SlideShare a Scribd company logo
1 of 69
Download to read offline
1 
เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 1 เล่ม 
เรื่อง งานช่างพื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต 
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 
2
1 
ใบความรู้ที่ 1 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 งานช่างพื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต 
หลักการ วิธีการ กระบวนการทางานช่าง 
หลักการ วิธีการ และกระบวนการทางานช่าง 
การดารงชีวิตในโลกปัจจุบันต้องมีความรู้และความเข้าใจในทักษะที่จาเป็นต่อการทางาน หรือการประกอบอาชีพจาเป็นต้องใช้ทักษะในการทางานซึ่งแสดงให้เห็นถึงความชานาญในการ ทางานโดยมีทักษะการทางานอย่างเป็นขั้นตอนและมีระบบ เพื่อให้การทางานนั้นประสบ ความสาเร็จช่วยให้สามารถทางานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และปลอดภัย ลดการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และลดการใช้พลังงาน 
1. หลักการทางานช่าง 
(สราวุธ ญาณยุทธ และอดิศักดิ์ มีสุข. 2547 : 13 -16)การทางานในทุกองค์กรมุ่งมั่นที่ เป้าหมาย คือ ความสาเร็จของงาน และเพื่อให้การทางาน บรรลุเป้าหมาย การจัดการจึงเป็น สิ่งจาเป็นสาคัญในการทางาน ดังนั้นการทางานช่างได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ผู้ปฏิบัติต้องรู้ความหมายและความสาคัญของการจัดการ ตลอดจนกระบวนการจัดการงานช่าง เพื่อ จะได้นาไปใช้วางแผนในการทางานได้การทางานงานช่างให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลจน บรรลุวัตถุประสงค์ของงานช่าง มีหลักการ ดังนี้ 
1.1 มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ที่จาเป็นในบ้าน 
1.2 มีความรู้เกี่ยวกับหลักการการทางานของเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ที่จาเป็นในบ้าน 
1.3 มีทักษะการสังเกต การรวบรวมข้อมูล การสรุปสภาพปัญหา เพื่อที่จะวางแผน บารุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้ง และผลิตเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ที่จาเป็นในบ้าน
2 
1.4 มีความรู้เกี่ยวกับหลักการของวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ และวิธีการทางาน 
1.5 เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ และทางานอย่างปลอดภัย พร้อมทั้งจัดเก็บ 
และบารุงรักษาเครื่องมือ 
1.6 มีความรู้เกี่ยวกับหลักการของเทคโนโลยี ทรัพยากร พลังงาน ละสิ่งแวดล้อม 
ที่มีผลกระทบต่อการดารงชีวิตในท้องถิ่น 
1.7 เลือกใช้เทคโนโลยี ทรัพยากร พลังงาน และสิ่งแวดล้อม ได้อย่างเหมาะสม 
1.8 ออกแบบ เขียนแบบ อ่านแบบ วิเคราะห์ วางแผน และสามารถจัดการทางาน บารุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้ง และผลิตอย่างเป็นกระบวนการ ตั้งแต่การวางแผน ดาเนินการ ตรวจสอบ ประเมิน และปรับปรุง 
1.9 คานวณค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้ง และผลิต พร้อมทั้งจัดการผลิตและ บรรจุภัณฑ์ 
1.10 มีความขยัน อดทน ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรู้จักใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด และมี คุณค่า มีความเป็นประชาธิปไตย เอื้อเฟื้อ เสียสละ 
2. วิธีการทางานงานช่าง การทางานงานช่างทุกประเภทต้องดาเนินการ ดังนี้ 
2.1 ศึกษาคู่มือการทางานของเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ที่จาเป็นในบ้าน ศึกษา คาแนะนา หลักความปลอดภัยในการทางาน พร้อมทั้งศึกษาปัญหา ความต้องการของผู้ใช้ 
2.2 วางแผนการดาเนินงาน การบารุงรักษา การซ่อมแซม การติดตั้งและการผลิต โดย ตระหนักถึงการใช้เทคโนโลยี ทรัพยากร พลังงาน และวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ อย่าง ถูกต้องเหมาะสม 
2.3 ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ พร้อมทั้งมีการตรวจสอบและแก้ไขระหว่าง 
ที่ปฏิบัติ จัดเก็บ บารุงรักษาเครื่องมือ จัดการผลิตและบรรจุภัณฑ์ อีกทั้งควรมีการนาผลมาพัฒนา ปรับปรุง 
2.4 ตรวจสอบและประเมินการทางานทุกขั้นตอน โดยเริ่มจากขั้นเตรียม ขั้นดาเนินการ และ ขั้นสาเร็จของงาน
3 
3. ขั้นตอนการทางานงานช่าง การทางานงานช่างทุกประเภทมีขั้นตอนการทางาน ดังนี้ 
3.1 ขั้นเตรียมการหรือขั้นวางแผน เป็นขั้นตอนที่วางแผนจัดการทางานเพื่อการบารุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้ง และผลิตเครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ในบ้าน สาหรับการบารุงรักษาเป็นงาน หนึ่งที่ต้องศึกษาคู่มือ การทางานในประเด็นของส่วนประกอบหรือชิ้นส่วนที่ต้องการจะบารุงรักษา 
หรือซ่อมแซม การบารุงรักษาเครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์ในบ้านแต่ละชนิดย่อมมีความแตกต่าง กัน ดังนั้น ผู้ปฏิบัติงานต้องวิเคราะห์ว่า เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ในบ้านชนิดใดจะต้อง บารุงรักษา ด้วยวิธีทาความสะอาด ปัดฝุ่นละออง เช็ดถู หยอดน้ามันหล่อลื่น หรือถอดชิ้นส่วน ออกมาทา ความสะอาด ในส่วนของการซ่อมแซม ติดตั้งและผลิต ผู้ปฏิบัติต้องมีทักษะในการสังเกต การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนาข้อมูลมาวางแผนจัดทาโครงการ เขียนแบบออกแบบ เตรียมวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือ เตรียมบุคลากร และงบประมาณ ให้เหมาะสมเพียงพอกับการวางแผนจัดการ ทางานนอกจากนี้จะต้องพิจารณาว่า การทางานช่างแต่ละประเภทต้องใช้ทรัพยากรให้เหมาะสมกับ ท้องถิ่น เพื่อเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากร พลังงาน และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนค่าใช้จ่าย ในการทางาน แต่ละประเภท ให้คุ้มค่ามากที่สุด เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเตรียมการหรือวางแผนใน การทางาน ต่อไป 
3.2 ขั้นดาเนินการ เป็นขั้นตอนการทางานตามที่ได้วางแผนไว้ โดยผู้ปฏิบัติจะต้องลงมือ ปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ว่าจะใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือชนิด บุคลากรจานวนเท่าไรจึงจะ เหมาะสม พร้อมทั้งตรวจสอบ ปรับปรุงการทางานแต่ละขั้นตอนตามที่ระบุไว้ในรูปแบบรายการ อีกทั้ง การทางานช่างทุกประเภทจะต้องจัดเก็บและบารุงรักษาเครื่องมือให้สามารถใช้งานได้ ตลอดเวลา อย่างไรก็ตามการทางานช่างผู้ปฏิบัติจะต้องเลือกใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสม และเมื่อ ผลิตแล้ว จะต้องออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้สวยงาม 
3.3 ขั้นตรวจสอบ เป็นขั้นตอนการตรวจสอบตั้งแต่ 3.3.1 ขั้นเตรียมการหรือการวางแผนเพื่อตรวจสอบความพร้อมของวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ บุคลากร ฯลฯ หากพบว่าไม่พร้อมจะต้องรีบแก้ไขทันที 3.3.2 ขั้นดาเนินการ เป็นขั้นตอนการตรวจสอบ วิธีการทางานแต่ละขั้นตอนเพื่อ ต้องการทราบว่าขั้นตอนการทางานเป็นไปตามรูปแบบที่กาหนดไว้หรือไม่ เช่น การใช้เครื่องมือให้ ถูกต้องเหมาะ การใช้วัสดุอุปกรณ์ให้เหมาะสม เกิดประโยชน์และประหยัด เป็นต้น อีกทั้ง กระบวนการทางานต้องมีความปลอดภัย หากการทางานแต่ละขั้นตอนไม่เรียบร้อย จะต้องหา
4 
วิธีแก้ไขทันที 3.4 ขั้นพัฒนา-ปรับปรุง เป็นขั้นตอนสาคัญของการทางานช่าง เพราะขั้นตอนนี้มุ่งเน้นให้ผู้ ปฏิบัตินาผล การทางานในส่วนที่ประสบผลสาเร็จมาใช้ โดยผู้ปฏิบัติจะนาจุดเด่นของงานมา ออกแบบหรือจัดทาโครงงานเพื่อพัฒนาให้งานมีผลผลิตสูงขึ้นหรือในกรณีที่ผลงานประสบปัญหาผู้ ปฏิบัติจะต้องนาปัญหามาวิเคราะห์ เพื่อวางแผนการทาโครงงานต่อไป เพื่อให้งานบรรลุ วัตถุประสงค์ 
สรุปหลักการจัดการงานช่าง 
การจัดการ หมายถึง ความพยายามของบุคลที่จะจัดการระบบงาน (ทางานเดี่ยว) และการ จัดระบบคน(ทางานกลุ่ม) เพื่อให้การทางานสาเร็จตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้การ จัดการยังเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งในการดาเนินชีวิตของแต่ละครอบครัว เพราะถ้าหาก มีการจัดการที่ดี ก็จะทาให้ครอบครัวมีแต่ความสุขซึ่งการจัดการจะทาให้การดาเนินชีวิตและครอบครัวมีการวางแผน และตัดสินใจทางานตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ พร้อมทั้งช่วยให้ทุกคนทางานตามบทบาทหน้าที่ได้ อย่างดี ส่งผลให้บรรลุประสงค์ที่กาหนดไว้ การทางานช่างให้บรรลุเป้าหมายการจัดการเป็นสิ่ง สาคัญ ซึ่งกระบวนการจัดการงานช่างมีขั้นตอนดังนี้ 
1. การวางแผนการดาเนินงาน 
2. การแบ่งงาน 
3. การบริหารงานบุคคล 
4. การบริหารการเงินและวัสดุ 
5. การผลิต 
6. การจัดจาหน่ายและการบริการ 
7. การแก้ไขข้อบกพร่อง 
การจัดการงานช่าง เป็นวิธีการจัดระบบการทางานอย่างเป็นขั้นตอน โดยเริ่มตั้งแต่การวาง แผนการปฏิบัติงาน การลงมือปฏิบัติและตรวจสอบตามแผนการทางานที่ได้กาหนดไว้ และสุดท้าย คือขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงานว่ามีผลดีหรือข้อบกพร่องอย่างไร ซึ่งจะเป็นข้อมูล ประกอบการพิจารณา ตัดสินใจเลือกหรือพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้นในโอกาสต่อไป ตลอดเวลาในสาขา วิชาชีพ และใช้เหตุผลในการทางาน
5 
4. ทักษะที่จาเป็นต่อการทางานอาชีพ 
ทักษะกระบวนการทางาน คือ การลงมือทางานด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นในการฝึกวิธีทางาน อย่างสม่าเสมอ ทั้งการทางานเป็นรายบุคคล และการทางานเป็นกลุ่ม ซึ่งสามารถทางาน ได้บรรลุ ตามเป้าหมาย โดยกระบวนการทางาน มีขั้นตอนตั้งแต่ การวิเคราะห์งาน การวางแผนการทางาน การปฏิบัติงาน และการประเมินผลการทางาน ดังที่ 
ชลอ บุญก่อ และคณะ (2548 : 8 -14) กล่าวว่า ทักษะกระบวนการทางานช่างว่า ลักษณะ ของงานช่างมี 4 ลักษณะ และจะมีกระบวนการทางานที่คล้ายคลึงกัน แต่จะแตกต่างกันบ้างในบาง หัวข้อ 
กรมวิชาการ (2544 : 161-162) ให้ความหมาย ทักษะกระบวนการทางานว่า หมายถึง การลง มือทางาน ด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นในการฝึกวิธีทางานอย่างสม่าเสมอ ทั้งการทางานเป็นรายบุคคล และการทางานเป็นกลุ่ม ซึ่งสามารถ ทางานได้บรรลุตามเป้าหมาย ได้แก่ การวิเคราะห์งาน การ วางแผนในการทางานการปฏิบัติงาน และการประเมินผล การทางานสอดคล้องกับ ชลอ บุญก่อ และคณะ (2548 : 17) ที่กล่าวว่า ทักษะกระบวนการทางาน หมายถึง การลงมือทางาน ด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นในการฝึกวิธีทางานอย่างสม่าเสมอ ทั้งการทางานเป็นรายบุคคล และการทางานเป็นกลุ่ม ซึ่งสามารถ ทางานได้บรรลุตามเป้าหมาย และอธิบายถึงขั้นตอนของกระบวนการทางานไว้ดังนี้ 4.1.1 การวิเคราะห์งาน คือ การแจกแจงงานที่จะทาว่าเป็นงานประเภทใด หรือลักษณะใด ต้องใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อะไรบ้าง มีขั้นตอนการปฏิบัติอย่างไร กล่าวคือ ฝึกให้ผู้เรียนมองงาน โดยภาพรวมออกมาว่าจะต้องทาอย่างไร 
4.1.2 การวางแผนในการทางาน คือ การวางแผนว่าจะใช้วัสดุอุปกรณ์อะไรในการทางาน ครั้งนี้ ต้องใช้เงินในการลงทุนมากน้อยอย่างไร กาลังงานในการทางานอย่างไร จะทาคนเดียวหรือ ต้องทาหลายคน ถ้าทาหลายคนจะแบ่งหน้าที่กันอย่างไร ตลอดจนกาหนดวิธีการทางานให้เป็น ขั้นตอนจนงานสาเร็จ 
4.1 ทักษะกระบวนการทางาน 
4. ทักษะที่จาเป็นต่องานอาชีพ
6 
4.1.3 การปฏิบัติงาน คือ การให้ผู้เรียนได้ทางานตามลาดับขั้นตอนที่วางแผนไว้ ฝึกให้มี ลักษณะนิสัยที่ดีในการทางาน โดยเริ่มจากการนาหลัก 5 ส. มาใช้ในกระบวนการทางาน การใช้ คุณธรรม จริยธรรม การสร้างสัมพันธภาพในการทางาน เช่น พูดจาสุภาพ เหมาะสม มีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ขยัน อดทนซื่อสัตย์ ฯลฯ และสามารถตรวจสอบการทางาน ของตนเป็นระยะ 
4.1.4 การประเมินผลการทางาน คือ การประเมินผลทั้งการวางแผนก่อนการทางาน ขณะ ปฏิบัติงาน และเมื่องานสาเร็จแล้ว โดยขั้นตอนในการวางแผนก่อนการทางาน ให้ประเมินว่าได้ วางแผนไว้รอบคอบรัดกุมหรือไม่ จะต้องเตรียมอะไรบ้าง ตรวจสอบดูแผน ที่วางไว้ว่าเป็นไปได้ หรือไม่ ขณะปฏิบัติให้ประเมินว่าวิธีการทางานเป็นอย่างไรบ้าง มีข้อบกพร่องที่จะต้องปรับปรุง อย่างไร และเมื่องานสาเร็จให้ประเมินว่าผลงานที่ออกมาเป็นไปตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ มีข้อดี ข้อเสียอย่างไร เพื่อจะได้แก้ไขและปรับปรุงผลงานของตนให้ดีขึ้น 
