SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
99 วิธีหยุดโลกร้อน
ภาคประชาชนทั่วไป
ในฐานะประชาชนคนหนึ่ง สามารถช่วยลดโลกร้อนด้วยการ
ดาเนินวิถีชีวิตแบบพอเพียง โดยการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน
บ้านเรือน ด้วยการปรับเปลี่ยนวิธีการใช้พลังงาน ดังนี้
1) ลดการใช้พลังงาน ด้วยการปิดทีวี คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง
และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เมื่อไม่ได้ใช้งาน จะช่วยลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้
455 กิโลกรัมต่อปี
2) ปิดโหมดสแตนด์บาย เครื่องเสียงระบบไฮไฟ โทรทัศน์
เครื่องบันทึกวิดีโอ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและอุปกรณ์พ่วงต่างๆ ที่ติดมา ด้วย
การดึงปลั๊กออกหรือใช้ปลั๊กเสียบพ่วงที่ตัดไฟด้วยตัวเอง
3) ใช้เป็นหลอดไฟประหยัดพลังงานแบบขดที่เรียกว่า Compact
Fluorescent Lightbulb (CFL) จะกินไฟเพียง 1 ใน 4 ของหลอดไฟเดิม และ
มีอายุการใช้งานได้นานกว่าหลายปี
4) ใช้ไฟแบบหลอด LED จะได้ไฟที่สว่างและประหยัดกว่า
หลอดปกติ 40 เท่า การเปลี่ยนหลอดไส้เป็นหลอดไฟแบบ LED จะช่วย
ลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 68 กิโลกรัมต่อปี
5) ออกแบบบ้าน และตาแหน่งของช่องแสงให้สามารถรับแสง
จากธรรมชาติมาใช้ในอาคารบ้านเรือน ซึ่งจะช่วยลดจานวนหลอดไฟและ
พลังงานไฟฟ้าที่ต้องใช้
6) เลือกใช้หรือทาหลังคาบ้านด้วยสีอ่อน ช่วยลดการดูดซับ
ความร้อน
7) เปิดหน้าต่างรับลมแทนเปิดเครื่องปรับอากาศ จะช่วยลดการ
ปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากการใช้ไฟฟ้าได้ถึง 780 กิโลกรัมต่อปี
8) หากจาเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ ให้ตั้งเครื่องปรับอากาศ
ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส การปรับอุณหภูมิเพิ่มขึ้นทุกๆ 1 องศาเซลเซียส
จะช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ประมาณ 10 %
9) ทาความสะอาดหรือเปลี่ยนแผ่นกรองเครื่องปรับอากาศ เพื่อ
ลดความสกปรกที่ขดลวดน้าเย็น เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องส่งลมเย็น
ทาให้คุณภาพอากาศในห้องดีขึ้น และประหยัดไฟฟ้าได้ 5 - 7 %
10) ไม่นาอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ให้ความร้อนไว้ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ
เช่น ตู้เย็น กระติกน้าร้อน ความร้อนจากอุปกรณ์ดังกล่าวจะทาให้เครื่อง
ปรับอากาศทางานหนัก สิ้นเปลืองพลังงานมากขึ้น
11) ใช้แสงแดดให้เป็นประโยชน์ ในการตากเสื้อผ้าที่ซักแล้วให้
แห้ง ไม่ควรใช้เครื่องปั่นผ้าแห้งหากไม่จาเป็น เพื่อประหยัดการใช้ไฟฟ้า
12) เครื่องซักผ้า ควรใส่จานวนผ้าที่จะซักให้เป็นไปตามกาลัง
ของเครื่อง อย่าใส่มากหรือน้อยจนเกินไป การซักผ้าครั้งละ 2 - 3 ชิ้น
สิ้นเปลืองน้าและไฟฟ้าเท่ากับซักผ้า 20 ชิ้น
13) รีดผ้าครั้งละมากๆ แทนการรีดทีละตัว เพื่อการประหยัดการ
ใช้ไฟฟ้า
14) เลิกใช้ตู้เย็นรุ่นเก่า ที่ผลิตเมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว เพราะใช้ไฟฟ้า
มากเป็น 2 เท่าของตู้เย็นสมัยใหม่ที่มีคุณภาพสูง ซึ่งช่วยประหยัดค่าไฟ และ
ลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ 100 กิโลกรัมต่อปี
15) ยืดอายุการใช้ตู้เย็น และประหยัดพลังงานให้ตู้เย็นโดยไม่นา
อาหารร้อนเข้าตู้เย็น หลีกเลี่ยงการนาถุงพลาสติกใส่ของในตู้เย็น จะทาให้
ตู้เย็นจ่ายความเย็นได้ไม่ทั่วถึงอาหาร
16) ละลายน้าแข็งที่เกาะในตู้เย็น เพราะทาให้ตู้เย็นกินไฟมากขึ้น
และทาความสะอาดตู้เย็นทุกสัปดาห์
17) ใช้น้าประปาอย่างประหยัด ระบบการผลิตน้าประปา ต้องใช้
พลังงานจานวนมากในการทาให้น้าสะอาด และดาเนินการจัดส่งไปยัง
