SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
ภาพนี้คือรูปอะไร?
รู้สึกอย่างไรเมื่อเห็นภาพนี้?
กล้องถ่ายภาพ
ทรงปืนลูกโม่
ซึ่งเมื่อลั่นไกออกไป
ภาพก็จะเข้ามา
อยู่ในฟิล์ม
สิ่งนี้คืออะไร?
อย่าลืมสังเกตความรู้สึกของตัวเอง
dictionary desk pillow
ใครติวหนังสือดึกๆ คงชอบแน่เลย
ภาพนี้คือรูปอะไร?
ความรู้สึกแรกที่เห็นภาพนี้?
อัตถิภาวะ (การดารงอยู่) >> ภาวะ
ที่แสดงว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีอยู่จริง
สามารถบ่งชี้ได้ว่าสิ่งนั้นอยู่ ณ ที่
ใด หรืออยู่ตรงไหน
เป็นลักษณะที่เห็นได้อย่างเด่นชัด
ของสิ่งนั้น เป็นสิ่งที่ระบุความเป็น
สิ่งเฉพาะของสิ่งนั้น
หมายถึงความเป็นสิ่งเฉพาะหน่วย
(Particularity) ของสิ่งต่างๆ
สารัตถะ หมายถึง สภาพที่ทา
ให้วัตถุหรือสิ่งๆหนึ่งเป็นอะไร
หมายถึง ธรรมชาติภายใน
หรือคุณสมบัติสาคัญที่สุดของ
วัตถุชิ้นนั้น
 “....จิตใจอันประเสริฐเป็นสิ่งที่ควรค่าแก่
การสรรเสริญ...เป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่และ
น่าชื่นชม...แต่ตอบข้าพเจ้าทีว่ามันมา
จากไหน ไม่ใช่จิตใจอันประเสริฐแน่ๆ ที่
ทาให้ท่านมีความสุข แต่เป็นผู้หนึ่งผู้ใด
ที่ให้สิ่งนั้นแก่ท่าน ผู้ซึ่งเป็นแรงบันดาล
ใจให้ท่านต้องการมัน และประทาน
ความสามารถที่จะมีมันแก่ท่าน
 ....ข้าพเจ้ารู้ว่าท่านต้องการมัน และ
กระหายมัน แต่ท่านไม่สามารถริน
เครื่องดื่มแห่งคุณธรรมให้ตัวท่านเองได้”
 “แบบเป็นหัวใจของสิ่งต่างๆ คือ ทาให้
สิ่งต่างๆมีความหมาย”
 เพลโตเชื่อว่า...วัตถุต่างๆที่ปรากฏใน
โลก ถ้าเป็นวัตถุประเภทเดียวกันจะเกิด
จากแบบเดียวกัน
 วัตถุต่างๆจะมีความหมายได้ ก็เพราะมี
ส่วนร่วมกับแบบ (Form)
 แบบ คือ สารัตถะ หรือ สิ่งสมบูรณ์ที่ทา
ให้สิ่งต่างๆในโลกเกิดขึ้นและมี
ความหมาย
วัตถุประเภทเดียวกันก็จะเกิดจากแบบเดียวกัน
นักปรัชญาอัตถิภาวนิยมให้
ความสาคัญต่ออัตถิภาวะ
มากกว่าสารัตถะ
สนใจต่อลักษณะของการมี
อยู่มากกว่าธรรมชาติ หรือ
คุณสมบัติ
^___^ คิดว่าเพราะอะไรจ้ะ ??
 อัตถิภาวะ หรือ การมีอยู่ของตัวฉัน
 การมีอยู่ของมนุษย์ไม่ถูกจากัด
 การมีอยู่ของมนุษย์แปลกเด่น
 การมีอยู่ของมนุษย์มีความขัดแย้ง
 การมีอยู่ของมนุษย์คือการเผชิญหน้าระหว่างการ
เป็นตัวของตัวเองหรือการสูญเสียตัวเอง
การมีอยู่ของตัวเองเป็นสิ่งที่มนุษย์แน่ใจได้มากที่สุด และ
เป็นสิ่งที่แน่ใจก่อนการแน่ใจหรือการคิดถึงในสิ่งอื่น
เมื่อแน่ใจในการมีอยู่ของตัวเองแล้ว จึงตั้งคาถามต่อไป
ว่าเขามีอยู่ในฐานะเป็นอะไร (สารัตถะ)
การตริตรองของมนุษย์ต่อเรื่องใดๆ ต้องเริ่มที่ตัวตนของ
ตนเอง
ทุกอย่างจะต้องถูกเริ่มคิดจากอัตตา (Subject) ของมนุษย์
ทั้งนั้น >> แนวคิดเชิงอัตวิสัย (Subjectivity)
คาถามชวนคิด
พระเจ้าสร้างมนุษย์ หรือ มนุษย์สร้างพระเจ้า
การมีอยู่ของมนุษย์เป็นสิ่งที่แตกต่างจากการมีอยู่ของสิ่ง
ทั้งหลาย
มนุษย์ไม่ใช่สิ่งที่ถูกกาหนดให้มีสารัตถะอย่างหนึ่งอย่างใด
เป็นการถาวร มนุษย์จึงมิได้ถูกจากัดให้เป็นอะไรตลอดไป
แต่พร้อมจะเป็นอะไรก็ได้ทุกขณะ
การมีอยู่ของมนุษย์จึงมีลักษณะเลื่อนลอยเคว้งคว้าง และ
อิสระเนื่องจากไม่ถูกจากัด
ทาให้มนุษย์สามารถกาหนดสารัตถะใดๆก็ได้ให้กับตัวเอง
เป็นอะไรก็ได้ที่ใจอยากจะเป็น
ไม่ใช่สิ่งนิ่งสนิท เพราะถูกจากัดด้วยสถานภาพที่ตายตัว
BUT……..
BUT……..
“ความเป็นตัวฉัน” ของบุคคลหนึ่งไม่สามารถเปรียบเทียบ
หรือถูกแทนที่ด้วย “ความเป็นตัวฉัน” ของอีกบุคคลหนึ่งได้
“ความเป็นตัวเอง” ของแต่ละคนมีความแตกต่างกันโดย
สิ้นเชิง >> ทุกคนมีความแปลกเด่นเฉพาะตน
มนุษย์รู้สึกขัดแย้งอยู่ตลอดเวลา ระหว่าง >>