กรมวิชาการ (2544 : 163) อธิบายว่า ทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่น หมายถึง ทางานเป็น กลุ่ม สามารถทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ทางาน อย่างมี กระบวนการทางานและฝึกในการทางานกลุ่มดังนี้ 
4.2.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ภายในกลุ่ม เป็นการให้ผู้เรียนรู้จักการทางานร่วมกัน รู้จักบทบาท หน้าที่ที่ตนเอง ต้องรับผิดชอบ ฝึกความเป็นผู้นา ผู้ตาม โดยหมุนเวียนสับเปลี่ยนบทบาทหน้าที่กัน ไปตามความเหมาะสม 4.2.2 มีทักษะในการฟัง การพูด การแสดงความคิดเห็น และการอภิปรายในกลุ่ม 4.2.3 มีคุณธรรมในการทางานร่วมกัน เป็นการสร้างให้ผู้เรียนสามารถทางานและอยู่ ร่วมกันในสังคม ได้อย่างมีความสุข ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง คุณธรรมที่สาคัญที่ควรฝึกฝนได้แก่ ความรับผิดชอบในการทางาน ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่สมาชิกในกลุ่ม การไม่เอาเปรียบผู้อื่น ฯลฯ 
4.2 ทักษะกระบวนการทางานร่วมกับผู้อื่น
7 
4.2.4 สรุปผลโดยการจัดทารายงาน เป็นการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักสรุปผลและฝึกให้เขียน รายงาน จากการปฏิบัติ เพื่อนาเสนอหน้าชั้นเรียนหรือส่งครูผู้สอน 4.2.5 นาเสนอรายงาน เป็นการนาผลการปฏิบัติงานกลุ่มรายงานหน้าชั้นเรียนหรือจัด นิทรรศการเป็นต้น 
กรมวิชาการ (2544 : 164) เสนอว่า กระบวนการทางานกลุ่ม มีขั้นตอนดังนี้ 4.3.1 การเลือกหัวหน้ากลุ่ม โดยการลงคะแนนเสียงด้วยเหตุผลและการหมุนเวียน ผลัดเปลี่ยนกันในการทางาน ในแต่ละครั้ง 4.3.2 การกาหนดเป้าหมาย ให้ตกลงกันว่าเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการทางาน คือ อะไร อยู่ที่ใด 4.3.3 การวางแผนการทางาน มีการร่วมกันวางแผนว่าจะทาอะไรบ้าง ทาอะไรก่อนหลังจะ ทางานกันอย่างไร 4.3.4 แบ่งงานกันทาตามความสามารถและความถนัดของแต่ละคน 4.3.5 ลงมือปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่ และขั้นตอนการปฏิบัติงานตามที่วางแผนไว้ 4.3.6 ประเมินผลและปรับปรุงการทางาน งานที่ทามีผลงานอะไร มีข้อดี ข้อเสียอย่างไร มีขั้นตอนการทางานอย่างไร จะปรับปรุงการทางานอย่างไร 
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาเป็นกระบวนการที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เกิดความคิดวิธีการ แก้ปัญหาต่าง ๆ (กรมวิชาการ. 2544 : 164) เสนอว่าควรมีขั้นตอนดังนี้ 4.4.1 สังเกต ผู้เรียนศึกษาข้อมูล รับรู้ และทาความเข้าใจในปัญหานั้นและเลือกแก้ปัญหาที่ สาคัญ 
4.4 ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา 
4.3 ทักษะกระบวนการทางานกลุ่ม
8 
4.4.2 วิเคราะห์ ผู้เรียนจัดลาดับข้อมูล หาความสาคัญและสาเหตุของแต่ละปัญหาและ เหมาะสม 4.4.3 สร้างทางเลือก เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสวงหาทางเลือกในการแก้ปัญหาอย่าง หลากหลายซึ่งอาจมีการทดลอง ค้นคว้า ตรวจสอบ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบ กรณีที่ผู้เรียนทา กิจกรรมกลุ่มควรกาหนดหน้าที่ในการทางาน 4.4.4 ประเมินทางเลือก พิจารณาข้อมูลทางเลือกต่าง ๆ แล้วประเมินทางเลือก ผู้เรียนต้อง วางแผนปฏิบัติงาน เพื่อรายงาน และตรวจสอบความถูกต้องของทางเลือกนอกจากทักษะที่เป็น พื้นฐานในการทางานโดยทั่วไปแล้ว ผู้ที่จะสามารถทางานช่างอย่าง มีประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธิ์ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ ผู้ทางานช่างยังต้องมีทักษะดังต่อไปนี้ 
ทักษะการแสวงหาความรู้ คือ การค้นคว้าหาความรู้ และสามารถสร้างความรู้ใหม่เพิ่มเติม 
ได้อาจมาจากการคิด การศึกษา การทดลอง การค้นคว้า หรือปฏิบัติด้วยตนเอง แล้วนามาวิเคราะห์ เพื่อให้เกิดความรู้ใหม่ ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้เดิมที่มีอยู่ โดยการศึกษาค้นคว้านั้น ไม่จากัดว่าจะมา จากแหล่งความรู้ใด อาจเป็นความรู้ในห้องเรียน ความรู้ตามป้ายสถานที่ต่าง ๆ ไปจนสื่ออื่น ๆและ การสืบค้นข้อมูลทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น เราสามารถฝึกฝนทักษะการแสวงหาความรู้ได้ โดยเริ่มจากความสนใจ หรือความต้องการของตนเอง แล้วอาจปรึกษาหรือขอความช่วยเหลือจาก บุคคลอื่น ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สนใจหรือต้องการทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองสามารถ ฝึกฝนได้จากการปฏิบัติต่อไปนี้ 
4.5.1 กาหนดปัญหาในการสืบค้นข้อมูลความรู้ คือการตั้งหัวข้อ ตั้งประเด็นในการศึกษา ค้นคว้า กาหนดขอบเขตของหัวข้อหรือประเด็นที่ต้องการจะค้นคว้า พยายามอธิบายและแสดงความ คิดเห็นต่อหัวข้อที่ต้องการจะสืบค้นข้อมูลความรู้ 
4.5.2 การวางแผนในการสืบค้นข้อมูลความรู้ คือ เมื่อคิดหาหัวข้อหรือประเด็นที่เรา ต้องการจะสืบค้นได้แล้ว ควรวางแผน กาหนดเป้าหมายว่าจะสืบค้นข้อมูลความรู้จากที่ใด อย่างไร 
4.5.3 การดาเนินการสืบค้นข้อมูลความรู้ตามแผนที่กาหนดไว้ คือ การดาเนินการสืบค้น ข้อมูลความรู้ในหัวข้อที่ต้องการ ตามแผนงานที่วางไว้ 
4.5 ทักษะการแสวงหาความรู้
9 
4.5.4 การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสืบค้นความรู้ คือ การนาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้ค้นหา หรือได้ รับมา มาพิจารณาอย่างละเอียดถึงองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของข้อมูล รวมไปถึงการจาแนก จัดกลุ่ม และจัดลาดับข้อมูล 
4.5.5 การสรุปผลจากการสืบค้นความรู้และบันทึกและการบันทึกจัดเก็บ เมื่อวิเคราะห์ ข้อมูลต่าง ๆ ได้ออกมาตามขอบเขตของหัวข้อที่กาหนดไว้ตั้งแต่เริ่มต้น ควรบันทึกจัดเก็บข้อมูลที่ รวบรวมมาได้ต่าง ๆ ในรูปแบบที่ง่ายต่อการค้นหา เช่น จัดเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ หรือสื่อบันทึก ข้อมูลชนิดต่าง ๆจดบันทึกไว้ในสมุด ถ่ายสาเนาเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ม เป็นต้น 
ทักษะการจัดการ หมายถึง ความสามารถของบุคคลหนึ่งที่สามารถจะจัดระบบงาน และ ระบบตนให้ทางานให้สาเร็จตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนการ วางแผนงานการจัดองค์กร การจัดหาคน การแบ่งหน้าที่ปฏิบัติงาน การควบคุมการปฏิบัติงานให้ เป็นไปตามที่กาหนด ไปจนถึงการติดตามและประเมินผล ทักษะการจัดการแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ 
4.6.1 การจัดการระบบงาน (การทางานเดี่ยว) โดยสามารถจัดสรรเวลาการทางานให้เป็น ระบบ ปฏิบัติงานตามกฎระเบียบแบบแผน และขั้นตอนต่างๆ รวมไปถึงการเป็นผู้ที่มองทางไกล ฉลาด มีไหวพริบ รอบรู้ ทันคน ทันเหตุการณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ ความกระตือรือร้น ในการแสวงหาข้อเท็จจริง มีความมุมานะที่จะปฏิบัติงานให้สาเร็จตามเป้าหมาย รู้จักปรับตัวให้เข้า กับสภาพแวดล้อมที่แปลกใหม่อยู่เสมอ 
4.6.2 การจัดการระบบคน (การทางานกลุ่ม) โดยมีความสามารถในการคัดเลือกคนเข้าทา 
งานแบ่งปัน จัดสรรคนให้เหมาะสมกับงาน มีความสามารถในการสร้างบรรยากาศในการทางาน สามารถชักจูงเพื่อนร่วมงานให้มีเป้าหมายเดียวกัน ร่วมมือ ร่วมใจกันทางานจนสาเร็จ รวมถึงการ เป็นคนที่มีมนุษยสัมพันธ์ มีความขยัน อดทน ซื่อสัตย์และยุติธรรม เพื่อให้เพื่อนร่วมงานเกิดความ พอใจ และเสมอภาค ยินดีที่จะทางานด้วยความเต็มใจ 
4.6 ทักษะการจัดการ
10 
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยีนั้น เป็นทักษะและความรู้ที่จาเป็นที่จะต้อง ฝึกฝนและเรียนรู้ เพื่อให้มีสามารถปฏิบัติตนเพื่อรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีใน กระแสโลกาภิวัฒน์ ซึ่งจาเป็นต้องมี 
4.7.1 ความรู้พื้นฐานด้านสารสนเทศ คือ สามารถพัฒนา จัดเก็บ สืบค้น และแพร่กระจาย สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการทางานและดาเนินชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.7.2 ความรู้พื้นฐานด้านสื่อ มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการใช้สื่อ ซึ่งมีอยู่มากมาย ในโลกปัจจุบัน และจะเพิ่มมากขึ้นในโลกอนาคต ต้องรู้เท่าทันทันสื่อ และใช้สื่อเป็นเครื่องมือใน การปฏิบัติงานได้ 4.7.3 ความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นทักษะที่สาคัญ ที่จะต้องมี ความสามารถในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบการสื่อสาร อย่างถูกต้อง และอย่างชาญฉลาด 
เป็นทักษะใหม่ที่ความสาคัญในการดารงชีวิตอย่างมีความสุข ซึ่งประกอบด้วย 
4.8.1 ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว คือ สามารถยืดหยุ่นและปรับตัวได้ใน ทุกสถานการณ์ ไม่ว่าจะเป็นการปฏิบัติงาน หรือ ชีวิตประจาวัน 
4.8.2 ความริเริ่มและการชี้นาตนเอง เป็นสิ่งที่มีความสาคัญเนื่องจากเป็นทักษะที่ต้องพัฒนา ให้ตัวเราสามารถดาเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้อง ไม่ดาเนินชีวิตผิดธรรมนองคลองธรรม หรือ จริยธรรม รวมถึงกฎหมาย 
4.8.3 ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม เนื่องจากในอนาคตการทางานมิได้อยู่ เพียงแต่ภายในประเทศเท่านั้น แต่การทางานในอนาคตจะเปิดกว้างมากทั้งในระดับภูมิภาคอาเซียน และระดับโลก ดังนั้นจาเป็นที่จะต้องมีการฝึกฝนทักษะทางสังคม และการเรียนรู้และทางานข้าม วัฒนธรรมของต่างประเทศได้ 
4.8.4 การเพิ่มผลผลิตและความรู้รับผิด คือ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มผลผลิต ให้กับองค์กร รวมถึงการรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้ทาขึ้น 
4.7 ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 
4.8 ทักษะชีวิตและการทางาน
11 
4.8.5 ความเป็นผู้นาและความรับผิดชอบ ประการสุดท้ายคือ จะต้องฝึกความเป็นผู้นาและมี ความรับชอบต่อหน้าที่ของตนเองที่ได้รับมอบหมาย และความรับผิดชอบต่อสังคม 
คุณลักษณะผู้ทางานช่างที่ดี จะต้องเป็นคนดีมากกว่าคนเก่ง ได้แก่ มีความขยันอดทน ซื่อสัตย์สุจริตประหยัด มีวินัย มีความรับผิดชอบมีบุคลิกภาพดี ตรงต่อเวลา มีความคิดสร้างสรรค์ มี ความกระตือรือร้น มีความปลอดภัยและเชื่อมั่นในพลังความคิด เป็นต้น และคุณลักษณะด้านความรู้ และทักษะวิชาชีพ จะต้องมีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานในหน้าที่ตามสายงาน และงานที่ เกี่ยวข้องด้วยความชานาญ มีทักษะ คานึงถึงปลอดภัยมีประสบการณ์ในงาน นอกจากนี้ต้องเป็นผู้ที่ แสวงหาความรู้ที่ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งมีมี การพัฒนาตนเอง 
ในการทางานผู้ปฏิบัติงานต้องมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม เพื่อให้สามารถปฏิบัติงาน ร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี และงานประสบความสาเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ 
คุณธรรม เป็นหลักของความดี ความงาม ความถูกต้องในการแสดงออกทั้งกาย วาจา ใจ ของแต่ละบุคคลที่ยึดมั่นไว้เป็นหลักประจาใจในการประพฤติปฏิบัติตนจนเกิดเป็นนิสัยซึ่งส่งผลให้ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข 
จริยธรรม เป็นการประพฤติปฏิบัติของบุคคลที่แสดงออกถึงความดีงามทั้งต่อตนเอง ต่อ ผู้อื่น และต่อสังคม เพื่อให้เกิดความสงบสุข ความเจริญรุ่งเรืองเป็นประโยชน์ต่อสังคมและการ พัฒนาประเทศชาติ 
ค่านิยม เป็นสิ่งที่สังคมถือว่ามีค่าพึงปราถนาต้องการให้เป็นเป้าหมายของสังคมและ ปลูกฝังให้สมาชิกของสังคมยึดถือเป็นเป้าหมายในการดาเนินชีวิตควรหลีกเลี่ยง เช่น ความยากจน สิ่งมีคุณค่า น่าปราถนา หรือนาความสุขมาให้มีทั้งเป็นวัตถุและไม่เป็นวัตถุ 
กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศนโยบายเร่งด่วนเรื่อง เร่งรัดการปฏิรูปการศึกษา โดยยึดหลัก คุณธรรมนาความรู้ เพื่อสร้างความตระหนัก สานึกในคุณค่าของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความ สมานฉันท์ สันติวิธี วิถีประชาธิปไตย เพื่อพัฒนาคนโดยใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของกระบวนการ เรียนรู้ที่เชื่อมโยง ความร่วมมือของสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบัน ศาสนาและสถาบันการศึกษา โดยมีจุดเน้นเพื่อพัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดี มีความรู้ และอยู่ดีมีสุข ดังนั้น เพื่อให้การขับเคลื่อน 
5. คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการทางาน 
สรุป
12 
ดังกล่าวมีความชัดเจน เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม 8 คุณธรรมพื้นฐาน ที่ควรเร่งปลูกฝัง ประกอบด้วย 
ความหมายของคาว่า ขยัน คือ ความตั้งใจเพียรพยายามทาหน้าที่การงานอย่าง ต่อเนื่อง สม่าเสมอ อดทนไม่ท้อถอยเมื่อพบอุปสรรค ความขยันต้องปฏิบัติควบคู่กับการใช้ สติปัญญา แก้ปัญหาจนเกิดผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย 
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความขยัน คือ ผู้ที่ตั้งใจทาอย่างจริงจังต่อเนื่องในเรื่องที่ถูก ที่ควรผู้ที่เป็นคนสู้งาน มีความพยายาม ไม่ท้อถอย กล้าเผชิญอุปสรรค รักงานที่ทา ตั้งใจทาหน้าที่ อย่างจริงจัง 
ความหมายของคาว่า ประหยัด คือ การรู้จักเก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สิน สิ่งของแต่พอควร พอประมาณ ให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย ฟุ้งเฟ้อ 
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความประหยัด คือ ผู้ที่ดาเนินชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย รู้จักฐานะการเงินของตน คิดก่อนใช้คิดก่อนซื้อ เก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สินสิ่งของอย่างคุ้มค่า รู้จัก ทาบัญชีรายรับ-รายจ่ายของตนเองอยู่เสมอ 
ความหมายของคาว่า ความซื่อสัตย์ คือ ประพฤติตรงไม่เอนเอียงไม่มีเล่ห์เหลี่ยมมีความ จริงใจ ปลอดจากความรู้สึกลาเอียงหรืออคติ 
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความซื่อสัตย์ คือ ผู้ที่มีความประพฤติตรงทั้งต่อหน้าที่ ต่อ วิชาชีพ ตรงต่อเวลา ไม่ใช้เล่ห์กล คดโกงทั้งทางตรงและทางอ้อม รับรู้หน้าที่ของตนเองและปฏิบัติ อย่างเต็มที่ถูกต้อง 
5.1 ขยัน 
5.2 ประหยัด 
5.3 ความซื่อสัตย์
13 
ความหมายของคาว่า มีวินัย คือ การยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับและข้อปฏิบัติ ซึ่ง มีทั้งวินัยในตนเองและวินัยต่อสังคม 
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีวินัย คือ ผู้ที่ปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของ สถานศึกษา สถาบัน/องค์กร/สังคมและประเทศ โดยที่ตนเองยินดีปฏิบัติตามอย่างเต็มใจและตั้งใจ 
ความหมายของคาว่า สุภาพ คือ เรียบร้อย อ่อนโยน ละมุนละม่อม มีกิริยามารยาทที่ดีงาม มี สัมมาคารวะ 
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความสุภาพ คือ ผู้ที่อ่อนน้อมถ่อมตนตามสถานภาพและ กาลเทศะ ไม่ก้าวร้าว รุนแรง วางอานาจข่มผู้อื่นทั้งโดยวาจาและท่าทาง แต่ในเวลาเดียวกันยังคงมี ความมั่นใจในตนเอง เป็นผู้ที่มีมารยาท วางตนเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย 
ความหมายของคาว่า สะอาด คือ ปราศจากความมัวหมองทั้งกาย ใจ และสภาพแวดล้อม ความผ่องใสเป็นที่เจริญตาทาให้เกิดความสบายใจแก่ผู้พบเห็น 
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่ความสะอาด คือ ผู้รักษาร่างกาย ที่อยู่อาศัยสิ่งแวดล้อม ถูกต้องตามสุขลักษณะ ฝึกฝนจิตใจมิให้ขุ่นมัว จึงมีความแจ่มใสอยู่เสมอ 
ความหมายของคาว่า สามัคคี คือ ความพร้อมเพียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดอง กัน ร่วมใจกันปฏิบัติงานให้บรรลุ ผลตามที่ต้องการเกิดงานการอย่างสร้างสรรค์ปราศจากการ ทะเลาะวิวาท ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกต่าง หลากหลายทางความคิด ความหลากหลายในเรื่องเชื้อชาติ ความกลมเกลียวกันในลักษณะเช่นนี้ เรียกอีกอย่างว่า ความสมานฉันท์ 
5.4 มีวินัย 
5.5 สุภาพ 
5.6 สะอาด 
5.7 สามัคคี
14 
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความสามัคคี คือ ผู้ที่เปิดใจกว้างรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อื่น รู้บทบาทของตนทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามที่ดี มีความมุ่งมั่นต่อการรวมพลัง ช่วยเหลือเกื้อกูล กันเพื่อให้การงานสาเร็จลุล่วง แก้ปัญหาและขจัดความขัดแย้งได้ เป็นผู้มีเหตุผล ยอมรับความ แตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม ความคิด ความเชื่อ พร้อมที่จะปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ 
ความหมายของคาว่า มีน้าใจ คือ ความจริงใจที่ไม่เห็นแก่เพียงตัวเองหรือเรื่องของตัวเอง แต่เห็นอก เห็นใจเห็นคุณค่าในเพื่อน มนุษย์ มีความเอื้ออาทรเอาใจใส่ ให้ความสนใจในความต้องการ ความ จาเป็น ความทุกข์สุขของผู้อื่น และพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน 
ความหมายของคาว่า มีน้าใจ คือ ความจริงใจที่ไม่เห็นแก่เพียงตัวเองหรือเรื่องของตัวเอง แต่เห็นอกเห็นใจเห็นคุณค่าในเพื่อน มนุษย์ มีความเอื้ออาทรเอาใจใส่ ให้ความสนใจในความ ต้องการ ความจาเป็น ความทุกข์สุขของผู้อื่น และพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน 
คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีน้าใจ คือ ผู้ให้และผู้อาสาช่วยเหลือสังคม รู้จักแบ่งปัน เสียสละความสุขส่วนตน เพื่อทาประโยชน์แก่ผู้อื่นเข้าใจ เห็นใจ ผู้ที่มีความเดือดร้อน อาสา ช่วยเหลือสังคมด้วยแรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบัติการเพื่อบรรเทาปัญหา หรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งดี งามให้เกิดขึ้นในชุมชน 
ในการปฏิบัติงานต่างๆ จาเป็นต้องใช้ทรัพยากร เพื่อนามาผลิตเป็นสินค้าและบริการ 
ทรัพยากรที่สาคัญในการปฏิบัติงาน แบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้ 
1. ทรัพยากรบุคคล หรือทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งหมายถึง บุคคลที่มีส่วนร่วมในการ 
ปฏิบัติงานทุกคน 
2. ทรัพยากรด้านวัตถุดิบ เครื่องมือ เทคโนโลยีหรือสิ่งอานวยความสะดวกและสนับสนุน 
ให้การทางานมีประสิทธิภาพ 
5.8 มีน้าใจ มัคคี 
6. การใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงาน
15 
ทรัพยากรมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ แต่จากการเพิ่มขึ้นของประชากร มนุษย์อย่างรวดเร็ว ทาให้ความต้องการในการใช้ทรัพยากรเพิ่มขึ้นในรูปแบบต่างๆ เช่น ใช้เป็น วัตถุดิบ ใช้เป็นสถานที่ เป็นต้น ซึ่งอาจทาให้ทรัพยากรหมดไปและส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมตามมา จึงควรมีแนวทางในการอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการใช้หลัก 7R ดังนี้ 
1. การปฏิเสธการใช้ (R1 – Reject) คือ การรู้จักปฏิเสธหรือการงดใช้สิ่งของที่ทาให้ 
สิ้นเปลืองทรัพยากร 
2. การนาของใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ (R2 – Reuse) คือ การดัดแปลงของที่ใช้แล้วเพื่อ 
นากลับมาใช้ใหม่ จะช่วยลดการใช้ทรัพยากรได้มาก 
3. การใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด (R3 – Reduce) คือ การใช้สิ่งของต่างๆ ให้คุ้มค่าจะ 
ช่วยลดปริมาณความต้องการทรัพยากรโดยไม่ต้องจัดหาสิ่งใหม่มาใช้ 
4. การซ่อมแซมฟื้นฟู (R4 – Repair) คือ การซ่อมแซมฟื้นฟูสิ่งของเครื่องใช้ที่เก่าหรือ 
ชารุดให้สามารถใช้งานได้ จะช่วยยืดอายุการใช้งานและลดอัตราการใช้ทรัยากรได้ 
5. การนาไปผลิตขึ้นใหม่ (R5 – Recycle) คือ การนาเอาของที่ใช้แล้วไปผ่าน 
กระบวนการผลิตเป็นวัตถุตั้งต้นใหม่ จะช่วยประหยัดทรัพยากรได้ 
6. การถนอมรักษา (R6 – Recovery) คือ การเก็บรักษาสิ่งของเครื่องใช้สาหรับใช้ใน 
โอกาสต่อไปได้อีก 
7. การเสริมแต่งของเก่า (R7 – Renewal) คือ การเสริมแต่งของที่มีอยู่หรือของที่ใช้แล้ว 
ให้สมบูรณ์ จะทาให้ใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น 
การนาหลัก 7R มาใช้ในชีวิตประจาวันนอกจากจะไม่ทาให้สิ้นเปลืองทรัพยากรธรรมชาติ ในการผลิตสินค้าใหม่แล้ว ยังเป็นการช่วยภาวะโลกร้อนจากการลดใช้พลังงานและการใช้ทรัพยากร และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายของตนเองได้อีกด้วย 
6.1 แนวทางการใช้ทรัพยากร
16 
ทุกวันนี้มนุษย์เริ่มตระหนักถึงปัญหาของทรัพยากรที่เริ่มจะหมดไปเนื่องจากการใช้ ทรัพยากรเหล่านั้นอย่างฟุ่มเฟือย ไม่ประหยัด ดังนั้น จึงควรมีการวางแผนการใช้ทรัพยากรให้เกิด ประโยชน์ และคุ้มค่ามากที่สุด ดังนี้ 
1. ใช้ทรัพยากรให้ถูกวัตถุประสงค์และประโยชน์การใช้สอย เช่น น้าเพื่อการเพาะปลูกก็ 
ควรใช้ในการเพาะปลูก ไม่ควรนาน้าสะอาดที่ใช้ดื่มไปล้างภาชนะ ไม่ใช้ลาน้าสาธารณะเป็นทางทิ้ง น้าเสียจากครัวเรือนหรือโรงงาน เป็นต้น 
2. เลือกใช้ทรัพยากรให้มีสัดส่วนที่เหมาะสม เช่น การเพาะปลูกต้องตัดสินใจในการใช้ 
น้าและที่ดินอย่างประหยัด ไม่ใช้น้าเกินความจาเป็น ไม่ทิ้งที่ดินให้ว่างเปล่า เป็นต้น 
3. วางแผนอย่างดีก่อนเริ่มการผลิตชิ้นงาน โดยการศึกษาข้อมูลต่างๆ เช่น เครื่องมือ 
วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ วิธีการผลิต เงินทุน ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในการผลิตและแนวทางแก้ไข เพื่อลด การสูญเสียที่จะเกิดขึ้นในการผลิตชิ้นงานนั้น 
4. นาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยในการผลิต การนาเทคนิคและเครื่องจักรมาช่วยจะช่วย 
ลดการสูญเสียและทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
5. แสวงหาทรัพยากรทดแทนหรือนากลับมาใช้ใหม่ เช่น การนาโต๊ะ เก้าอี้ที่ชารุดมา 
ซ่อมแซม เป็นต้น 
6.2การวางแผนการใช้ทรัพยากร
17 
ใบความรู้ที่ 2 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 งานช่างพื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต 
เรื่อง ความรู้เบ้องต้นเกี่ยวกับงานช่าง 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานช่าง 
การดารงชีวิตในยุคปัจจุบันทุกครอบครัวมีสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆที่คอยอานวยความสะดวก ในการดาเนินชีวิตในแต่ละวัน โดยผู้ใช้จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการใช้สิ่งอานวยความสะดวก เหล่านั้นได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย เช่น การใช้และการบารุงรักษา การดัดแปลง การซ่อมแซม การประกอบและการติดตั้ง หรือการสร้างและผลิตชิ้นงานขึ้นมาใช้เอง ก็จาเป็นต้องมีทักษะทางงาน ช่างแต่ละประเภทของงานช่าง 
ดังนั้นงานช่างจึงมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์จึงจาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับ งานช่างเพื่อที่จะสามารถใช้ทักษะในงานช่างมาดูแลรักษาเครื่องใช้ภายในบ้านต่างๆให้ได้ในระยะ ยาวนั้นจาเป็นต้องรู้จักวิธีการบารุงรักษาหรือดัดแปลงเครื่องอานวยความสะดวกเหล่านั้น เพื่อช่วย ประหยัดค่าใช้จ่าย รวมทั้งเพื่อให้มีรูปแบบหรือวิธีการใช้ที่แปลกใหม่อีกด้วย ดังนั้นงานช่างจึงเข้า มามีบทบาทในการซ่อมแซมและดัดแปลงเครื่องอานวยความสะดวกต่างๆ 
ความหมาย และความสาคัญของงานช่าง 
ช่าง หมายถึง ผู้ชานาญในการฝีมือ หรือศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง 
งานช่าง หมายถึง การทางานหรือสิ่งที่เกิดจากการทางานของช่าง ซึ่งมีหลายประเภท 
หลายสาขาผู้เป็นช่างจึงมักมีคาต่อท้ายเพื่อบอกประเภทหรือสาขาของงานที่ทา เช่น ช่างไฟฟ้า 
ช่างประปา ช่างไม้ ช่างปูน ช่างโลหะ ช่างเขียน ช่างผม ช่างเสริมสวย เป็นต้น 
งานช่าง หมายถึง การนาความรู้พื้นฐานของวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการทางาน ตลอดจน กระบวนการทางเทคโนโลยี ทรัพยากร พลังงาน และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการบารุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้งและผลิตเครื่องมือ เครื่องใช้โดยมีการวิเคราะห์ ออกแบบ วางแผน และลงมือปฏิบัติอย่างเป็น
18 
ระบบ อีกทั้งมีการประเมินและปรับปรุงกระบวนการทางานเพื่อให้ได้ผลงานอย่างสร้างสรรค์และ สามารถนาไปใช้ชีวิตประจาวัน 
ช่างที่ดีนอกจากจะมีความรู้ในงานของตนแล้ว ยังต้องมีฝีมือหรือศิลปะในการทางานด้วย ความรู้เกี่ยวกับงานช่างอาจได้จากการบอกเล่าสืบต่อกันมา หรือจากการศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม ประสบการณ์ในการทางานของช่าง นอกจากจะสร้างเสริมความรู้ของช่างแล้วยังช่วย ให้มีความชานาญในฝีมือการทางาน 