อาคารบ้านเรือน
18) ติดตั้งฝักบัวอาบน้าที่ปรับความแรงน้าต่าๆ จะสิ้นเปลืองน้า
น้อยลง และไม่ปรับอุณหภูมิเกิน 50 องศา จะช่วยลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ได้ 250 กิโลกรัมต่อปี
19) ติดตั้งเครื่องตัดกระแสไฟฟ้าอัตโนมัติ จะช่วยประหยัด
พลังงานไฟฟ้าและลดปริมาณการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น
20) ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสัญลักษณ์ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น
ป้ายฉลากเขียว ประหยัดไฟเบอร์ 5 มาตรฐานผลิตภัณฑ์คุณภาพสินค้า
เกษตรอินทรีย์ เพราะการจะได้ใบรับรองนั้น จะต้องมีการประเมินสินค้า
ตั้งแต่เริ่มต้นหาวัตถุดิบ
21) เลือกซื้อของที่มีการหีบห่อน้อย สินค้าบางอย่างมีหีบห่อ
หลายชั้น การซื้อของที่มีการห่อน้อยจะสามารถลดขยะได้ถึง 10% และ
ช่วยลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 47.45 กิโลกรัมต่อคนต่อปี
22) ลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก หันมาใช้ถุงผ้า ปิ่นโต หรือ
กล่องใส่อาหารแทน เพราะถุงพลาสติกไม่สามารถย่อยสลายได้เองตาม
ธรรมชาติ หากคิดว่า ถุงผ้า 1 ใบ ใช้แทนถุงพลาสติก 12 ใบต่อเดือน คิดเป็น
น้าหนัก 168 กรัมต่อเดือน ขยะ 1 กิโลกรัม ฝังกลบเกิดคาร์บอนไดออกไซด์
1.3 กิโลกรัม ดังนั้น ลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 0.22 กิโลกรัมต่อเดือน หรือ
2.62 กิโลกรัมต่อปี
23) เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีภาชนะบรรจุที่เมื่อใช้สินค้าหมดแล้ว
สามารถหาซื้อเฉพาะตัวสินค้ามาเติมในบรรจุภัณฑ์เดิมได้ ช่วยลดขยะจาก
หีบห่อของบรรจุภัณฑ์
24) ใช้กระดาษด้วยความประหยัด กระดาษแต่ละแผ่นทามาจาก
ต้นไม้ ดังนั้นการใช้กระดาษแต่ละแผ่นควรใช้ให้ประหยัด ทั้งด้านหน้า
ด้านหลัง ใช้เสร็จควรนามาเป็นวัสดุรอง หรือนามาเช็ดกระจกก็ได้
25) เลือกใช้กระดาษรีไซเคิล จะช่วยลดขั้นตอนหลายขั้นตอน
ในกระบวนการผลิตกระดาษ แม้จะมีราคาแพงกว่าแต่ถ้ามีความต้องการ
จากผู้บริโภคจานวนมาก กลไกการตลาดก็จะทาให้ราคาถูกลง ช่วยลด
คาร์บอนไดออกไซด์ได้ 2.3 กิโลกรัมต่อกระดาษ 1 รีม
26) ไปตลาดสดแทนซูเปอร์มาร์เก็ต ซื้อผัก ผลไม้ หมู ไก่ ปลา
ในตลาดสดใกล้บ้าน แทนการช้อปปิ้งในซูเปอร์มาร์เก็ต เพราะประหยัด
น้ามัน และอาหารสดทุกอย่างในซุปเปอร์มักมีการห่อหุ้มด้วยพลาสติกและ
โฟม ทาให้เกิดขยะจานวนมาก
27) เลือกซื้อพืชผักให้หลากหลายและปลูกตามฤดูกาลในท้องถิ่น
เป็นการลดการปลูกพืชผักนอกฤดูกาล สนับสนุนสินค้าและผลิตผลจาก
เกษตรกรในท้องถิ่นใกล้บ้าน ช่วยให้เกษตรกรในพื้นที่ไม่ต้องขนส่งผลิตผลให้
พ่อค้าคนกลางนาไปขายในพื้นที่ไกลๆ
28) ทานสเต๊กและแฮมเบอร์เกอร์ในร้านใหญ่ๆ ให้น้อยลง เพราะ
อุตสาหกรรมเนื้อระดับนานาชาติ ผลิตก๊าซเรือนกระจกถึง 18% สาเหตุหลัก
คือก๊าซไนตรัสออกไซด์จากมูลวัวและก๊าซมีเทน ซึ่งถูกปลดปล่อยออกมาจาก
ลักษณะทางธรรมชาติของวัวที่ย่อยอาหารได้ช้า (มีกระเพาะอาหาร 4 ตอน)
มีเทนเป็นก๊าซเรือนกระจกที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเรือนกระจกได้มากกว่า
คาร์บอนไดออกไซด์ถึง 23 เท่า ในขณะที่ไนตรัสออกไซด์ก่อผลได้มากกว่า
คาร์บอนไดออกไซด์ 296 เท่า
29). พยายามรับประทานอาหารให้หมด เพราะเศษอาหารที่เหลือ
ทิ้งไว้จะก่อให้เกิดก๊าซมีเทน ซึ่งก่อให้เกิดความร้อนต่อโลก เมื่อหลายคน
รวมๆกันก็เป็นปริมาณความร้อนที่มาก
30) ป้องกันการปล่อยก๊าซมีเทนสู่บรรยากาศ ด้วยการแยกขยะ
อินทรีย์ เช่น เศษผัก เศษอาหาร ออกจากขยะอื่นๆ หากนาไปใช้ประโยชน์
ต่อได้เป็นดีที่สุด เช่น นาไปเลี้ยงสัตว์ นาไปผลิตเป็นก๊าซชีวภาพ
31) ขยะที่สามารถนาไปรีไซเคิลได้ นาไปขายหรือนามาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ใหม่ เช่น ขวดแก้ว นามาทาเป็นแจกัน หรือใส่น้าดื่มได้ สามารถ
ลดการผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 455 กิโลกรัมต่อปี
32) ตั้งเป้าลดการผลิตขยะของตัวเองให้ได้ 1 ใน 4 ส่วน หรือ
มากกว่า จะช่วยประหยัดทรัพยากรและลดก๊าซเรือนกระจกได้อีกจานวน
มาก
33) ใช้รถยนต์ส่วนตัวให้น้อยลง ด้วยการปั่นจักรยาน ใช้รถ
โดยสารประจาทาง หรือใช้การเดิน เมื่อต้องไปทากิจกรรมหรือธุระใกล้ๆ
บ้าน เพราะการขับรถยนต์น้อยลง หมายถึงการใช้น้ามันลดลง และลดการ
ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ด้วย น้ามันทุกๆ แกลลอนที่ประหยัดได้จะลด
คาร์บอนไดออกไซด์ได้ 9 กิโลกรัม
34) ไปร่วมกันประหยัดน้ามันแบบ Car Pool นัดเพื่อนร่วมงานที่มี
บ้านอาศัยใกล้ๆ กัน นั่งรถยนต์ไปทางานด้วยกัน ช่วยประหยัดน้ามัน และ
ยังช่วยลดจานวนรถติดบนถนน ช่วยลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง
400 กิโลกรัมต่อปี
35) หากจะเลือกซื้อรถยนต์ ให้คานึงถึงขนาดตามความจาเป็น
โดยพิจารณาจากขนาดครอบครัวและประโยชน์การใช้งาน รวมทั้งพิจารณา
รุ่นที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด การขับรถโฟว์วีลขับเคลื่อนแบบ 4 ล้อ
ทาให้สิ้นเปลืองน้ามันมาก และตะแกรงขนสัมภาระบนหลังคารถเป็นสิ่งไม่
จาเป็น เป็นการเพิ่มน้าหนักให้กับรถทาให้สิ้นเปลืองน้ามัน
36) ไม่ติดตั้งอุปกรณ์ตกแต่งที่ทาให้เครื่องยนต์ทางานหนักขึ้น
เช่น การทาให้เกิดการต้านลมขณะวิ่ง หรือทาให้เครื่องยนต์ไม่สามารถถ่ายเท
ความร้อนได้ดี หากติดตั้งอุปกรณ์ที่ไม่จาเป็นประมาณ 10 กิโลกรัม วิ่งเป็น
ระยะทาง 25 กิโลกรัม ทาเช่นนี้ 1 ปี จะสิ้นเปลืองน้ามัน 28 ลิตร คิดเป็น
คาร์บอนไดออกไซด์ 56 กิโลกรัม/ปี/คัน
37) ไม่บรรทุกสิ่งที่ไม่จาเป็น ควรเก็บของที่ไม่ใช้ลงจากรถบ้าง
รถที่มีน้าหนักเพิ่มขึ้นจะทาให้เปลืองน้ามันมากขึ้น
38) ดับเครื่องยนต์เมื่อจอดรถรอนาน หรือเติมน้ามัน อย่าสตาร์ท
รถทิ้งไว้ ทาให้สิ้นเปลืองน้ามัน รถยนต์ 1 คัน ดับเครื่องยนต์ขณะจอดรถ
รอนาน 5 นาที ประหยัดน้ามัน 0.1 ลิตร ลดคาร์บอนไดออกไซด์ 0.2 กิโลกรัม
39) ขับรถอย่างมีประสิทธิภาพ ในระยะทางไกลการขับรถด้วย
ความเร็วไม่เกิน 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะช่วยลดการใช้น้ามันลงได้ 20%
หรือคิดเป็นปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดได้ 1,000 กิโลกรัมต่อรถยนต์
แต่ละคันที่ใช้งานราว 30,000 กิโลเมตรต่อปี
40) หมั่นเปลี่ยนน้ามันเครื่อง ไส้กรองน้ามันเครื่อง ไส้กรอง
อากาศ ตามระยะเวลาที่กาหนด ช่วยให้ประหยัดน้ามัน ถ้าละเลยให้ไส้กรอง
อากาศรถยนต์อุดตัน 6 เดือนใน 1 ปี สิ้นเปลืองน้ามัน 11.7 ลิตร คิดเป็น
คาร์บอนไดออกไซด์ 23.4 กิโลกรัมต่อปีต่อคัน
41) ตรวจ เช็คลมยางเป็นประจา ปรับลมยางให้อยู่ในระดับ
มาตรฐานกาหนด ไม่น้อยหรือไม่มากเกินไป การขับรถที่ยางลมมีน้อย
ทาให้เปลืองน้ามัน หากความดันลมยางต่ากว่ามาตรฐาน 1 ปอนด์/ตารางนิ้ว
สิ้นเปลืองน้ามัน 2% ลดการผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 57.6 กิโลกรัม
ต่อปีต่อคัน
42) หันมาใช้พลังงานทดแทน เปลี่ยนมาใช้พลังงานชีวภาพ เช่น
ไบโอดีเซล เอทานอล ให้มากขึ้น
43) ปลูกต้นไม้ในบริเวณบ้าน ต้นไม้จะช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนได
ออกไซด์ในอากาศ และทาให้อากาศที่เราหายใจสะอาดขึ้น ต้นไม้ 1 ต้น
จะดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 9 กิโลกรัมต่อปี
44) ปลูกไผ่แทนรั้ว ต้นไผ่เติบโตเร็ว เป็นรั้วธรรมชาติที่สวยงาม
และยังดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้ดี
45) ใช้ร่มเงาจากต้นไม้ ช่วยลดความร้อนในตัวอาคารหรือบ้าน
พักอาศัย สามารถลดการใช้เครื่องปรับอากาศ และช่วยลดการใช้ไฟฟ้า