ความสานึกถึงความมีอยู่/ไม่มีอยู่
ความแปลกเด่น และความไม่มีคุณค่าใดๆ
การมีอยู่ของมนุษย์มีลักษณะเปิดกว้างให้มนุษย์สามารถ
เป็นตัวของตัวเองโดยไม่มีสิ่งใดมาจากัดได้
ในขณะเดียวกันเขาสามารถเลือกที่จะสูญเสียความเป็น
ตัวเองได้เช่นกัน
มนุษย์จึงต้องเผชิญหน้าระหว่างการเป็นตัวของตัวเอง
หรือการสูญเสียตัวเอง
กิจกรรม 1
สารวจประสบการณ์ของตนเองว่าเคยมีความปรารถนาที่จะ
เป็นอะไร รวมทั้งสารวจความเป็นไปได้และความเป็นไปไม่ได้
ของความปรารถนั้น ตัดสินด้วยตนเองว่าสามารถปฏิเสธ
สภาพของตนเองได้หรือไม่
กิจกรรม 2
อ่านหนังสือเรื่อง แด่หนุ่มสาว (พจนา จัทรสันติ แปล)
ตอน พันธนาการแห่งความกลัว หน้า ๙-๑๔
แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็น
เราได้เรียนรู้อะไรจากบทความนี้บ้าง
The End
(ดร. มล.)นิพาดา เทวกุล. ปรัชญาอัตถิภาวนิยม. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ๒๕๔๙. (เอกสารประกอบการสอน)
ปานทิพย์ ศุภนคร. ปรัชญาเอกซิสเตนเชียลลิสต์. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย
รามคาแหง, ๒๕๔๓.
กีรติ บุญเจือ. ปรัชญาลัทธิอัตถิภาวนิยม. กรุงเทพฯ : บริษัทสานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชจากัด,
๒๕๒๒.
พินิจ รัตนกุล. ปรัชญาชีวิตของฌอง – ปอล – ซาร์ตร์. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์สามัญชน, ๒๕๓๙.
วิทย์ วิศทเวทย์. ปรัชญาทั่วไป มนุษย์ โลก และความหมายของชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ ๑๖). กรุงเทพฯ:
อักษรเจริญทัศน์, ๒๕๔๓.
สมภาร พรมทา. มนุษย์กับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ ๒).
กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ศยาม, ๒๕๔๕.
H.J. Blackham. Six Existentialist Thinkers. London : Routledge, 1997.
Kurt F. Reinhardt. The Existentialist Revolt : The Main Themes and Phases of Existentialism.
New York : Frederick Ungar Publishing Co.
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
Padvee Academy
 

What's hot (20)

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
 
Personal Data Protection Act & Cybersecurity Act (August 26, 2019)
Personal Data Protection Act & Cybersecurity Act (August 26, 2019)Personal Data Protection Act & Cybersecurity Act (August 26, 2019)
Personal Data Protection Act & Cybersecurity Act (August 26, 2019)
 
33 37
33 3733 37
33 37
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
เวอร์เนียคาลิเปอร์ และ ไมโครมิเตอร์
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 

Viewers also liked

ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
Padvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
Padvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
Padvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
Padvee Academy
 
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
Padvee Academy
 

Viewers also liked (20)

ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโล
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธีชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
ชีวประวัติท่าน ว.วชิรเมธี
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์

Editor's Notes

  1. แรกเริ่มเห็นคนจูบกัน เพ่งไปอีกนิด เป็นโลมา 8 - 9 ตัว