สามารถสรุปได้ว่า งานช่างพื้นฐาน หมายถึง งานช่างเบื้องต้นที่ทุกคนสามารถทาได้ด้วย ตนเอง งานช่างพื้นฐานส่วนใหญ่จึงเป็นงานเกี่ยวกับงานซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของเครื่อง ใช้ในบ้านที่ ชารุดเสียหาย เล็ก ๆ น้อย ๆ หรือสร้างสิ่งของเครื่องใช้ง่าย ๆ ไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อนมากนัก เช่น การเดินสายไฟฟ้าในบ้าน การเดินสายโทรศัพท์ การเปลี่ยนก๊อกน้า การต่อท่อประปา การ ซ่อมแซมโต๊ะ เก้าอี้ รั้ว กันสาด ผนังและถนนหรือทางเดินเท้าภายในบ้าน เป็นต้น 
ประโยชน์ของงานช่างพื้นฐาน 
งานช่างพื้นฐานจัดเป็นงานช่างที่เน้นหนักในด้านความเป็นอยู่โดยเฉพาะ อาคาร บ้านเรือน เครื่องมือเครื่องใช้ ภายในบ้าน การซ่อมแซม ดัดแปลง การบารุงรักษา ได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม ส่งผลให้มีอายุในการใช้งานได้ยาวนาน ทาให้ประหยัดและเป็นการฝึกนิสัยที่ดีแก่สมาชิก ในครอบครัว และเป็นพื้นฐานของการค้นพบความสามารถ ความถนัดและสนใจเพื่อให้เกิดการ ตัดสินใจเลือกเรียนในระดับต่อไป 
สุรพงษ์ ศรีวินิจ (2547 : 3) ได้สรุปประโยชน์ของงานช่างพื้นฐาน ไว้ 2 ด้าน คือ ประโยชน์โดยตรง ที่เห็นได้ชัดเจนจากการมีความรู้ในเรื่องงานช่างพื้นฐาน คือ การ ประหยัดค่าใช้จ่ายที่จะต้องจ้างช่างอาชีพแล้วยังประหยัดเวลา ไม้ต้องเสียเวลารอคอยกว่าจะหาช่าง อาชีพได้ หรือแม้จะว่าจ้างช่างอาชีพก็สมารถตรวจ ควบคุมดูแลการทางานได้ 
ประโยชน์ทางอ้อม เช่น การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ การซ่อมหรือสร้างสิ่งของ เครื่องใช้ ก่อให้เกิดความเพลิดเพลิน สนุกสนาน ในการทางานเช่นเดียวกับการทางานอดิเรกอื่นๆ นอกจากนั้นผลของการทางานยังทาให้เกิดความรู้ ความชานาญจนอาจพัฒนาความสามารถนาไปสู่ ช่างอาชีพอีกด้วย แม้ไม่ต้องทาเป็นอาชีพโดยตรง ก็อาจทาเป็นอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้แก่ ครอบครัวได้เป็นอย่างดี
19 
คุณค่าและประโยชน์งานช่างต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ มีดังนี้ 
1. ช่วยให้เกิดการพัฒนาความรู้พื้นฐานและทักษะทางงานช่าง เพื่อเป็นแนวทางใน การศึกษาต่อ หรือประกอบอาชีพ เช่น ช่างไม้ ช่างปูน ช่างไฟฟ้า ช่างเชื่อมโลหะ เป็นต้น 
2. ช่วยส่งเสริมให้เกิดการประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรมและการปรับปรุง ซ่อมแซม ดัดแปลง แก้ไขของเก่าให้ใช้งานได้ เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในครอบครัวได้เป็นอย่างดี 
3. ช่วยส่งเสริมให้เกิดการทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ มีความรับผิดชอบในหน้าที่ ปฏิบัติงานด้วยความคล่องตัว และมีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพช่าง 
4. ช่วยส่งเสริมสิ่งแวดล้อม โดยการแปรสภาพสิ่งของที่ไม่ใช้ประโยชน์แล้วนามา สร้างสรรค์เป็นสิ่งของใหม่ ๆ 
5. มีส่วนช่วยส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดยเฉพาะการปลูกฝังให้เป็นผู้มีความอดทน ขยันขันแข็ง มีความซื่อสัตย์สุจริต เป็นตัวอย่างที่ดีของสังคมต่อไป 
งานช่างและลักษณะของงานช่าง งานช่างจาแนกตามลักษณะงาน ได้ ดังนี้ 
1. งานเขียนแบบ 
เป็นการถ่ายทอดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ของวิศวกรหรือนักออกแบบ ให้ออกมาเป็นรูปเป็นร่างบนกระดาษ รูปร่างที่เกิดขึ้นจากการลากเส้นหลาย ๆ อย่าง เช่น เส้นดิ่ง เส้นโค้ง เส้นเอียง เส้นนอน มาประกอบกันเกิดเป็นรูปร่างเรียกว่า แบบ หรือ แบบงาน สามารถ นาไปสร้างผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น สิ่งของอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องจักรต่าง ๆ เป็นต้น 
งานเขียนแบบจาแนกตามลักษณะของงานได้ 2 ประเภท คือ 
1.1 งานเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม เช่น อาคารที่พักอาศัย อาคารสาธารณะ โบราณสถาน ฯลฯ ดังรูปที่ 1.1 
1.2 งานเขียนแบบทางวิศวกรรม เช่น แบบไฟฟ้า แบบงานโลหะ แบบเครื่องยนต์ ฯลฯ ดังรูปที่ 1.2
20 
รูปที่1.1 งานเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม 
ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555) 
รูปที่ 1.2 งานเขียนแบบทางวิศวกรรม 
ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555)
21 
2. งานไฟฟ้า 
ในสภาพความเจริญของโลกยุคปัจจุบัน มีผลทาให้การดาเนินชีวิตประจาวันของมนุษย์ 
ต้องเกี่ยวข้องกับของใช้ที่เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า เพราะเครื่องใช้ไฟฟ้าให้ความสะดวก ความสุขสบาย อย่างไรก็ตาม หากใช้ไม่เป็นหรือใช้ไม่ถูกต้อง ก็ย่อมมีโทษเช่นกัน การใช้จึงต้องคานึงถึงเรื่อง ความปลอดภัย ความประหยัดและอายุการใช้งาน งานไฟฟ้าที่เป็นงานที่ต้องใช้ความรู้ ทักษะ และ ประสบการณ์ของการนาเอาพลังงานไฟฟ้ามาใช้ ในลักษณะของการเปลี่ยนเป็นรูปอื่น ๆ เช่น แสงสว่าง ความร้อน พลังงานกล งานไฟฟ้าในงานช่างพื้นฐาน สามารถปฏิบัติได้ทั้งชายและหญิง เพราะเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน ซึ่งจะต้องรู้จักเครื่องมือเครื่องใช้ วิธีใช้ การเก็บ บารุงรักษา ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ สามารถจัดหาและนามาใช้ได้อย่างประหยัดและปลอดภัย 
งานไฟฟ้าจาแนกตามลักษณะของงานได้ 2 ประเภท ดังนี้ 
2.1 งานไฟฟ้ากาลัง เช่น งานเดินสายไฟฟ้าภายนอกและภายในอาคาร งานควบคุม เครื่องกลไฟฟ้า 
2.2 งานอิเล็กทรอนิกส์ เช่น งานวิทยุ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เป็นต้น ดังภาพที่ 1.3 
รูปที่1.3 งานเดินสายไฟฟ้า 
ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555)
22 
3. งานช่างยนต์ 
เป็นงานที่ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถในการซ่อมแซมและบารุงรักษายานยนต์ ดังนั้น 
จึงต้องมีการเรียนรู้ในเรื่องของเครื่องยนต์เป็นหลัก ในปัจจุบันยานยนต์ที่นิยมใช้ได้แก่ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายในการใช้งานและการดูแลรักษามาก การยืดอายุการใช้งาน การ ดูแลตรวจเช็คจะช่วยลดค่าใช้จ่ายและอุบัติเหตุจากการใช้งานของเครื่องยนต์ได้งานช่างยนต์สามารถ จาแนกตามลักษณะงานได้ 3 ประเภท ดังนี้ 
3.1 การใช้งานและการควบคุมเครื่องยนต์ เช่น การขับขี่รถยนต์ 
3.2 การบริการตรวจซ่อม ปรับแต่ง เช่น การเปลี่ยนชิ้นส่วนที่ชารุดสึกหรอหมดอายุ การใช้งานปรับอัตราเร็วเดินเบาของเครื่องยนต์ ให้มีสภาพสมบูรณ์ในการใช้งานเป็นต้น 
3.3 การบารุงรักษาเครื่องยนต์ เช่น ล้างอัดฉีด เปลี่ยนถ่ายน้ามันเครื่อง อัดจาระบี เป็นต้น ดังภาพที่ 1.4 
รูปที่1.4 งานช่างยนต์ 
ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555)
23 
4. งานโลหะ 
งานโลหะเป็นงานที่ต้องอาศัยทักษะ แรงกาย ความอดทน ความประณีตและบางครั้ง ต้องใช้ เทคนิค วิธีการ และประสบการณ์ในการทางานค่อนข้างสูง ผลงานจึงจะมีคุณภาพและมี ความปลอดภัยในการทางานส่วนประกอบของอาคารบ้านเรือน อุปกรณ์เครื่องใช้ภายในบ้านหลาย ชนิด ทาด้วยโลหะ หรือโลหะเป็นส่วนประกอบ เช่น รางน้า ลูกกรง ประตู หม้อ กระทะ ถังน้า เครื่องเรือน เป็นต้น เครื่องใช้แต่ละอย่างใช้โลหะต่าง ๆ กัน เช่น ทองแดง ทองเหลือง เหล็ก อะลูมิเนียม มีรูปแบบต่าง ๆ กันตามลักษณะของการใช้งาน เครื่องใช้โลหะทุกอย่าง เมื่อใช้นานวัน ย่อมมีการชารุดเสียหายต้องบารุงรักษา เพื่อให้ใช้งานต่อไปได้อีก งานช่างโลหะบางชนิด เช่น งาน ช่างโลหะแผ่น สามารถนามาสร้างสรรค์เป็นเครื่องใช้เครื่องตกแต่งภายในบ้านได้ งานโลหะ สามารถจาแนกได้ 6 ประเภท ดังนี้ 
4.1 งานโลหะแผ่น เช่น แผ่นมุงหลังคา เฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ ตู้เก็บของโต๊ะทางาน เป็นต้น 
4.2 งานเคาะขึ้นรูปโลหะ เช่น ตัวถังรถยนต์ ตัวถังจักรยานยนต์ เป็นต้น 
4.3 งานเหล็กดัดขึ้นรูป เช่น โครงหลังคา เหล็กดัดประตูหน้าต่าง เป็นต้น 
4.4 งานเชื่อมโลหะ เช่น เชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้า เชื่อมโลหะด้วยแก๊ส เป็นต้น 
4.5 งานหล่อโลหะ เช่น แม่พิมพ์งานต่าง ๆ ชิ้นส่วนเครื่องจักร เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เป็นต้น 
4.6 งานผลิตภัณฑ์อะลูมิเนียม เช่น โครงฝ้าเพดาน วงกบประตูหน้าต่าง มุ้งลวด เป็นต้น ดังภาพที่ 1.5 
รูปที่1.5 งานช่างโลหะ 
ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555)
24 
5. งานไม้ 
งานไม้เป็นงานช่างที่ใช้ฝีมือและความคิดสร้างสรรค์ ช่างไม้ต้องมีความอดทน ขยัน มี ความรับผิดชอบสูง สามารถนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นไม้มาประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ ได้อย่าง เหมาะสมทั้งนี้จะต้องมีทักษะในการใช้เครื่องมือและวัสดุ จึงจะสามารถปฏิบัติได้ทั้งชายและหญิง เช่น การซ่อมบารุงรักษาเฟอร์นิเจอร์หรือส่วนประกอบของอาคารบ้านเรือน เป็นต้น งานช่างไม้ จาแนกตามลักษณะงานได้ 3 ประเภท คือ 
5.1 งานไม้ก่อสร้าง เช่น งานไม้ก่อสร้างอาคารบ้านเรือนต่าง ๆ งานไม้ทั่วไป 
5.2 งานไม้ครุภัณฑ์ประเภทเฟอร์นิเจอร์ และตกแต่งภายใน เช่น ตู้ เตียง โต๊ะ เก้าอี้ เคาน์เตอร์ ฯลฯ 
5.3 งานไม้แกะสลัก เป็นงานไม้ที่ต้องใช้ความประณีตด้วยการแกะสลัก เช่น ประตู หน้าต่าง ภาพประดับผนัง ฯลฯ ดังภาพที่ 1.6 
รูปที่1.6 งานช่างไม้ 
ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555) 
6. งานปูน 
เป็นงานหลักในงานก่อสร้าง อาคารสมัยก่อน งานก่อสร้างจะใช้ไม้เป็นหลัก ปัจจุบัน ไม้มีจานวนน้อย ราคาสูง นอกจากนี้ยังช่วยในการต่อเติมซ่อมแซมสิ่งก่อสร้าง เหมาะสาหรับงานที่ ไม่ใหญ่นัก เช่น การก่ออิฐ ทาขอบไม้ การเทปูนทางเดิน เป็นต้น งานปูนจาแนกตามลักษณะ ของงานได้ 4 ประเภท ดังนี้ 
6.1 งานปูนโครงสร้าง เป็นส่วนที่ใช้รองรับน้าหนักของอาคาร เช่น ฐานราก เสา คาน ตง พื้น ฯลฯ
25 
6.2 งานปูนประณีต เป็นงานละเอียดใช้ในการตกแต่งทาลวดลายต่าง ๆ เช่น งานทาบัว งานทาลวดลายต่าง ๆ 
6.3 งานปูนเฟอร์นิเจอร์ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ม้านั่ง หินขัด ฯลฯ 
6.4 งานปูนสุขภัณฑ์ เช่น งานปูกระเบื้องห้องน้า ห้องครัว และงานระบบท่อน้า เป็นต้น ดังภาพที่ 1.7 
รูปที่1.7 งานช่างปูน 
ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555) 
7. งานประปา 
ระบบประปาและระบบการระบายน้าเสียในอาการบ้านเรือน เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง สาหรับชีวิตประจาวัน ระบบประปาและระบบการระบายน้าโสโครกที่มีประสิทธิภาพมีผลต่อ สุขภาพและอนามัยของผู้อาศัย งานประปาจึงมีความสาคัญและเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการวัด การตัด ต่อท่อ ข้อท่อ มีความสามารถในการซ่อมแซม แก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในระบบประปาและ ระบบการระบายน้าต่าง ๆ ดังภาพที่ 1.8 
รูปที่1.8 งานช่างประปา 
ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555)
26 
8. งานสี 
สีเป็นงานขั้นสุดท้ายของงานช่างหลายแขนง เช่น งานไม้ งานปูน และงานโลหะ เป็นต้น เพื่อตกแต่งงานที่สาเร็จแล้วให้ดูเรียบร้อยสวยงาม และยังช่วยให้งานแต่ละชิ้นมีความคงทน ถาวรยิ่งขึ้น ยืดอายุการใช้งานให้ยาวนาน งานสีมีหลักวิธีการของเครื่องมือเครื่องใช้ และวัสดุที่ต้อง ศึกษาจึงจะสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นงานที่ทาได้ทั้งชายและหญิง ดังภาพที่ 1.9 
รูปที่1.9 งานสี 
ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555) 
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 
การปฏิบัติงาน สิ่งสาคัญประการหนึ่งที่ต้องคานึงถึงคือ ความปลอดภัย เพราะหากเกิด อันตรายจากการปฏิบัติงาน ผลเสียที่เกิดขึ้นอาจจะนาความเดือนร้อนทั้งต่อตนเองหรือต่อผู้อื่น บางครั้งหากเกิดความรุนแรง ความเสียหายที่เกิดขึ้นอาจถึงทุพพลภาพ หรือ ถึงแก่ชีวิตฉะนั้น ผู้ปฏิบัติงานควรให้ความสาคัญและคานึงถึง ดังคาที่ว่า “ปลอดภัยไว้ก่อน” 
1. สาเหตุที่ทาให้เกิดอันตรายจากการทางาน หลักใหญ่ของสาเหตุที่ทาให้เกิดอันตราย จากการทางาน สามารถแบ่งออกได้ 4 ประการ ดังนี้ 
1.1 เกิดจากผู้ปฏิบัติเอง เช่น การแต่งกายของผู้ปฏิบัติงานไม่รัดกุม ชายเสื้อรุ่มร่าม สวมใส่เครื่องประดับ ร่างกายของผู้ปฏิบัติงานไม่ปกติ มีความเครียด อ่อนเพลีย เจ็บป่วย
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61Beerza Kub
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6supphawan
 