46) ไม่ใช้ปุ๋ยเคมีในสวนไม้ประดับที่บ้าน ให้เลือกใช้ปุ๋ยหมักจาก
ธรรมชาติแทน โดยอาจทาขึ้นเองด้วยการหมักเศษพืช เศษผักผลไม้
47) เลือกใช้บริการโรงแรมที่มีสัญลักษณ์สิ่งแวดล้อม เช่น
โรงแรมใบไม้สีเขียวซึ่งมีมาตรการประหยัดน้า ประหยัดพลังงาน และมีระบบ
จัดการของเสีย
48) อยู่อย่างพอเพียง ไม่ฟุ่มเฟือย ซื้อให้น้อยลง แบ่งปันให้
มากขึ้น ตามพระราชดารัสของในหลวง
49) ชักชวนคนอื่นๆ รอบข้างให้ช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อมและ
ลดปัญหาภาวะโลกร้อน ให้ความรู้ ความเข้าใจและชักชวนคนใกล้ตัว
รวมถึงเพื่อนบ้าน เพื่อขยายเครือข่ายผู้ร่วมหยุดโลกร้อนให้กว้างขวางขึ้น
50) ร่วมกิจกรรมรณรงค์สิ่งแวดล้อมในชุมชน ทากิจกรรมรณรงค์
ให้ความรู้และกระตุ้นให้เกิดการร่วมมือ เพื่อให้เกิดการทากิจกรรมสิ่งแวดล้อม
ที่ต่อเนื่อง และส่งผลให้คนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานบริการสาธารณสุข
สถานบริการสาธารณสุข เช่น โรงพยาบาล สถานีอนามัย
เป็นสถานที่ที่ให้บริการในการรักษาพยาบาล จึงมีประชาชนเข้ามาใช้บริการ
จานวนมาก การที่สถานบริการสาธารณสุขเป็นต้นแบบในการลดโลกร้อน
โดยการปฏิบัติให้เห็นเป็นแบบอย่าง ถือเป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงประชาชนได้
เป็นอย่างดี
51) เป็นต้นแบบสถานบริการสาธารณสุขด้านการลดพลังงาน
เช่น เปิดไฟเฉพาะที่จาเป็น ปิดคอมพิวเตอร์หากหยุดพักการใช้งาน
ถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าเมื่อไม่ใช้งาน ติดตั้งระบบเปิด-ปิดไฟอัตโนมัติ
เป็นต้น การปิดเมื่อเลิกใช้ เปิดเมื่อจาเป็น ช่วยประหยัดไฟได้ 1 - 5 %
52) เลือกใช้อุปกรณ์สานักงานที่มีสัญลักษณ์ประหยัดไฟ และ
ตรวจสอบว่าระบบประหยัดพลังงานได้จริง อุปกรณ์สานักงานประหยัด
ไฟเบอร์ 5 สามารถประหยัดไฟกว่าอุปกรณ์ทั่วไป เช่น คอมพิวเตอร์ 39%
เครื่องพิมพ์เลเซอร์ 55% เครื่องโทรสารเลเซอร์ 53% เครื่องถ่ายเอกสาร 12%
53) เลือกซื้อ เลือกใช้รถยนต์ เมื่อต้องซื้อรถยนต์ประจาสถาน
บริการ ให้เลือกซื้อรถประหยัดพลังงาน
54) สร้างนโยบาย 3Rs Reduce (ลดปริมาณขยะ) Reuse (ใช้ซ้า)
Recycle (นากลับมา ใช้ใหม่) ในสถานบริการ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรอย่างเต็มที่ เป็นการลดพลังงานในการกาจัดขยะ ลดมลพิษและ
ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกระบวนการกาจัด
55) ริเริ่มใช้พลังงานทางเลือกในอาคาร เช่น ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์
เพื่อใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้าเฉพาะจุด หรือ
การนาขยะอินทรีย์มาผลิตแก๊สชีวภาพ ใช้ในการหุงต้มอาหาร การทาปุ๋ย
หมัก ปุ๋ยน้าชีวภาพ
56) แหล่งเรียนรู้ สถานบริการสาธารณสุขที่มีการดาเนินการลด
โลกร้อน ควรจัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของหน่วยงานอื่น หรือชุมชนใกล้เคียง
เพื่อขยายเครือข่ายในการดาเนิน
57) ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ ให้ประชาชนรับรู้เกี่ยวกับปัญหา
ภาวะโลกร้อน และตระหนักถึงการมีส่วนร่วมต่อการลดภาวะโลกร้อน
ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมและบริการ
58) การปิดไฟและเครื่องใช้ไฟฟ้าเมื่อไม่ใช้งานให้ติดเป็นนิสัย
แม้แต่ช่วงพักกลางวัน หรือช่วงพักเบรก ถ้าพนักงาน 10 ล้านคน ปิดไฟที่
ไม่ใช้วันละ 30 นาที ก็เพียงพอสาหรับเก็บพลังงานดังกล่าวไปใช้ในพื้นที่
สานักงานแห่งอื่นๆ อีก 50 ล้านตารางฟุต
59) กดปุ่มปิดหน้าจอมอนิเตอร์หรือจอคอมพิวเตอร์ หรือปิด
เครื่องเมื่อไม่ใช้งาน
60) ใช้บันไดแทนการใช้ลิฟต์ นอกจากจะช่วยประหยัดพลังงาน
ยังได้บริหารร่างกายไปด้วย
61) เลือกใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เอกสารภายในสานักงาน
ที่ไม่ค่อยเป็นทางการนัก หากจาเป็นต้องพิมพ์ควรใช้กระดาษที่ใช้แล้ว
