภ
  • 75. จริยศาสตร์ ของโยคะ (ต่อ) 2. นิยมะ : การฝึกฝนอบรมตนเองให้บริสุทธิ์ทังงภายนอกและภายใน  ภายนอก - ทาตัวเองให้บริสุทธิ์ด้วยการชาระล้างร่างกาย (เศาจะ) และ บริโภคอาหารที่ปราศจากโทษ  ภายใน – ควบคุมอารมณ์ และฝึกฝนคุณธรรม คือ สันโดษ, ตบะ, สวาธ ยายะ และอิศวรประณิธาน 3. อาสนะ : การควบคุมร่างกายให้อยู่ในอิริยาบถที่สบาย และเป็นประโยชน์แก่ การเจริญสมาธิ 4. ประณายามะ : การกาหนดควบคุมลมหายใจเข้า ออก 5. ปรัตยาหาระ : การควบคุมประสาทสัมผัส และเพ่งจิตให้จดจ่ออยู่กับอารมณ์ สมาธิเพียงอย่างเดียว
  • 76. จริยศาสตร์ ของโยคะ (ต่อ) 6. ธารณะ: การกาหนดจิตให้แน่วแน่อยู่กับอารมณ์สมาธิ 7. ธยานะ: การที่จิตแน่วแน่อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง 8. สมาธิ : จิตดื่มด่ากับอารมณ์สมาธิอย่างเต็มที่ ความสัมพันธ์กับโลก ภายนอกถูกตัดขาดโดยสิงนเชิง **เข้าสู่ไกวัลยะ สถานะที่ปุรุษะเกิดความรู้แจ้งในความแตกต่างระหว่าง ตนเองกับประกฤติ เข้าสู่การหลุดพ้น กลับคืนสู่สถานะดังงเดิมของปุรุษะ หรือ วิญญาณบริสุทธิ์
  • 77.
  • 78.
  • 79.
  • 80.
  • 81.
  • 82. 5. ปรัชญามีมามสา คาว่า “มีมามสา” แปลว่า “ความคิดที่ได้รับ การยกย่อง” เดิมใช้อธิบายความหมายแห่ง พิธีกรรมในพระเวท ก่อตังงโดย “ไชมินิ”  ลัทธิมีมามสา ได้ให้กฎเกณฑ์เกี่ยวกับการ อธิบายความหมายแห่งข้อกาหนดที่กล่าวไว้ ในคัมภีร์พระเวท โดยเฉพาะเรื่องพิธีกรรม มีมามสาเน้นว่า พระเวท เป็นคัมภีร์แห่ง พิธีกรรม ที่กล่าวถึงข้อพึงปฏิบัติต่างๆ ตอนที่ สาคัญที่สุด คือ พราหมณะ มีการตีความในแง่ปรัชญา มุ่งถึงการหลุดพ้น จากทุกข์เป็นจุดหมาย
  • 83. อภิปรัชญา ของมีมามสา  เป็น “พหุสัจนิยม”: เชื่อในความมีอยู่จริงของโลกภายนอก และ ของชีวาตมัน  เชื่อในกฎแห่งกรรม หรือ อทฤษตะ เชื่อในนรก สวรรค์  เชื่อในความหลุดพ้นจากทุกข์ (โมกษะ)  เชื่อในความถูกต้องสมบูรณ์ของพระเวท  ถือว่าพระเจ้าสูงสุด ไม่มีความจาเป็น โลกนีงไม่เคยมีใครสร้าง และจะไม่แตกสลาย มันจะดารงอยู่อย่างนีงตลอดไป
  • 84. ทฤษฎีความรู้ ของมีมามสา เป็นทฤษฎี “สวตหปรามาณยวาทะ” ถือว่าความรู้เป็นสิ่งที่มีความถูกต้องในตัว มันเอง (ถ้าเกิดจากเหตุอันถูกต้องและสอดคล้องกับเหตุนังน) วิถีแห่งการรับรู้ที่ถูกต้องมี 6 ประการ  1. ความรู้ประจักษ์  2. ความรู้จากการอนุมาน  3. ความรู้จากการบอกเล่าของผู้อื่น  4. ความรู้จากการเปรียบเทียบ  5. ความรู้ดรรชนีนัย  6. ความรู้โดยการปฏิเสธ