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอJaturapad Pratoom
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานJanchai Pokmoonphon
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office ExcelKhon Kaen University
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำBengelo
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คkrupornpana55
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์supansa phuprasong
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
 
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 

Viewers also liked

แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4Utsani Yotwilai
 
1.ความหมายของความปลอดภัย
1.ความหมายของความปลอดภัย1.ความหมายของความปลอดภัย
1.ความหมายของความปลอดภัยBangkok, Thailand
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างkrupeak
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 5
แผนการเรียนรู้งานช่าง 5แผนการเรียนรู้งานช่าง 5
แผนการเรียนรู้งานช่าง 5Utsani Yotwilai
 
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...Kruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 

Viewers also liked (7)

แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
แผนการเรียนรู้งานช่าง 4
 
1.ความหมายของความปลอดภัย
1.ความหมายของความปลอดภัย1.ความหมายของความปลอดภัย
1.ความหมายของความปลอดภัย
 
ข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่างข้อสอบวิชาช่าง
ข้อสอบวิชาช่าง
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 5
แผนการเรียนรู้งานช่าง 5แผนการเรียนรู้งานช่าง 5
แผนการเรียนรู้งานช่าง 5
 
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพประถมศึกษาปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Similar to งานช่างพื้นฐาน

โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างbbeammaebb
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างbbeammaebb
 
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...heemaa
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานNuTty Quiz
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบPum Pep
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบPum Pep
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
Activities3
Activities3Activities3
Activities3tataaaz
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology Tarn Takpit
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 

Similar to งานช่างพื้นฐาน (20)

Subject
SubjectSubject
Subject
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
เก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้ามเก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้าม
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Activities3
Activities3Activities3
Activities3
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 