(รีไซเคิล) และเปลี่ยนโหมดเครื่องพิมพ์ให้เป็นแบบขาวดา การใช้หมึกพิมพ์
ขาวดาจะช่วยลดการใช้น้ายาปรับสี กรณีที่จะพิมพ์เอกสารเหมือนกัน
หลายชุด ควรใช้วิธีถ่ายสาเนาแทน
62) ลดการเดินทาง บางครั้งการทางานนอกสถานที่ หรือบางอาชีพ
เช่น นักเขียนที่สามารถนั่งทางานอยู่ในบ้านได้จะช่วยลดการใช้รถใช้ถนน
นอกจากนี้อาจใช้ในการติดต่อสื่อสารแทนการเดินทาง หรือเลือกใช้บริการ
รถโดยสารสาธารณะ หรือรถไฟฟ้าก็จะลดปัญหาโลกร้อนได้อีกวิธีหนึ่ง
63) เลือกซื้อวัสดุสิ่งของที่ทาจากวัสดุรีไซเคิล เวลาเลือกซื้อสินค้า
ควรตรวจดูสินค้านั้นๆ ผลิตจากวัสดุใช้แล้วกี่เปอร์เซ็นต์ ถ้าของชิ้นนั้นมีวัสดุ
ที่ใช้แล้วมากถึง 100% ก็เท่ากับว่าเราไม่ได้ซื้อสินค้าที่โรงงานผลิตต้องนา
วัสดุใหม่มาเป็นส่วนประกอบ รวมถึงการเลือกซื้อกระดาษที่ไม่ได้ใช้
สารคลอรีนฟอก จะช่วยลดการก่อมลภาวะได้มากกว่ากระดาษทั่วไป
64) ลดการใช้ของฟุ่มเฟือย หลีกเลี่ยงการใช้แก้วกระดาษ ให้ใช้
แก้วที่ล้างแล้วสามารถนากลับมาใช้ได้อีก
65) จัดเส้นทางรถรับส่งพนักงาน ถ้าในหน่วยงานมีพนักงาน
จานวนมากอาศัยอยู่ในเส้นทางใกล้ๆ กัน ควรมีสวัสดิการจัดหารถรับส่ง
พนักงานตามเส้นทางสาคัญๆ เป็น Car Pool ระดับองค์กร
66) นาก๊าซมีเทนจากกองขยะมาใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ด้วย
การลงทุนพัฒนาให้เป็นพลังงานทดแทนที่มีประสิทธิภาพ แต่มีต้นทุนต่า
67) สนับสนุนงานวิจัยในองค์กร ค้นคว้าผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม และมีประสิทธิภาพในการลดการใช้พลังงานจากเชื้อเพลิง
ฟอสซิล
68) เป็นผู้นาของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมที่ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม
หากยังไม่มีใครเริ่มต้นโครงการที่ช่วยหยุดปัญหาโลกร้อนอย่างจริงจัง ก็จง
เป็นผู้นาเสียเอง
69) สร้างแบรนด์องค์กร ที่เน้นการดูแลและใส่ใจโลก โดยการ
สร้างภาพลักษณ์ภายนอก แต่เป็นการสร้างความเชื่อมั่นเรื่องความรับผิดชอบ
ที่มาจากภายในองค์กร
ภาคการเกษตร
70) ลดการเผาป่าหญ้า ไม้ริมทุ่ง และต้นไม้ชายป่า เพื่อกาจัด
วัชพืชและเปิดพื้นที่ทาการเกษตร เพราะเป็นการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์
ออกสู่บรรยากาศจานวนมาก นอกจากนี้การตัดและเผาทาลายป่ายัง
เป็นการทาลายแหล่งกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่สาคัญ
71) ปลูกพืชผักให้หลากหลายและปลูกตามฤดูกาลในท้องถิ่น
เป็นการลดการปลูกพืชผักนอกฤดูกาล ที่ต้องใช้พลังงานเพื่อถนอมอาหาร
และผ่านกระบวนการบรรจุเป็นอาหารกระป๋อง
72) รวมกลุ่มสร้างตลาดผู้บริโภค-ผู้ผลิตโดยตรงในท้องถิ่น เพื่อ
ลดกระบวนการขนส่งผ่านพ่อค้าคนกลาง ที่ต้องใช้พลังงานและน้ามันในการ
คมนาคมขนส่งพืชผักผลไม้ไปยังตลาด
73) ลดการใช้สารเคมีในการเกษตร หันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ นอกจาก
จะเป็นการลดปัญหาการปลดปล่อยไนตรัสออกไซด์สู่บรรยากาศโลกแล้ว
ในระยะยาวยังเป็นการลดต้นทุนการผลิต และทาให้คุณภาพชีวิตของ
เกษตรกรดีขึ้น ให้ปรึกษาและเรียนรู้จากกลุ่มเกษตรกรทางเลือกที่มีอยู่เป็น
จานวนมากในประเทศไทย
74) บารุงรักษาเครื่องยนต์ที่ใช้ในการเกษตรและการประมงให้มี
สภาพสมบูรณ์ จะช่วยประหยัดการใช้น้ามัน
สถาปนิกและนักออกแบบ
75) ออกแบบพิมพ์เขียวบ้านพักอาศัยที่สามารถช่วย “ลดโลก
ร้อน” การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก โดยคิดถึงการติดตั้งระบบการใช้
พลังงานที่ง่าย ไม่จาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสูงๆ แต่ใช้งานได้จริง เช่น การดู
ทิศทางลม การดูทิศทางการขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์ อาจช่วยลดค่าใช้จ่าย
เรื่องพลังงานในบ้านได้ถึง 40%