  • 85. จริยศาสตร์ ของมีมามสา ธรรมะ ได้แก่ บทบัญญัติ หรือ คาสั่งที่กาหนดให้มนุษย์ต้องกระทากรรม ซึ่งระบุไว้ใน คัมภีร์พระเวท มีมามสา ได้แบ่งกรรม เป็น 3 อย่าง  1. กรรมที่ต้องกระทา : อาจไม่ก่อให้เกิดบาปหรือบุญ แต่ถ้างดเว้นไม่กระทาจะทา ให้เกิดบาปหรือโทษ  2. กรรมที่ทาก็ได้ ไม่ทาก็ได้ : ทาก่อให้เกิดบุญ ถ้าไม่ทาไม่ก่อให้เกิดบาป  3. กรรมที่ต้องห้าม : กรรมที่ห้ามไม่ให้กระทา ถ้าทาจะเป็นบาป เช่น การผิดศีล
  • 86. การขจัดการเวียนว่ายตายเกิด จึงต้องขจัดด้วย “การงดเว้นกระทากรรม” คือ งด เว้นจากการกระทากรรมต้องห้าม และ กรรมที่กระทาก็ได้ ไม่กระทาก็ได้ ส่งผลทาให้การพัวพันของชีวาตมัน กับร่างกาย ประสาทรับสัมผัส จิต และความ เข้าใจสิงนสุด ยุติลงโดยอัตโนมัติ ถึงการบรรลุโมกษะ การปฏิบัติตามบทบัญญัติของพระเวท เป็นการกระทาที่มีค่าสูงสุด เป็นการ กระทาที่ปราศจากอุปทาน โดยไม่ต้องกังวล หรือคานึงถึงผลที่จะได้รับ กระทาไป เพราะพระเวทบัญญัติไว้อย่างนังน
  • 87. 6. ปรัชญาเวทานตะ (ของศังกราจารย์) อภิปรัชญา :  1. สิ่งแท้จริงอันติมะ มีเพียงสิ่งเดียว คือ พรหมัน (เอกนิยม)  2. โลกไม่ใช่สิ่งจริงแท้ เป็นเพียงการปรากฏ ของพรหมัน ด้วยอานาจของมายาที่อนุสัยอยู่ ในพรหมัน  3. ชีวาตมันยึดถือด้วยอานาจของอวิทยาว่า ตนเอง แตกต่างจากพรหมัน และเข้าใจผิดว่า พรหมันเป็น โลกแห่งความหลากหลาย  4. อวิทยาย่อมหายไปเมื่อวิทยาเกิดขึงน
  • 88. อภิปรัชญา ของเวทานตะ (ต่อ) “พรหมัน” เป็น สัต จิต อานันทะ เป็นความจริงหนึ่งเดียว เป็นมูลการณะของทุก อย่างในสากลจักรวาล เป็นเบืงองต้นของทุกสิ่ง และเป็นที่สุดของสรรพสิ่ง พรหมัน มี 2 สถานะ  ปรพรหม : ฐานะสิ่งสัมบูรณ์  อปรพรหม หรือ อีศวร : พรหมันในฐานะแห่งพระเจ้าที่มีตัวตน การสร้างโลกมิได้เป็นเจตจานงของอีศวร การเกิดขึงนของโลกเป็นการหลั่งไหล คลี่คลายออกมาเองจากธรรมชาติอันสมบูรณ์เต็มที่ของพระองค์
  • 89. เวทานตะ เชื่อใน “ทฤษฎีสัตการยวาท” “พรหมการณวาท” พรหมันเป็นเหตุเกิดของโลกแห่งปรากฏการณ์ แต่ ไม่ใช่การเกิดจริงๆ เป็นเพียงพรหมันปรากฏให้เห็นเป็นโลก “พรหมวิวรตวาท” : พรหมันเท่านังนเป็นสิ่งจริงแท้ ส่วนโลกแห่ง ปรากฏการณ์ที่เกิดขึงนจากพรหมันไม่ใช่สิ่งจริงแท้ เหตุมีอยู่ได้ด้วย ตนเอง แต่ผลเป็นสิ่งที่ต้องขึงนอยู่กับเหตุ
  • 90. จริยศาสตร์ ของเวทานตะ  ยอมรับหลักปฏิบัติของโยคะ ซึ่งมีจุดหมายปลายทางอยู่ที่การทาให้เป็นสมาธิ เพื่อทาให้ความรู้อันถูกต้องเกิดมีขึงน และเมื่อนังนจึงบรรลุโมกษะ  โดยธรรมชาติของโมกษะเป็นอย่างเดียวกับพรหมัน เข้ารวมเป็นเอกภาพกับพร หมัน  แต่ผู้ที่บูชาอีศวร ซึ่งเป็นพระเจ้ามีตัวตนจะยังไม่อาจขจัดอวิทยาให้หมดไปได้ ตายแล้วจะเข้าถึงพรหมโลก มีอานาจความเป็นใหญ่ จากนังนจึงจะบรรลุแบบ ค่อยเป็นค่อยไปในที่สุด