งานช่างพื้นฐาน

  • 1. 1 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 1 เล่ม เรื่อง งานช่างพื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
  • 2. 1 ใบความรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 งานช่างพื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต หลักการ วิธีการ กระบวนการทางานช่าง หลักการ วิธีการ และกระบวนการทางานช่าง การดารงชีวิตในโลกปัจจุบันต้องมีความรู้และความเข้าใจในทักษะที่จาเป็นต่อการทางาน หรือการประกอบอาชีพจาเป็นต้องใช้ทักษะในการทางานซึ่งแสดงให้เห็นถึงความชานาญในการ ทางานโดยมีทักษะการทางานอย่างเป็นขั้นตอนและมีระบบ เพื่อให้การทางานนั้นประสบ ความสาเร็จช่วยให้สามารถทางานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และปลอดภัย ลดการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และลดการใช้พลังงาน 1. หลักการทางานช่าง (สราวุธ ญาณยุทธ และอดิศักดิ์ มีสุข. 2547 : 13 -16)การทางานในทุกองค์กรมุ่งมั่นที่ เป้าหมาย คือ ความสาเร็จของงาน และเพื่อให้การทางาน บรรลุเป้าหมาย การจัดการจึงเป็น สิ่งจาเป็นสาคัญในการทางาน ดังนั้นการทางานช่างได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ผู้ปฏิบัติต้องรู้ความหมายและความสาคัญของการจัดการ ตลอดจนกระบวนการจัดการงานช่าง เพื่อ จะได้นาไปใช้วางแผนในการทางานได้การทางานงานช่างให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลจน บรรลุวัตถุประสงค์ของงานช่าง มีหลักการ ดังนี้ 1.1 มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ที่จาเป็นในบ้าน 1.2 มีความรู้เกี่ยวกับหลักการการทางานของเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ที่จาเป็นในบ้าน 1.3 มีทักษะการสังเกต การรวบรวมข้อมูล การสรุปสภาพปัญหา เพื่อที่จะวางแผน บารุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้ง และผลิตเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ที่จาเป็นในบ้าน
  • 3. 2 1.4 มีความรู้เกี่ยวกับหลักการของวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ และวิธีการทางาน 1.5 เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ และทางานอย่างปลอดภัย พร้อมทั้งจัดเก็บ และบารุงรักษาเครื่องมือ 1.6 มีความรู้เกี่ยวกับหลักการของเทคโนโลยี ทรัพยากร พลังงาน ละสิ่งแวดล้อม ที่มีผลกระทบต่อการดารงชีวิตในท้องถิ่น 1.7 เลือกใช้เทคโนโลยี ทรัพยากร พลังงาน และสิ่งแวดล้อม ได้อย่างเหมาะสม 1.8 ออกแบบ เขียนแบบ อ่านแบบ วิเคราะห์ วางแผน และสามารถจัดการทางาน บารุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้ง และผลิตอย่างเป็นกระบวนการ ตั้งแต่การวางแผน ดาเนินการ ตรวจสอบ ประเมิน และปรับปรุง 1.9 คานวณค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้ง และผลิต พร้อมทั้งจัดการผลิตและ บรรจุภัณฑ์ 1.10 มีความขยัน อดทน ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ และรู้จักใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด และมี คุณค่า มีความเป็นประชาธิปไตย เอื้อเฟื้อ เสียสละ 2. วิธีการทางานงานช่าง การทางานงานช่างทุกประเภทต้องดาเนินการ ดังนี้ 2.1 ศึกษาคู่มือการทางานของเครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ที่จาเป็นในบ้าน ศึกษา คาแนะนา หลักความปลอดภัยในการทางาน พร้อมทั้งศึกษาปัญหา ความต้องการของผู้ใช้ 2.2 วางแผนการดาเนินงาน การบารุงรักษา การซ่อมแซม การติดตั้งและการผลิต โดย ตระหนักถึงการใช้เทคโนโลยี ทรัพยากร พลังงาน และวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ อย่าง ถูกต้องเหมาะสม 2.3 ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ พร้อมทั้งมีการตรวจสอบและแก้ไขระหว่าง ที่ปฏิบัติ จัดเก็บ บารุงรักษาเครื่องมือ จัดการผลิตและบรรจุภัณฑ์ อีกทั้งควรมีการนาผลมาพัฒนา ปรับปรุง 2.4 ตรวจสอบและประเมินการทางานทุกขั้นตอน โดยเริ่มจากขั้นเตรียม ขั้นดาเนินการ และ ขั้นสาเร็จของงาน
  • 4. 3 3. ขั้นตอนการทางานงานช่าง การทางานงานช่างทุกประเภทมีขั้นตอนการทางาน ดังนี้ 3.1 ขั้นเตรียมการหรือขั้นวางแผน เป็นขั้นตอนที่วางแผนจัดการทางานเพื่อการบารุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้ง และผลิตเครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ในบ้าน สาหรับการบารุงรักษาเป็นงาน หนึ่งที่ต้องศึกษาคู่มือ การทางานในประเด็นของส่วนประกอบหรือชิ้นส่วนที่ต้องการจะบารุงรักษา หรือซ่อมแซม การบารุงรักษาเครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์ในบ้านแต่ละชนิดย่อมมีความแตกต่าง กัน ดังนั้น ผู้ปฏิบัติงานต้องวิเคราะห์ว่า เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ในบ้านชนิดใดจะต้อง บารุงรักษา ด้วยวิธีทาความสะอาด ปัดฝุ่นละออง เช็ดถู หยอดน้ามันหล่อลื่น หรือถอดชิ้นส่วน ออกมาทา ความสะอาด ในส่วนของการซ่อมแซม ติดตั้งและผลิต ผู้ปฏิบัติต้องมีทักษะในการสังเกต การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนาข้อมูลมาวางแผนจัดทาโครงการ เขียนแบบออกแบบ เตรียมวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือ เตรียมบุคลากร และงบประมาณ ให้เหมาะสมเพียงพอกับการวางแผนจัดการ ทางานนอกจากนี้จะต้องพิจารณาว่า การทางานช่างแต่ละประเภทต้องใช้ทรัพยากรให้เหมาะสมกับ ท้องถิ่น เพื่อเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากร พลังงาน และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนค่าใช้จ่าย ในการทางาน แต่ละประเภท ให้คุ้มค่ามากที่สุด เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเตรียมการหรือวางแผนใน การทางาน ต่อไป 3.2 ขั้นดาเนินการ เป็นขั้นตอนการทางานตามที่ได้วางแผนไว้ โดยผู้ปฏิบัติจะต้องลงมือ ปฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ว่าจะใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือชนิด บุคลากรจานวนเท่าไรจึงจะ เหมาะสม พร้อมทั้งตรวจสอบ ปรับปรุงการทางานแต่ละขั้นตอนตามที่ระบุไว้ในรูปแบบรายการ อีกทั้ง การทางานช่างทุกประเภทจะต้องจัดเก็บและบารุงรักษาเครื่องมือให้สามารถใช้งานได้ ตลอดเวลา อย่างไรก็ตามการทางานช่างผู้ปฏิบัติจะต้องเลือกใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสม และเมื่อ ผลิตแล้ว จะต้องออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้สวยงาม 3.3 ขั้นตรวจสอบ เป็นขั้นตอนการตรวจสอบตั้งแต่ 3.3.1 ขั้นเตรียมการหรือการวางแผนเพื่อตรวจสอบความพร้อมของวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ บุคลากร ฯลฯ หากพบว่าไม่พร้อมจะต้องรีบแก้ไขทันที 3.3.2 ขั้นดาเนินการ เป็นขั้นตอนการตรวจสอบ วิธีการทางานแต่ละขั้นตอนเพื่อ ต้องการทราบว่าขั้นตอนการทางานเป็นไปตามรูปแบบที่กาหนดไว้หรือไม่ เช่น การใช้เครื่องมือให้ ถูกต้องเหมาะ การใช้วัสดุอุปกรณ์ให้เหมาะสม เกิดประโยชน์และประหยัด เป็นต้น อีกทั้ง กระบวนการทางานต้องมีความปลอดภัย หากการทางานแต่ละขั้นตอนไม่เรียบร้อย จะต้องหา
  • 5. 4 วิธีแก้ไขทันที 3.4 ขั้นพัฒนา-ปรับปรุง เป็นขั้นตอนสาคัญของการทางานช่าง เพราะขั้นตอนนี้มุ่งเน้นให้ผู้ ปฏิบัตินาผล การทางานในส่วนที่ประสบผลสาเร็จมาใช้ โดยผู้ปฏิบัติจะนาจุดเด่นของงานมา ออกแบบหรือจัดทาโครงงานเพื่อพัฒนาให้งานมีผลผลิตสูงขึ้นหรือในกรณีที่ผลงานประสบปัญหาผู้ ปฏิบัติจะต้องนาปัญหามาวิเคราะห์ เพื่อวางแผนการทาโครงงานต่อไป เพื่อให้งานบรรลุ วัตถุประสงค์ สรุปหลักการจัดการงานช่าง การจัดการ หมายถึง ความพยายามของบุคลที่จะจัดการระบบงาน (ทางานเดี่ยว) และการ จัดระบบคน(ทางานกลุ่ม) เพื่อให้การทางานสาเร็จตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้การ จัดการยังเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งในการดาเนินชีวิตของแต่ละครอบครัว เพราะถ้าหาก มีการจัดการที่ดี ก็จะทาให้ครอบครัวมีแต่ความสุขซึ่งการจัดการจะทาให้การดาเนินชีวิตและครอบครัวมีการวางแผน และตัดสินใจทางานตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ พร้อมทั้งช่วยให้ทุกคนทางานตามบทบาทหน้าที่ได้ อย่างดี ส่งผลให้บรรลุประสงค์ที่กาหนดไว้ การทางานช่างให้บรรลุเป้าหมายการจัดการเป็นสิ่ง สาคัญ ซึ่งกระบวนการจัดการงานช่างมีขั้นตอนดังนี้ 1. การวางแผนการดาเนินงาน 2. การแบ่งงาน 3. การบริหารงานบุคคล 4. การบริหารการเงินและวัสดุ 5. การผลิต 6. การจัดจาหน่ายและการบริการ 7. การแก้ไขข้อบกพร่อง การจัดการงานช่าง เป็นวิธีการจัดระบบการทางานอย่างเป็นขั้นตอน โดยเริ่มตั้งแต่การวาง แผนการปฏิบัติงาน การลงมือปฏิบัติและตรวจสอบตามแผนการทางานที่ได้กาหนดไว้ และสุดท้าย คือขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงานว่ามีผลดีหรือข้อบกพร่องอย่างไร ซึ่งจะเป็นข้อมูล ประกอบการพิจารณา ตัดสินใจเลือกหรือพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้นในโอกาสต่อไป ตลอดเวลาในสาขา วิชาชีพ และใช้เหตุผลในการทางาน
  • 6. 5 4. ทักษะที่จาเป็นต่อการทางานอาชีพ ทักษะกระบวนการทางาน คือ การลงมือทางานด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นในการฝึกวิธีทางาน อย่างสม่าเสมอ ทั้งการทางานเป็นรายบุคคล และการทางานเป็นกลุ่ม ซึ่งสามารถทางาน ได้บรรลุ ตามเป้าหมาย โดยกระบวนการทางาน มีขั้นตอนตั้งแต่ การวิเคราะห์งาน การวางแผนการทางาน การปฏิบัติงาน และการประเมินผลการทางาน ดังที่ ชลอ บุญก่อ และคณะ (2548 : 8 -14) กล่าวว่า ทักษะกระบวนการทางานช่างว่า ลักษณะ ของงานช่างมี 4 ลักษณะ และจะมีกระบวนการทางานที่คล้ายคลึงกัน แต่จะแตกต่างกันบ้างในบาง หัวข้อ กรมวิชาการ (2544 : 161-162) ให้ความหมาย ทักษะกระบวนการทางานว่า หมายถึง การลง มือทางาน ด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นในการฝึกวิธีทางานอย่างสม่าเสมอ ทั้งการทางานเป็นรายบุคคล และการทางานเป็นกลุ่ม ซึ่งสามารถ ทางานได้บรรลุตามเป้าหมาย ได้แก่ การวิเคราะห์งาน การ วางแผนในการทางานการปฏิบัติงาน และการประเมินผล การทางานสอดคล้องกับ ชลอ บุญก่อ และคณะ (2548 : 17) ที่กล่าวว่า ทักษะกระบวนการทางาน หมายถึง การลงมือทางาน ด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นในการฝึกวิธีทางานอย่างสม่าเสมอ ทั้งการทางานเป็นรายบุคคล และการทางานเป็นกลุ่ม ซึ่งสามารถ ทางานได้บรรลุตามเป้าหมาย และอธิบายถึงขั้นตอนของกระบวนการทางานไว้ดังนี้ 4.1.1 การวิเคราะห์งาน คือ การแจกแจงงานที่จะทาว่าเป็นงานประเภทใด หรือลักษณะใด ต้องใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อะไรบ้าง มีขั้นตอนการปฏิบัติอย่างไร กล่าวคือ ฝึกให้ผู้เรียนมองงาน โดยภาพรวมออกมาว่าจะต้องทาอย่างไร 4.1.2 การวางแผนในการทางาน คือ การวางแผนว่าจะใช้วัสดุอุปกรณ์อะไรในการทางาน ครั้งนี้ ต้องใช้เงินในการลงทุนมากน้อยอย่างไร กาลังงานในการทางานอย่างไร จะทาคนเดียวหรือ ต้องทาหลายคน ถ้าทาหลายคนจะแบ่งหน้าที่กันอย่างไร ตลอดจนกาหนดวิธีการทางานให้เป็น ขั้นตอนจนงานสาเร็จ 4.1 ทักษะกระบวนการทางาน 4. ทักษะที่จาเป็นต่องานอาชีพ
  • 7. 6 4.1.3 การปฏิบัติงาน คือ การให้ผู้เรียนได้ทางานตามลาดับขั้นตอนที่วางแผนไว้ ฝึกให้มี ลักษณะนิสัยที่ดีในการทางาน โดยเริ่มจากการนาหลัก 5 ส. มาใช้ในกระบวนการทางาน การใช้ คุณธรรม จริยธรรม การสร้างสัมพันธภาพในการทางาน เช่น พูดจาสุภาพ เหมาะสม มีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ขยัน อดทนซื่อสัตย์ ฯลฯ และสามารถตรวจสอบการทางาน ของตนเป็นระยะ 4.1.4 การประเมินผลการทางาน คือ การประเมินผลทั้งการวางแผนก่อนการทางาน ขณะ ปฏิบัติงาน และเมื่องานสาเร็จแล้ว โดยขั้นตอนในการวางแผนก่อนการทางาน ให้ประเมินว่าได้ วางแผนไว้รอบคอบรัดกุมหรือไม่ จะต้องเตรียมอะไรบ้าง ตรวจสอบดูแผน ที่วางไว้ว่าเป็นไปได้ หรือไม่ ขณะปฏิบัติให้ประเมินว่าวิธีการทางานเป็นอย่างไรบ้าง มีข้อบกพร่องที่จะต้องปรับปรุง อย่างไร และเมื่องานสาเร็จให้ประเมินว่าผลงานที่ออกมาเป็นไปตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ มีข้อดี ข้อเสียอย่างไร เพื่อจะได้แก้ไขและปรับปรุงผลงานของตนให้ดีขึ้น กรมวิชาการ (2544 : 163) อธิบายว่า ทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่น หมายถึง ทางานเป็น กลุ่ม สามารถทางาน ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ทางาน อย่างมี กระบวนการทางานและฝึกในการทางานกลุ่มดังนี้ 4.2.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ภายในกลุ่ม เป็นการให้ผู้เรียนรู้จักการทางานร่วมกัน รู้จักบทบาท หน้าที่ที่ตนเอง ต้องรับผิดชอบ ฝึกความเป็นผู้นา ผู้ตาม โดยหมุนเวียนสับเปลี่ยนบทบาทหน้าที่กัน ไปตามความเหมาะสม 4.2.2 มีทักษะในการฟัง การพูด การแสดงความคิดเห็น และการอภิปรายในกลุ่ม 4.2.3 มีคุณธรรมในการทางานร่วมกัน เป็นการสร้างให้ผู้เรียนสามารถทางานและอยู่ ร่วมกันในสังคม ได้อย่างมีความสุข ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง คุณธรรมที่สาคัญที่ควรฝึกฝนได้แก่ ความรับผิดชอบในการทางาน ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่สมาชิกในกลุ่ม การไม่เอาเปรียบผู้อื่น ฯลฯ 4.2 ทักษะกระบวนการทางานร่วมกับผู้อื่น
  • 8. 7 4.2.4 สรุปผลโดยการจัดทารายงาน เป็นการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักสรุปผลและฝึกให้เขียน รายงาน จากการปฏิบัติ เพื่อนาเสนอหน้าชั้นเรียนหรือส่งครูผู้สอน 4.2.5 นาเสนอรายงาน เป็นการนาผลการปฏิบัติงานกลุ่มรายงานหน้าชั้นเรียนหรือจัด นิทรรศการเป็นต้น กรมวิชาการ (2544 : 164) เสนอว่า กระบวนการทางานกลุ่ม มีขั้นตอนดังนี้ 4.3.1 การเลือกหัวหน้ากลุ่ม โดยการลงคะแนนเสียงด้วยเหตุผลและการหมุนเวียน ผลัดเปลี่ยนกันในการทางาน ในแต่ละครั้ง 4.3.2 การกาหนดเป้าหมาย ให้ตกลงกันว่าเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการทางาน คือ อะไร อยู่ที่ใด 4.3.3 การวางแผนการทางาน มีการร่วมกันวางแผนว่าจะทาอะไรบ้าง ทาอะไรก่อนหลังจะ ทางานกันอย่างไร 4.3.4 แบ่งงานกันทาตามความสามารถและความถนัดของแต่ละคน 4.3.5 ลงมือปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่ และขั้นตอนการปฏิบัติงานตามที่วางแผนไว้ 4.3.6 ประเมินผลและปรับปรุงการทางาน งานที่ทามีผลงานอะไร มีข้อดี ข้อเสียอย่างไร มีขั้นตอนการทางานอย่างไร จะปรับปรุงการทางานอย่างไร ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาเป็นกระบวนการที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เกิดความคิดวิธีการ แก้ปัญหาต่าง ๆ (กรมวิชาการ. 2544 : 164) เสนอว่าควรมีขั้นตอนดังนี้ 4.4.1 สังเกต ผู้เรียนศึกษาข้อมูล รับรู้ และทาความเข้าใจในปัญหานั้นและเลือกแก้ปัญหาที่ สาคัญ 4.4 ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา 4.3 ทักษะกระบวนการทางานกลุ่ม
  • 9. 8 4.4.2 วิเคราะห์ ผู้เรียนจัดลาดับข้อมูล หาความสาคัญและสาเหตุของแต่ละปัญหาและ เหมาะสม 4.4.3 สร้างทางเลือก เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสวงหาทางเลือกในการแก้ปัญหาอย่าง หลากหลายซึ่งอาจมีการทดลอง ค้นคว้า ตรวจสอบ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบ กรณีที่ผู้เรียนทา กิจกรรมกลุ่มควรกาหนดหน้าที่ในการทางาน 4.4.4 ประเมินทางเลือก พิจารณาข้อมูลทางเลือกต่าง ๆ แล้วประเมินทางเลือก ผู้เรียนต้อง วางแผนปฏิบัติงาน เพื่อรายงาน และตรวจสอบความถูกต้องของทางเลือกนอกจากทักษะที่เป็น พื้นฐานในการทางานโดยทั่วไปแล้ว ผู้ที่จะสามารถทางานช่างอย่าง มีประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธิ์ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ ผู้ทางานช่างยังต้องมีทักษะดังต่อไปนี้ ทักษะการแสวงหาความรู้ คือ การค้นคว้าหาความรู้ และสามารถสร้างความรู้ใหม่เพิ่มเติม ได้อาจมาจากการคิด การศึกษา การทดลอง การค้นคว้า หรือปฏิบัติด้วยตนเอง แล้วนามาวิเคราะห์ เพื่อให้เกิดความรู้ใหม่ ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้เดิมที่มีอยู่ โดยการศึกษาค้นคว้านั้น ไม่จากัดว่าจะมา จากแหล่งความรู้ใด อาจเป็นความรู้ในห้องเรียน ความรู้ตามป้ายสถานที่ต่าง ๆ ไปจนสื่ออื่น ๆและ การสืบค้นข้อมูลทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น เราสามารถฝึกฝนทักษะการแสวงหาความรู้ได้ โดยเริ่มจากความสนใจ หรือความต้องการของตนเอง แล้วอาจปรึกษาหรือขอความช่วยเหลือจาก บุคคลอื่น ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สนใจหรือต้องการทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองสามารถ ฝึกฝนได้จากการปฏิบัติต่อไปนี้ 4.5.1 กาหนดปัญหาในการสืบค้นข้อมูลความรู้ คือการตั้งหัวข้อ ตั้งประเด็นในการศึกษา ค้นคว้า กาหนดขอบเขตของหัวข้อหรือประเด็นที่ต้องการจะค้นคว้า พยายามอธิบายและแสดงความ คิดเห็นต่อหัวข้อที่ต้องการจะสืบค้นข้อมูลความรู้ 4.5.2 การวางแผนในการสืบค้นข้อมูลความรู้ คือ เมื่อคิดหาหัวข้อหรือประเด็นที่เรา ต้องการจะสืบค้นได้แล้ว ควรวางแผน กาหนดเป้าหมายว่าจะสืบค้นข้อมูลความรู้จากที่ใด อย่างไร 4.5.3 การดาเนินการสืบค้นข้อมูลความรู้ตามแผนที่กาหนดไว้ คือ การดาเนินการสืบค้น ข้อมูลความรู้ในหัวข้อที่ต้องการ ตามแผนงานที่วางไว้ 4.5 ทักษะการแสวงหาความรู้