76) ช่วยออกแบบสร้างบ้านหลังเล็ก บ้านหลังเล็กใช้พลังงาน
น้อยกว่าบ้านหลังใหญ่ และใช้วัสดุอุปกรณ์การก่อสร้างน้อยกว่า
สถาบันการศึกษา
77) ให้ความรู้ และสร้างความตระหนักให้กับนักเรียน นักศึกษา
เกี่ยวกับปัญหาโลกร้อน
78) ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรม ชมรมที่เกี่ยวกับการลดโลกร้อน เช่น
การลดปริมาณขยะ การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใช้เทคนิคการ
เรียนรู้หลากหลายจากกิจกรรมเป็นสื่อในการปลูกจิตสานึกแก่นักเรียน
นักศึกษา
79) ขยายความรู้สู่ผู้ปกครอง ชุมชนข้างเคียง ให้เกิดการปฏิบัติ
เพื่อลดโลกร้อน ขยายการมีส่วนร่วมสู่ชุมชน
สื่อมวลชน
80) ให้สื่อมวลชนช่วยเผยแพร่ให้ความรู้ และสร้างความตระหนัก
กับสาธารณชน เกี่ยวกับปัญหาภาวะโลกร้อน ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศและนาไปเป็นประเด็นปัญหาของท้องถิ่น ที่ต้องช่วยกันลด
ภาวะโลกร้อน
81) สร้างความสนใจกับสาธารณชน เกี่ยวกับปัญหาโลกร้อนให้
อยู่ในความสนใจของสาธารณชนอย่างต่อเนื่อง
82) เป็นผู้นากระแสของสังคมเรื่องชีวิตที่พอเพียง สาเหตุหนึ่ง
ของปัญหาโลกร้อนก็คือ กระแสการบริโภคทรัพยากรจานวนมหาศาล
การยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นหนทางป้องกันและลดปัญหา
โลกร้อนได้
83) ใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อออกแบบงานโฆษณา ที่สอดแทรก
ประเด็นปัญหาของภาวะโลกร้อน
นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ และวิศวกร
84) ค้นคว้า วิจัย หาแนวทางและเทคโนโลยีใหม่ที่มีประสิทธิภาพ
ในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
85) ศึกษาและทาวิจัยในระดับพื้นที่ เพื่อให้มีข้อมูลที่ชัดเจน
เกี่ยวกับผลกระทบของภาวะโลกร้อนต่อพื้นที่เสี่ยงของประเทศไทย
86) ประสานและทางานร่วมกับสื่อมวลชน เพื่อแปลงข้อมูลทาง
วิทยาศาสตร์ไปสู่การรับรู้และเข้าใจของประชาชนในสังคมวงกว้าง
นักการเมือง ผู้ว่าราชการฯ และรัฐบาล
87) วางแผนการจัดหาพลังงานในอนาคต รัฐจาเป็นต้องมีการ
วิเคราะห์ทางเลือก เพื่อมุ่งจัดการแก้ไขปัญหาพลังงานและสิ่งแวดล้อม
ที่มองไปข้างหน้า
88) สนับสนุนให้มีการพัฒนาการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ทั้งการ
สนับสนุนงบประมาณในการวิจัย และการพัฒนาระบบให้มีต้นทุนต่าและ
คุ้มค่าในการใช้งาน
89) สนับสนุนกลไกต่างๆ สาหรับพลังงานหมุนเวียน เพื่อสร้าง
แรงจูงใจในการปรับปรุงเทคโนโลยีและการลดต้นทุน
90) สนับสนุนอุตสาหกรรมพลังงานหมุนเวียน เพื่อกระตุ้นให้เกิด
การลงทุนของภาคเอกชน รัฐบาลควรหามาตรการที่ชัดเจนในการสนับสนุน
อุตสาหกรรมหมุนเวียน ซึ่งเป็นพลังงานสะอาด เช่น พลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานลม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับอุตสาหกรรมพลังงานอื่นๆ ที่ใช้พลังงาน
จากเชื้อเพลิงฟอสซิล ที่เป็นสาเหตุหลักของการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์
สู่บรรยากาศ
91) มีนโยบายทางการเมืองที่ชัดเจน ในการสนับสนุนการ
“หยุดภาวะโลกร้อน” เสนอต่อประชาชน
92) สนับสนุนโครงสร้างทางกายภาพ ให้ประชาชนตระหนักและ
มีส่วนร่วมในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เช่น จัดการให้มี
โครงการเส้นทางจักรยานที่ปลอดภัยให้กับประชาชนในเมืองสามารถขับขี่
จักรยาน ลดการใช้รถยนต์
93) ลดจานวนรถยนต์ส่วนบุคคลบนถนนกรุงเทพมหานครอย่าง
จริงจัง ด้วยการสนับสนุนระบบขนส่งมวลชนที่มีประสิทธิภาพ
94) ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายกลุ่มเกษตรทางเลือก ด้วยการลด
และเลิกการใช้สารเคมีที่ทาให้เกิดการปลดปล่อยก๊าซไนตรัสออกไซด์
สู่บรรยากาศโลก และหันมาใช้เกษตรอินทรีย์
95) ส่งเสริมเครือข่ายการตลาดให้กับกลุ่มเกษตรกรทางเลือก
ซึ่งการส่งเสริมการตลาดสีเขียว ด้วยการสร้างเครือข่ายการตลาดที่กระจาย
ศูนย์ไปสู่กลุ่มจังหวัดหรือภูมิภาค จะช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
จากกระบวนการขนส่งผลผลิตไปยังตลาดไกลๆ อีกด้วย
96) พิจารณาใช้กฎหมายการเก็บภาษี เป็นเครื่องมือในการ
ควบคุมปริมาณก๊าซเรือนกระจก โดยเฉพาะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เช่น
การเก็บภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) สาหรับภาคอุตสาหกรรม
97) เปลี่ยนแปลงระบบการจัดเก็บภาษี โดยการสร้างระบบการ
จัดเก็บภาษีที่สามารถสะท้อนให้เห็นต้นทุนทางอ้อมจากกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจตัวใดตัวหนึ่ง ซึ่งทาให้สังคมต้องแบกรับภาระนั้นอย่างชัดเจน เช่น
ภาษีที่เรียกเก็บจากถ่านหิน ก็จะต้องรวมถึงต้นทุนในการดูแลรักษาสุขภาพที่
จะต้องเพิ่มขึ้นจากปัญหามลพิษ และต้นทุนความเสียหายจากสภาพอากาศ
ที่เปลี่ยนแปลงไป
98) ปฏิรูปภาษีสิ่งแวดล้อม เป็นก้าวต่อไปที่ท้าทายของนักการเมือง
และรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งในการปรับเปลี่ยนและสร้างจิตสานึกใหม่
ให้สังคม การเพิ่มการจัดเก็บภาษีสาหรับกิจกรรมที่มีผลทาลายสภาพ
แวดล้อมให้สูงขึ้นเป็นการชดเชย เช่น การเก็บภาษีจากกิจกรรมที่มีการ
ปล่อยคาร์บอน ภาษีจากกองขยะ
99) กาหนดทิศทางประเทศให้มุ่งสู่แนวทางของการดาเนินชีวิต
อย่างพอเพียง โดยยึดหลักเศรษฐกิจตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นแกนหลักของการพัฒนาประเทศ__
ภาพพื้นหลัง:https://inlove1998.wordpress.com
ที่มา: สานักงานอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัยกระทรวงสาธาณสุข

More Related Content

More from Nipitapon Khantharot (6)

2559 project
2559 project  2559 project
2559 project
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
 
พรบ 1
พรบ 1พรบ 1
พรบ 1
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
My Profile
My ProfileMy Profile
My Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 

99 วิธีหยุดโลกร้อน

  • 1. 99 วิธีหยุดโลกร้อน ภาคประชาชนทั่วไป ในฐานะประชาชนคนหนึ่ง สามารถช่วยลดโลกร้อนด้วยการ ดาเนินวิถีชีวิตแบบพอเพียง โดยการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน บ้านเรือน ด้วยการปรับเปลี่ยนวิธีการใช้พลังงาน ดังนี้ 1) ลดการใช้พลังงาน ด้วยการปิดทีวี คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เมื่อไม่ได้ใช้งาน จะช่วยลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 455 กิโลกรัมต่อปี 2) ปิดโหมดสแตนด์บาย เครื่องเสียงระบบไฮไฟ โทรทัศน์ เครื่องบันทึกวิดีโอ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและอุปกรณ์พ่วงต่างๆ ที่ติดมา ด้วย การดึงปลั๊กออกหรือใช้ปลั๊กเสียบพ่วงที่ตัดไฟด้วยตัวเอง 3) ใช้เป็นหลอดไฟประหยัดพลังงานแบบขดที่เรียกว่า Compact Fluorescent Lightbulb (CFL) จะกินไฟเพียง 1 ใน 4 ของหลอดไฟเดิม และ มีอายุการใช้งานได้นานกว่าหลายปี 4) ใช้ไฟแบบหลอด LED จะได้ไฟที่สว่างและประหยัดกว่า หลอดปกติ 40 เท่า การเปลี่ยนหลอดไส้เป็นหลอดไฟแบบ LED จะช่วย ลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 68 กิโลกรัมต่อปี 5) ออกแบบบ้าน และตาแหน่งของช่องแสงให้สามารถรับแสง จากธรรมชาติมาใช้ในอาคารบ้านเรือน ซึ่งจะช่วยลดจานวนหลอดไฟและ พลังงานไฟฟ้าที่ต้องใช้ 6) เลือกใช้หรือทาหลังคาบ้านด้วยสีอ่อน ช่วยลดการดูดซับ ความร้อน