  • 10. 9 4.5.4 การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสืบค้นความรู้ คือ การนาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้ค้นหา หรือได้ รับมา มาพิจารณาอย่างละเอียดถึงองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของข้อมูล รวมไปถึงการจาแนก จัดกลุ่ม และจัดลาดับข้อมูล 4.5.5 การสรุปผลจากการสืบค้นความรู้และบันทึกและการบันทึกจัดเก็บ เมื่อวิเคราะห์ ข้อมูลต่าง ๆ ได้ออกมาตามขอบเขตของหัวข้อที่กาหนดไว้ตั้งแต่เริ่มต้น ควรบันทึกจัดเก็บข้อมูลที่ รวบรวมมาได้ต่าง ๆ ในรูปแบบที่ง่ายต่อการค้นหา เช่น จัดเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ หรือสื่อบันทึก ข้อมูลชนิดต่าง ๆจดบันทึกไว้ในสมุด ถ่ายสาเนาเอกสารเก็บไว้ในแฟ้ม เป็นต้น ทักษะการจัดการ หมายถึง ความสามารถของบุคคลหนึ่งที่สามารถจะจัดระบบงาน และ ระบบตนให้ทางานให้สาเร็จตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนการ วางแผนงานการจัดองค์กร การจัดหาคน การแบ่งหน้าที่ปฏิบัติงาน การควบคุมการปฏิบัติงานให้ เป็นไปตามที่กาหนด ไปจนถึงการติดตามและประเมินผล ทักษะการจัดการแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ 4.6.1 การจัดการระบบงาน (การทางานเดี่ยว) โดยสามารถจัดสรรเวลาการทางานให้เป็น ระบบ ปฏิบัติงานตามกฎระเบียบแบบแผน และขั้นตอนต่างๆ รวมไปถึงการเป็นผู้ที่มองทางไกล ฉลาด มีไหวพริบ รอบรู้ ทันคน ทันเหตุการณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ ความกระตือรือร้น ในการแสวงหาข้อเท็จจริง มีความมุมานะที่จะปฏิบัติงานให้สาเร็จตามเป้าหมาย รู้จักปรับตัวให้เข้า กับสภาพแวดล้อมที่แปลกใหม่อยู่เสมอ 4.6.2 การจัดการระบบคน (การทางานกลุ่ม) โดยมีความสามารถในการคัดเลือกคนเข้าทา งานแบ่งปัน จัดสรรคนให้เหมาะสมกับงาน มีความสามารถในการสร้างบรรยากาศในการทางาน สามารถชักจูงเพื่อนร่วมงานให้มีเป้าหมายเดียวกัน ร่วมมือ ร่วมใจกันทางานจนสาเร็จ รวมถึงการ เป็นคนที่มีมนุษยสัมพันธ์ มีความขยัน อดทน ซื่อสัตย์และยุติธรรม เพื่อให้เพื่อนร่วมงานเกิดความ พอใจ และเสมอภาค ยินดีที่จะทางานด้วยความเต็มใจ 4.6 ทักษะการจัดการ
  • 11. 10 ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยีนั้น เป็นทักษะและความรู้ที่จาเป็นที่จะต้อง ฝึกฝนและเรียนรู้ เพื่อให้มีสามารถปฏิบัติตนเพื่อรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีใน กระแสโลกาภิวัฒน์ ซึ่งจาเป็นต้องมี 4.7.1 ความรู้พื้นฐานด้านสารสนเทศ คือ สามารถพัฒนา จัดเก็บ สืบค้น และแพร่กระจาย สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการทางานและดาเนินชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.7.2 ความรู้พื้นฐานด้านสื่อ มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการใช้สื่อ ซึ่งมีอยู่มากมาย ในโลกปัจจุบัน และจะเพิ่มมากขึ้นในโลกอนาคต ต้องรู้เท่าทันทันสื่อ และใช้สื่อเป็นเครื่องมือใน การปฏิบัติงานได้ 4.7.3 ความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นทักษะที่สาคัญ ที่จะต้องมี ความสามารถในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบการสื่อสาร อย่างถูกต้อง และอย่างชาญฉลาด เป็นทักษะใหม่ที่ความสาคัญในการดารงชีวิตอย่างมีความสุข ซึ่งประกอบด้วย 4.8.1 ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว คือ สามารถยืดหยุ่นและปรับตัวได้ใน ทุกสถานการณ์ ไม่ว่าจะเป็นการปฏิบัติงาน หรือ ชีวิตประจาวัน 4.8.2 ความริเริ่มและการชี้นาตนเอง เป็นสิ่งที่มีความสาคัญเนื่องจากเป็นทักษะที่ต้องพัฒนา ให้ตัวเราสามารถดาเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้อง ไม่ดาเนินชีวิตผิดธรรมนองคลองธรรม หรือ จริยธรรม รวมถึงกฎหมาย 4.8.3 ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม เนื่องจากในอนาคตการทางานมิได้อยู่ เพียงแต่ภายในประเทศเท่านั้น แต่การทางานในอนาคตจะเปิดกว้างมากทั้งในระดับภูมิภาคอาเซียน และระดับโลก ดังนั้นจาเป็นที่จะต้องมีการฝึกฝนทักษะทางสังคม และการเรียนรู้และทางานข้าม วัฒนธรรมของต่างประเทศได้ 4.8.4 การเพิ่มผลผลิตและความรู้รับผิด คือ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มผลผลิต ให้กับองค์กร รวมถึงการรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้ทาขึ้น 4.7 ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 4.8 ทักษะชีวิตและการทางาน
  • 12. 11 4.8.5 ความเป็นผู้นาและความรับผิดชอบ ประการสุดท้ายคือ จะต้องฝึกความเป็นผู้นาและมี ความรับชอบต่อหน้าที่ของตนเองที่ได้รับมอบหมาย และความรับผิดชอบต่อสังคม คุณลักษณะผู้ทางานช่างที่ดี จะต้องเป็นคนดีมากกว่าคนเก่ง ได้แก่ มีความขยันอดทน ซื่อสัตย์สุจริตประหยัด มีวินัย มีความรับผิดชอบมีบุคลิกภาพดี ตรงต่อเวลา มีความคิดสร้างสรรค์ มี ความกระตือรือร้น มีความปลอดภัยและเชื่อมั่นในพลังความคิด เป็นต้น และคุณลักษณะด้านความรู้ และทักษะวิชาชีพ จะต้องมีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานในหน้าที่ตามสายงาน และงานที่ เกี่ยวข้องด้วยความชานาญ มีทักษะ คานึงถึงปลอดภัยมีประสบการณ์ในงาน นอกจากนี้ต้องเป็นผู้ที่ แสวงหาความรู้ที่ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งมีมี การพัฒนาตนเอง ในการทางานผู้ปฏิบัติงานต้องมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม เพื่อให้สามารถปฏิบัติงาน ร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี และงานประสบความสาเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ คุณธรรม เป็นหลักของความดี ความงาม ความถูกต้องในการแสดงออกทั้งกาย วาจา ใจ ของแต่ละบุคคลที่ยึดมั่นไว้เป็นหลักประจาใจในการประพฤติปฏิบัติตนจนเกิดเป็นนิสัยซึ่งส่งผลให้ สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข จริยธรรม เป็นการประพฤติปฏิบัติของบุคคลที่แสดงออกถึงความดีงามทั้งต่อตนเอง ต่อ ผู้อื่น และต่อสังคม เพื่อให้เกิดความสงบสุข ความเจริญรุ่งเรืองเป็นประโยชน์ต่อสังคมและการ พัฒนาประเทศชาติ ค่านิยม เป็นสิ่งที่สังคมถือว่ามีค่าพึงปราถนาต้องการให้เป็นเป้าหมายของสังคมและ ปลูกฝังให้สมาชิกของสังคมยึดถือเป็นเป้าหมายในการดาเนินชีวิตควรหลีกเลี่ยง เช่น ความยากจน สิ่งมีคุณค่า น่าปราถนา หรือนาความสุขมาให้มีทั้งเป็นวัตถุและไม่เป็นวัตถุ กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศนโยบายเร่งด่วนเรื่อง เร่งรัดการปฏิรูปการศึกษา โดยยึดหลัก คุณธรรมนาความรู้ เพื่อสร้างความตระหนัก สานึกในคุณค่าของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความ สมานฉันท์ สันติวิธี วิถีประชาธิปไตย เพื่อพัฒนาคนโดยใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของกระบวนการ เรียนรู้ที่เชื่อมโยง ความร่วมมือของสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบัน ศาสนาและสถาบันการศึกษา โดยมีจุดเน้นเพื่อพัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดี มีความรู้ และอยู่ดีมีสุข ดังนั้น เพื่อให้การขับเคลื่อน 5. คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการทางาน สรุป
  • 13. 12 ดังกล่าวมีความชัดเจน เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม 8 คุณธรรมพื้นฐาน ที่ควรเร่งปลูกฝัง ประกอบด้วย ความหมายของคาว่า ขยัน คือ ความตั้งใจเพียรพยายามทาหน้าที่การงานอย่าง ต่อเนื่อง สม่าเสมอ อดทนไม่ท้อถอยเมื่อพบอุปสรรค ความขยันต้องปฏิบัติควบคู่กับการใช้ สติปัญญา แก้ปัญหาจนเกิดผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความขยัน คือ ผู้ที่ตั้งใจทาอย่างจริงจังต่อเนื่องในเรื่องที่ถูก ที่ควรผู้ที่เป็นคนสู้งาน มีความพยายาม ไม่ท้อถอย กล้าเผชิญอุปสรรค รักงานที่ทา ตั้งใจทาหน้าที่ อย่างจริงจัง ความหมายของคาว่า ประหยัด คือ การรู้จักเก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สิน สิ่งของแต่พอควร พอประมาณ ให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย ฟุ้งเฟ้อ คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความประหยัด คือ ผู้ที่ดาเนินชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย รู้จักฐานะการเงินของตน คิดก่อนใช้คิดก่อนซื้อ เก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สินสิ่งของอย่างคุ้มค่า รู้จัก ทาบัญชีรายรับ-รายจ่ายของตนเองอยู่เสมอ ความหมายของคาว่า ความซื่อสัตย์ คือ ประพฤติตรงไม่เอนเอียงไม่มีเล่ห์เหลี่ยมมีความ จริงใจ ปลอดจากความรู้สึกลาเอียงหรืออคติ คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความซื่อสัตย์ คือ ผู้ที่มีความประพฤติตรงทั้งต่อหน้าที่ ต่อ วิชาชีพ ตรงต่อเวลา ไม่ใช้เล่ห์กล คดโกงทั้งทางตรงและทางอ้อม รับรู้หน้าที่ของตนเองและปฏิบัติ อย่างเต็มที่ถูกต้อง 5.1 ขยัน 5.2 ประหยัด 5.3 ความซื่อสัตย์
  • 14. 13 ความหมายของคาว่า มีวินัย คือ การยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับและข้อปฏิบัติ ซึ่ง มีทั้งวินัยในตนเองและวินัยต่อสังคม คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีวินัย คือ ผู้ที่ปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของ สถานศึกษา สถาบัน/องค์กร/สังคมและประเทศ โดยที่ตนเองยินดีปฏิบัติตามอย่างเต็มใจและตั้งใจ ความหมายของคาว่า สุภาพ คือ เรียบร้อย อ่อนโยน ละมุนละม่อม มีกิริยามารยาทที่ดีงาม มี สัมมาคารวะ คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความสุภาพ คือ ผู้ที่อ่อนน้อมถ่อมตนตามสถานภาพและ กาลเทศะ ไม่ก้าวร้าว รุนแรง วางอานาจข่มผู้อื่นทั้งโดยวาจาและท่าทาง แต่ในเวลาเดียวกันยังคงมี ความมั่นใจในตนเอง เป็นผู้ที่มีมารยาท วางตนเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย ความหมายของคาว่า สะอาด คือ ปราศจากความมัวหมองทั้งกาย ใจ และสภาพแวดล้อม ความผ่องใสเป็นที่เจริญตาทาให้เกิดความสบายใจแก่ผู้พบเห็น คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่ความสะอาด คือ ผู้รักษาร่างกาย ที่อยู่อาศัยสิ่งแวดล้อม ถูกต้องตามสุขลักษณะ ฝึกฝนจิตใจมิให้ขุ่นมัว จึงมีความแจ่มใสอยู่เสมอ ความหมายของคาว่า สามัคคี คือ ความพร้อมเพียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดอง กัน ร่วมใจกันปฏิบัติงานให้บรรลุ ผลตามที่ต้องการเกิดงานการอย่างสร้างสรรค์ปราศจากการ ทะเลาะวิวาท ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกต่าง หลากหลายทางความคิด ความหลากหลายในเรื่องเชื้อชาติ ความกลมเกลียวกันในลักษณะเช่นนี้ เรียกอีกอย่างว่า ความสมานฉันท์ 5.4 มีวินัย 5.5 สุภาพ 5.6 สะอาด 5.7 สามัคคี
  • 15. 14 คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีความสามัคคี คือ ผู้ที่เปิดใจกว้างรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อื่น รู้บทบาทของตนทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตามที่ดี มีความมุ่งมั่นต่อการรวมพลัง ช่วยเหลือเกื้อกูล กันเพื่อให้การงานสาเร็จลุล่วง แก้ปัญหาและขจัดความขัดแย้งได้ เป็นผู้มีเหตุผล ยอมรับความ แตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม ความคิด ความเชื่อ พร้อมที่จะปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ ความหมายของคาว่า มีน้าใจ คือ ความจริงใจที่ไม่เห็นแก่เพียงตัวเองหรือเรื่องของตัวเอง แต่เห็นอก เห็นใจเห็นคุณค่าในเพื่อน มนุษย์ มีความเอื้ออาทรเอาใจใส่ ให้ความสนใจในความต้องการ ความ จาเป็น ความทุกข์สุขของผู้อื่น และพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน ความหมายของคาว่า มีน้าใจ คือ ความจริงใจที่ไม่เห็นแก่เพียงตัวเองหรือเรื่องของตัวเอง แต่เห็นอกเห็นใจเห็นคุณค่าในเพื่อน มนุษย์ มีความเอื้ออาทรเอาใจใส่ ให้ความสนใจในความ ต้องการ ความจาเป็น ความทุกข์สุขของผู้อื่น และพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ผู้ที่มีน้าใจ คือ ผู้ให้และผู้อาสาช่วยเหลือสังคม รู้จักแบ่งปัน เสียสละความสุขส่วนตน เพื่อทาประโยชน์แก่ผู้อื่นเข้าใจ เห็นใจ ผู้ที่มีความเดือดร้อน อาสา ช่วยเหลือสังคมด้วยแรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบัติการเพื่อบรรเทาปัญหา หรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งดี งามให้เกิดขึ้นในชุมชน ในการปฏิบัติงานต่างๆ จาเป็นต้องใช้ทรัพยากร เพื่อนามาผลิตเป็นสินค้าและบริการ ทรัพยากรที่สาคัญในการปฏิบัติงาน แบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้ 1. ทรัพยากรบุคคล หรือทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งหมายถึง บุคคลที่มีส่วนร่วมในการ ปฏิบัติงานทุกคน 2. ทรัพยากรด้านวัตถุดิบ เครื่องมือ เทคโนโลยีหรือสิ่งอานวยความสะดวกและสนับสนุน ให้การทางานมีประสิทธิภาพ 5.8 มีน้าใจ มัคคี 6. การใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงาน
  • 16. 15 ทรัพยากรมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ แต่จากการเพิ่มขึ้นของประชากร มนุษย์อย่างรวดเร็ว ทาให้ความต้องการในการใช้ทรัพยากรเพิ่มขึ้นในรูปแบบต่างๆ เช่น ใช้เป็น วัตถุดิบ ใช้เป็นสถานที่ เป็นต้น ซึ่งอาจทาให้ทรัพยากรหมดไปและส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมตามมา จึงควรมีแนวทางในการอนุรักษ์และใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการใช้หลัก 7R ดังนี้ 1. การปฏิเสธการใช้ (R1 – Reject) คือ การรู้จักปฏิเสธหรือการงดใช้สิ่งของที่ทาให้ สิ้นเปลืองทรัพยากร 2. การนาของใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ (R2 – Reuse) คือ การดัดแปลงของที่ใช้แล้วเพื่อ นากลับมาใช้ใหม่ จะช่วยลดการใช้ทรัพยากรได้มาก 3. การใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด (R3 – Reduce) คือ การใช้สิ่งของต่างๆ ให้คุ้มค่าจะ ช่วยลดปริมาณความต้องการทรัพยากรโดยไม่ต้องจัดหาสิ่งใหม่มาใช้ 4. การซ่อมแซมฟื้นฟู (R4 – Repair) คือ การซ่อมแซมฟื้นฟูสิ่งของเครื่องใช้ที่เก่าหรือ ชารุดให้สามารถใช้งานได้ จะช่วยยืดอายุการใช้งานและลดอัตราการใช้ทรัยากรได้ 5. การนาไปผลิตขึ้นใหม่ (R5 – Recycle) คือ การนาเอาของที่ใช้แล้วไปผ่าน กระบวนการผลิตเป็นวัตถุตั้งต้นใหม่ จะช่วยประหยัดทรัพยากรได้ 6. การถนอมรักษา (R6 – Recovery) คือ การเก็บรักษาสิ่งของเครื่องใช้สาหรับใช้ใน โอกาสต่อไปได้อีก 7. การเสริมแต่งของเก่า (R7 – Renewal) คือ การเสริมแต่งของที่มีอยู่หรือของที่ใช้แล้ว ให้สมบูรณ์ จะทาให้ใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น การนาหลัก 7R มาใช้ในชีวิตประจาวันนอกจากจะไม่ทาให้สิ้นเปลืองทรัพยากรธรรมชาติ ในการผลิตสินค้าใหม่แล้ว ยังเป็นการช่วยภาวะโลกร้อนจากการลดใช้พลังงานและการใช้ทรัพยากร และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายของตนเองได้อีกด้วย 6.1 แนวทางการใช้ทรัพยากร
  • 17. 16 ทุกวันนี้มนุษย์เริ่มตระหนักถึงปัญหาของทรัพยากรที่เริ่มจะหมดไปเนื่องจากการใช้ ทรัพยากรเหล่านั้นอย่างฟุ่มเฟือย ไม่ประหยัด ดังนั้น จึงควรมีการวางแผนการใช้ทรัพยากรให้เกิด ประโยชน์ และคุ้มค่ามากที่สุด ดังนี้ 1. ใช้ทรัพยากรให้ถูกวัตถุประสงค์และประโยชน์การใช้สอย เช่น น้าเพื่อการเพาะปลูกก็ ควรใช้ในการเพาะปลูก ไม่ควรนาน้าสะอาดที่ใช้ดื่มไปล้างภาชนะ ไม่ใช้ลาน้าสาธารณะเป็นทางทิ้ง น้าเสียจากครัวเรือนหรือโรงงาน เป็นต้น 2. เลือกใช้ทรัพยากรให้มีสัดส่วนที่เหมาะสม เช่น การเพาะปลูกต้องตัดสินใจในการใช้ น้าและที่ดินอย่างประหยัด ไม่ใช้น้าเกินความจาเป็น ไม่ทิ้งที่ดินให้ว่างเปล่า เป็นต้น 3. วางแผนอย่างดีก่อนเริ่มการผลิตชิ้นงาน โดยการศึกษาข้อมูลต่างๆ เช่น เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ วิธีการผลิต เงินทุน ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในการผลิตและแนวทางแก้ไข เพื่อลด การสูญเสียที่จะเกิดขึ้นในการผลิตชิ้นงานนั้น 4. นาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยในการผลิต การนาเทคนิคและเครื่องจักรมาช่วยจะช่วย ลดการสูญเสียและทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. แสวงหาทรัพยากรทดแทนหรือนากลับมาใช้ใหม่ เช่น การนาโต๊ะ เก้าอี้ที่ชารุดมา ซ่อมแซม เป็นต้น 6.2การวางแผนการใช้ทรัพยากร
  • 18. 17 ใบความรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 งานช่างพื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต เรื่อง ความรู้เบ้องต้นเกี่ยวกับงานช่าง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานช่าง การดารงชีวิตในยุคปัจจุบันทุกครอบครัวมีสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆที่คอยอานวยความสะดวก ในการดาเนินชีวิตในแต่ละวัน โดยผู้ใช้จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการใช้สิ่งอานวยความสะดวก เหล่านั้นได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย เช่น การใช้และการบารุงรักษา การดัดแปลง การซ่อมแซม การประกอบและการติดตั้ง หรือการสร้างและผลิตชิ้นงานขึ้นมาใช้เอง ก็จาเป็นต้องมีทักษะทางงาน ช่างแต่ละประเภทของงานช่าง ดังนั้นงานช่างจึงมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์จึงจาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับ งานช่างเพื่อที่จะสามารถใช้ทักษะในงานช่างมาดูแลรักษาเครื่องใช้ภายในบ้านต่างๆให้ได้ในระยะ ยาวนั้นจาเป็นต้องรู้จักวิธีการบารุงรักษาหรือดัดแปลงเครื่องอานวยความสะดวกเหล่านั้น เพื่อช่วย ประหยัดค่าใช้จ่าย รวมทั้งเพื่อให้มีรูปแบบหรือวิธีการใช้ที่แปลกใหม่อีกด้วย ดังนั้นงานช่างจึงเข้า มามีบทบาทในการซ่อมแซมและดัดแปลงเครื่องอานวยความสะดวกต่างๆ ความหมาย และความสาคัญของงานช่าง ช่าง หมายถึง ผู้ชานาญในการฝีมือ หรือศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง งานช่าง หมายถึง การทางานหรือสิ่งที่เกิดจากการทางานของช่าง ซึ่งมีหลายประเภท หลายสาขาผู้เป็นช่างจึงมักมีคาต่อท้ายเพื่อบอกประเภทหรือสาขาของงานที่ทา เช่น ช่างไฟฟ้า ช่างประปา ช่างไม้ ช่างปูน ช่างโลหะ ช่างเขียน ช่างผม ช่างเสริมสวย เป็นต้น งานช่าง หมายถึง การนาความรู้พื้นฐานของวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการทางาน ตลอดจน กระบวนการทางเทคโนโลยี ทรัพยากร พลังงาน และสิ่งแวดล้อม มาใช้ในการบารุงรักษา ซ่อมแซม ติดตั้งและผลิตเครื่องมือ เครื่องใช้โดยมีการวิเคราะห์ ออกแบบ วางแผน และลงมือปฏิบัติอย่างเป็น
  • 19. 18 ระบบ อีกทั้งมีการประเมินและปรับปรุงกระบวนการทางานเพื่อให้ได้ผลงานอย่างสร้างสรรค์และ สามารถนาไปใช้ชีวิตประจาวัน ช่างที่ดีนอกจากจะมีความรู้ในงานของตนแล้ว ยังต้องมีฝีมือหรือศิลปะในการทางานด้วย ความรู้เกี่ยวกับงานช่างอาจได้จากการบอกเล่าสืบต่อกันมา หรือจากการศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม ประสบการณ์ในการทางานของช่าง นอกจากจะสร้างเสริมความรู้ของช่างแล้วยังช่วย ให้มีความชานาญในฝีมือการทางาน สามารถสรุปได้ว่า งานช่างพื้นฐาน หมายถึง งานช่างเบื้องต้นที่ทุกคนสามารถทาได้ด้วย ตนเอง งานช่างพื้นฐานส่วนใหญ่จึงเป็นงานเกี่ยวกับงานซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของเครื่อง ใช้ในบ้านที่ ชารุดเสียหาย เล็ก ๆ น้อย ๆ หรือสร้างสิ่งของเครื่องใช้ง่าย ๆ ไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อนมากนัก เช่น การเดินสายไฟฟ้าในบ้าน การเดินสายโทรศัพท์ การเปลี่ยนก๊อกน้า การต่อท่อประปา การ ซ่อมแซมโต๊ะ เก้าอี้ รั้ว กันสาด ผนังและถนนหรือทางเดินเท้าภายในบ้าน เป็นต้น ประโยชน์ของงานช่างพื้นฐาน งานช่างพื้นฐานจัดเป็นงานช่างที่เน้นหนักในด้านความเป็นอยู่โดยเฉพาะ อาคาร บ้านเรือน เครื่องมือเครื่องใช้ ภายในบ้าน การซ่อมแซม ดัดแปลง การบารุงรักษา ได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม ส่งผลให้มีอายุในการใช้งานได้ยาวนาน ทาให้ประหยัดและเป็นการฝึกนิสัยที่ดีแก่สมาชิก ในครอบครัว และเป็นพื้นฐานของการค้นพบความสามารถ ความถนัดและสนใจเพื่อให้เกิดการ ตัดสินใจเลือกเรียนในระดับต่อไป สุรพงษ์ ศรีวินิจ (2547 : 3) ได้สรุปประโยชน์ของงานช่างพื้นฐาน ไว้ 2 ด้าน คือ ประโยชน์โดยตรง ที่เห็นได้ชัดเจนจากการมีความรู้ในเรื่องงานช่างพื้นฐาน คือ การ ประหยัดค่าใช้จ่ายที่จะต้องจ้างช่างอาชีพแล้วยังประหยัดเวลา ไม้ต้องเสียเวลารอคอยกว่าจะหาช่าง อาชีพได้ หรือแม้จะว่าจ้างช่างอาชีพก็สมารถตรวจ ควบคุมดูแลการทางานได้ ประโยชน์ทางอ้อม เช่น การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ การซ่อมหรือสร้างสิ่งของ เครื่องใช้ ก่อให้เกิดความเพลิดเพลิน สนุกสนาน ในการทางานเช่นเดียวกับการทางานอดิเรกอื่นๆ นอกจากนั้นผลของการทางานยังทาให้เกิดความรู้ ความชานาญจนอาจพัฒนาความสามารถนาไปสู่ ช่างอาชีพอีกด้วย แม้ไม่ต้องทาเป็นอาชีพโดยตรง ก็อาจทาเป็นอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้แก่ ครอบครัวได้เป็นอย่างดี
  • 20. 19 คุณค่าและประโยชน์งานช่างต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ มีดังนี้ 1. ช่วยให้เกิดการพัฒนาความรู้พื้นฐานและทักษะทางงานช่าง เพื่อเป็นแนวทางใน การศึกษาต่อ หรือประกอบอาชีพ เช่น ช่างไม้ ช่างปูน ช่างไฟฟ้า ช่างเชื่อมโลหะ เป็นต้น 2. ช่วยส่งเสริมให้เกิดการประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรมและการปรับปรุง ซ่อมแซม ดัดแปลง แก้ไขของเก่าให้ใช้งานได้ เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในครอบครัวได้เป็นอย่างดี 3. ช่วยส่งเสริมให้เกิดการทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ มีความรับผิดชอบในหน้าที่ ปฏิบัติงานด้วยความคล่องตัว และมีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพช่าง 4. ช่วยส่งเสริมสิ่งแวดล้อม โดยการแปรสภาพสิ่งของที่ไม่ใช้ประโยชน์แล้วนามา สร้างสรรค์เป็นสิ่งของใหม่ ๆ 5. มีส่วนช่วยส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดยเฉพาะการปลูกฝังให้เป็นผู้มีความอดทน ขยันขันแข็ง มีความซื่อสัตย์สุจริต เป็นตัวอย่างที่ดีของสังคมต่อไป งานช่างและลักษณะของงานช่าง งานช่างจาแนกตามลักษณะงาน ได้ ดังนี้ 1. งานเขียนแบบ เป็นการถ่ายทอดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ของวิศวกรหรือนักออกแบบ ให้ออกมาเป็นรูปเป็นร่างบนกระดาษ รูปร่างที่เกิดขึ้นจากการลากเส้นหลาย ๆ อย่าง เช่น เส้นดิ่ง เส้นโค้ง เส้นเอียง เส้นนอน มาประกอบกันเกิดเป็นรูปร่างเรียกว่า แบบ หรือ แบบงาน สามารถ นาไปสร้างผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น สิ่งของอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องจักรต่าง ๆ เป็นต้น งานเขียนแบบจาแนกตามลักษณะของงานได้ 2 ประเภท คือ 1.1 งานเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม เช่น อาคารที่พักอาศัย อาคารสาธารณะ โบราณสถาน ฯลฯ ดังรูปที่ 1.1 1.2 งานเขียนแบบทางวิศวกรรม เช่น แบบไฟฟ้า แบบงานโลหะ แบบเครื่องยนต์ ฯลฯ ดังรูปที่ 1.2
  • 21. 20 รูปที่1.1 งานเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555) รูปที่ 1.2 งานเขียนแบบทางวิศวกรรม ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555)
  • 22. 21 2. งานไฟฟ้า ในสภาพความเจริญของโลกยุคปัจจุบัน มีผลทาให้การดาเนินชีวิตประจาวันของมนุษย์ ต้องเกี่ยวข้องกับของใช้ที่เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า เพราะเครื่องใช้ไฟฟ้าให้ความสะดวก ความสุขสบาย อย่างไรก็ตาม หากใช้ไม่เป็นหรือใช้ไม่ถูกต้อง ก็ย่อมมีโทษเช่นกัน การใช้จึงต้องคานึงถึงเรื่อง ความปลอดภัย ความประหยัดและอายุการใช้งาน งานไฟฟ้าที่เป็นงานที่ต้องใช้ความรู้ ทักษะ และ ประสบการณ์ของการนาเอาพลังงานไฟฟ้ามาใช้ ในลักษณะของการเปลี่ยนเป็นรูปอื่น ๆ เช่น แสงสว่าง ความร้อน พลังงานกล งานไฟฟ้าในงานช่างพื้นฐาน สามารถปฏิบัติได้ทั้งชายและหญิง เพราะเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน ซึ่งจะต้องรู้จักเครื่องมือเครื่องใช้ วิธีใช้ การเก็บ บารุงรักษา ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ สามารถจัดหาและนามาใช้ได้อย่างประหยัดและปลอดภัย งานไฟฟ้าจาแนกตามลักษณะของงานได้ 2 ประเภท ดังนี้ 2.1 งานไฟฟ้ากาลัง เช่น งานเดินสายไฟฟ้าภายนอกและภายในอาคาร งานควบคุม เครื่องกลไฟฟ้า 2.2 งานอิเล็กทรอนิกส์ เช่น งานวิทยุ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เป็นต้น ดังภาพที่ 1.3 รูปที่1.3 งานเดินสายไฟฟ้า ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555)
  • 23. 22 3. งานช่างยนต์ เป็นงานที่ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถในการซ่อมแซมและบารุงรักษายานยนต์ ดังนั้น จึงต้องมีการเรียนรู้ในเรื่องของเครื่องยนต์เป็นหลัก ในปัจจุบันยานยนต์ที่นิยมใช้ได้แก่ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายในการใช้งานและการดูแลรักษามาก การยืดอายุการใช้งาน การ ดูแลตรวจเช็คจะช่วยลดค่าใช้จ่ายและอุบัติเหตุจากการใช้งานของเครื่องยนต์ได้งานช่างยนต์สามารถ จาแนกตามลักษณะงานได้ 3 ประเภท ดังนี้ 3.1 การใช้งานและการควบคุมเครื่องยนต์ เช่น การขับขี่รถยนต์ 3.2 การบริการตรวจซ่อม ปรับแต่ง เช่น การเปลี่ยนชิ้นส่วนที่ชารุดสึกหรอหมดอายุ การใช้งานปรับอัตราเร็วเดินเบาของเครื่องยนต์ ให้มีสภาพสมบูรณ์ในการใช้งานเป็นต้น 3.3 การบารุงรักษาเครื่องยนต์ เช่น ล้างอัดฉีด เปลี่ยนถ่ายน้ามันเครื่อง อัดจาระบี เป็นต้น ดังภาพที่ 1.4 รูปที่1.4 งานช่างยนต์ ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555)
  • 24. 23 4. งานโลหะ งานโลหะเป็นงานที่ต้องอาศัยทักษะ แรงกาย ความอดทน ความประณีตและบางครั้ง ต้องใช้ เทคนิค วิธีการ และประสบการณ์ในการทางานค่อนข้างสูง ผลงานจึงจะมีคุณภาพและมี ความปลอดภัยในการทางานส่วนประกอบของอาคารบ้านเรือน อุปกรณ์เครื่องใช้ภายในบ้านหลาย ชนิด ทาด้วยโลหะ หรือโลหะเป็นส่วนประกอบ เช่น รางน้า ลูกกรง ประตู หม้อ กระทะ ถังน้า เครื่องเรือน เป็นต้น เครื่องใช้แต่ละอย่างใช้โลหะต่าง ๆ กัน เช่น ทองแดง ทองเหลือง เหล็ก อะลูมิเนียม มีรูปแบบต่าง ๆ กันตามลักษณะของการใช้งาน เครื่องใช้โลหะทุกอย่าง เมื่อใช้นานวัน ย่อมมีการชารุดเสียหายต้องบารุงรักษา เพื่อให้ใช้งานต่อไปได้อีก งานช่างโลหะบางชนิด เช่น งาน ช่างโลหะแผ่น สามารถนามาสร้างสรรค์เป็นเครื่องใช้เครื่องตกแต่งภายในบ้านได้ งานโลหะ สามารถจาแนกได้ 6 ประเภท ดังนี้ 4.1 งานโลหะแผ่น เช่น แผ่นมุงหลังคา เฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ ตู้เก็บของโต๊ะทางาน เป็นต้น 4.2 งานเคาะขึ้นรูปโลหะ เช่น ตัวถังรถยนต์ ตัวถังจักรยานยนต์ เป็นต้น 4.3 งานเหล็กดัดขึ้นรูป เช่น โครงหลังคา เหล็กดัดประตูหน้าต่าง เป็นต้น 4.4 งานเชื่อมโลหะ เช่น เชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้า เชื่อมโลหะด้วยแก๊ส เป็นต้น 4.5 งานหล่อโลหะ เช่น แม่พิมพ์งานต่าง ๆ ชิ้นส่วนเครื่องจักร เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ เป็นต้น 4.6 งานผลิตภัณฑ์อะลูมิเนียม เช่น โครงฝ้าเพดาน วงกบประตูหน้าต่าง มุ้งลวด เป็นต้น ดังภาพที่ 1.5 รูปที่1.5 งานช่างโลหะ ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555)
  • 25. 24 5. งานไม้ งานไม้เป็นงานช่างที่ใช้ฝีมือและความคิดสร้างสรรค์ ช่างไม้ต้องมีความอดทน ขยัน มี ความรับผิดชอบสูง สามารถนาทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นไม้มาประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ ได้อย่าง เหมาะสมทั้งนี้จะต้องมีทักษะในการใช้เครื่องมือและวัสดุ จึงจะสามารถปฏิบัติได้ทั้งชายและหญิง เช่น การซ่อมบารุงรักษาเฟอร์นิเจอร์หรือส่วนประกอบของอาคารบ้านเรือน เป็นต้น งานช่างไม้ จาแนกตามลักษณะงานได้ 3 ประเภท คือ 5.1 งานไม้ก่อสร้าง เช่น งานไม้ก่อสร้างอาคารบ้านเรือนต่าง ๆ งานไม้ทั่วไป 5.2 งานไม้ครุภัณฑ์ประเภทเฟอร์นิเจอร์ และตกแต่งภายใน เช่น ตู้ เตียง โต๊ะ เก้าอี้ เคาน์เตอร์ ฯลฯ 5.3 งานไม้แกะสลัก เป็นงานไม้ที่ต้องใช้ความประณีตด้วยการแกะสลัก เช่น ประตู หน้าต่าง ภาพประดับผนัง ฯลฯ ดังภาพที่ 1.6 รูปที่1.6 งานช่างไม้ ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555) 6. งานปูน เป็นงานหลักในงานก่อสร้าง อาคารสมัยก่อน งานก่อสร้างจะใช้ไม้เป็นหลัก ปัจจุบัน ไม้มีจานวนน้อย ราคาสูง นอกจากนี้ยังช่วยในการต่อเติมซ่อมแซมสิ่งก่อสร้าง เหมาะสาหรับงานที่ ไม่ใหญ่นัก เช่น การก่ออิฐ ทาขอบไม้ การเทปูนทางเดิน เป็นต้น งานปูนจาแนกตามลักษณะ ของงานได้ 4 ประเภท ดังนี้ 6.1 งานปูนโครงสร้าง เป็นส่วนที่ใช้รองรับน้าหนักของอาคาร เช่น ฐานราก เสา คาน ตง พื้น ฯลฯ
  • 26. 25 6.2 งานปูนประณีต เป็นงานละเอียดใช้ในการตกแต่งทาลวดลายต่าง ๆ เช่น งานทาบัว งานทาลวดลายต่าง ๆ 6.3 งานปูนเฟอร์นิเจอร์ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ม้านั่ง หินขัด ฯลฯ 6.4 งานปูนสุขภัณฑ์ เช่น งานปูกระเบื้องห้องน้า ห้องครัว และงานระบบท่อน้า เป็นต้น ดังภาพที่ 1.7 รูปที่1.7 งานช่างปูน ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555) 7. งานประปา ระบบประปาและระบบการระบายน้าเสียในอาการบ้านเรือน เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง สาหรับชีวิตประจาวัน ระบบประปาและระบบการระบายน้าโสโครกที่มีประสิทธิภาพมีผลต่อ สุขภาพและอนามัยของผู้อาศัย งานประปาจึงมีความสาคัญและเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการวัด การตัด ต่อท่อ ข้อท่อ มีความสามารถในการซ่อมแซม แก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในระบบประปาและ ระบบการระบายน้าต่าง ๆ ดังภาพที่ 1.8 รูปที่1.8 งานช่างประปา ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555)
  • 27. 26 8. งานสี สีเป็นงานขั้นสุดท้ายของงานช่างหลายแขนง เช่น งานไม้ งานปูน และงานโลหะ เป็นต้น เพื่อตกแต่งงานที่สาเร็จแล้วให้ดูเรียบร้อยสวยงาม และยังช่วยให้งานแต่ละชิ้นมีความคงทน ถาวรยิ่งขึ้น ยืดอายุการใช้งานให้ยาวนาน งานสีมีหลักวิธีการของเครื่องมือเครื่องใช้ และวัสดุที่ต้อง ศึกษาจึงจะสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นงานที่ทาได้ทั้งชายและหญิง ดังภาพที่ 1.9 รูปที่1.9 งานสี ที่มา https://www.google.co.th/search?q.(3 เมษายน 2555) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงาน สิ่งสาคัญประการหนึ่งที่ต้องคานึงถึงคือ ความปลอดภัย เพราะหากเกิด อันตรายจากการปฏิบัติงาน ผลเสียที่เกิดขึ้นอาจจะนาความเดือนร้อนทั้งต่อตนเองหรือต่อผู้อื่น บางครั้งหากเกิดความรุนแรง ความเสียหายที่เกิดขึ้นอาจถึงทุพพลภาพ หรือ ถึงแก่ชีวิตฉะนั้น ผู้ปฏิบัติงานควรให้ความสาคัญและคานึงถึง ดังคาที่ว่า “ปลอดภัยไว้ก่อน” 1. สาเหตุที่ทาให้เกิดอันตรายจากการทางาน หลักใหญ่ของสาเหตุที่ทาให้เกิดอันตราย จากการทางาน สามารถแบ่งออกได้ 4 ประการ ดังนี้ 1.1 เกิดจากผู้ปฏิบัติเอง เช่น การแต่งกายของผู้ปฏิบัติงานไม่รัดกุม ชายเสื้อรุ่มร่าม สวมใส่เครื่องประดับ ร่างกายของผู้ปฏิบัติงานไม่ปกติ มีความเครียด อ่อนเพลีย เจ็บป่วย