  • 2. 7) เปิดหน้าต่างรับลมแทนเปิดเครื่องปรับอากาศ จะช่วยลดการ ปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากการใช้ไฟฟ้าได้ถึง 780 กิโลกรัมต่อปี 8) หากจาเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ ให้ตั้งเครื่องปรับอากาศ ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส การปรับอุณหภูมิเพิ่มขึ้นทุกๆ 1 องศาเซลเซียส จะช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ประมาณ 10 % 9) ทาความสะอาดหรือเปลี่ยนแผ่นกรองเครื่องปรับอากาศ เพื่อ ลดความสกปรกที่ขดลวดน้าเย็น เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องส่งลมเย็น ทาให้คุณภาพอากาศในห้องดีขึ้น และประหยัดไฟฟ้าได้ 5 - 7 % 10) ไม่นาอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ให้ความร้อนไว้ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ เช่น ตู้เย็น กระติกน้าร้อน ความร้อนจากอุปกรณ์ดังกล่าวจะทาให้เครื่อง ปรับอากาศทางานหนัก สิ้นเปลืองพลังงานมากขึ้น 11) ใช้แสงแดดให้เป็นประโยชน์ ในการตากเสื้อผ้าที่ซักแล้วให้ แห้ง ไม่ควรใช้เครื่องปั่นผ้าแห้งหากไม่จาเป็น เพื่อประหยัดการใช้ไฟฟ้า 12) เครื่องซักผ้า ควรใส่จานวนผ้าที่จะซักให้เป็นไปตามกาลัง ของเครื่อง อย่าใส่มากหรือน้อยจนเกินไป การซักผ้าครั้งละ 2 - 3 ชิ้น สิ้นเปลืองน้าและไฟฟ้าเท่ากับซักผ้า 20 ชิ้น 13) รีดผ้าครั้งละมากๆ แทนการรีดทีละตัว เพื่อการประหยัดการ ใช้ไฟฟ้า 14) เลิกใช้ตู้เย็นรุ่นเก่า ที่ผลิตเมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว เพราะใช้ไฟฟ้า มากเป็น 2 เท่าของตู้เย็นสมัยใหม่ที่มีคุณภาพสูง ซึ่งช่วยประหยัดค่าไฟ และ ลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ 100 กิโลกรัมต่อปี 15) ยืดอายุการใช้ตู้เย็น และประหยัดพลังงานให้ตู้เย็นโดยไม่นา อาหารร้อนเข้าตู้เย็น หลีกเลี่ยงการนาถุงพลาสติกใส่ของในตู้เย็น จะทาให้ ตู้เย็นจ่ายความเย็นได้ไม่ทั่วถึงอาหาร
  • 3. 16) ละลายน้าแข็งที่เกาะในตู้เย็น เพราะทาให้ตู้เย็นกินไฟมากขึ้น และทาความสะอาดตู้เย็นทุกสัปดาห์ 17) ใช้น้าประปาอย่างประหยัด ระบบการผลิตน้าประปา ต้องใช้ พลังงานจานวนมากในการทาให้น้าสะอาด และดาเนินการจัดส่งไปยัง อาคารบ้านเรือน 18) ติดตั้งฝักบัวอาบน้าที่ปรับความแรงน้าต่าๆ จะสิ้นเปลืองน้า น้อยลง และไม่ปรับอุณหภูมิเกิน 50 องศา จะช่วยลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ 250 กิโลกรัมต่อปี 19) ติดตั้งเครื่องตัดกระแสไฟฟ้าอัตโนมัติ จะช่วยประหยัด พลังงานไฟฟ้าและลดปริมาณการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น 20) ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสัญลักษณ์ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม เช่น ป้ายฉลากเขียว ประหยัดไฟเบอร์ 5 มาตรฐานผลิตภัณฑ์คุณภาพสินค้า เกษตรอินทรีย์ เพราะการจะได้ใบรับรองนั้น จะต้องมีการประเมินสินค้า ตั้งแต่เริ่มต้นหาวัตถุดิบ 21) เลือกซื้อของที่มีการหีบห่อน้อย สินค้าบางอย่างมีหีบห่อ หลายชั้น การซื้อของที่มีการห่อน้อยจะสามารถลดขยะได้ถึง 10% และ ช่วยลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 47.45 กิโลกรัมต่อคนต่อปี 22) ลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก หันมาใช้ถุงผ้า ปิ่นโต หรือ กล่องใส่อาหารแทน เพราะถุงพลาสติกไม่สามารถย่อยสลายได้เองตาม ธรรมชาติ หากคิดว่า ถุงผ้า 1 ใบ ใช้แทนถุงพลาสติก 12 ใบต่อเดือน คิดเป็น น้าหนัก 168 กรัมต่อเดือน ขยะ 1 กิโลกรัม ฝังกลบเกิดคาร์บอนไดออกไซด์ 1.3 กิโลกรัม ดังนั้น ลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 0.22 กิโลกรัมต่อเดือน หรือ 2.62 กิโลกรัมต่อปี 23) เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีภาชนะบรรจุที่เมื่อใช้สินค้าหมดแล้ว
  • 4. สามารถหาซื้อเฉพาะตัวสินค้ามาเติมในบรรจุภัณฑ์เดิมได้ ช่วยลดขยะจาก หีบห่อของบรรจุภัณฑ์ 24) ใช้กระดาษด้วยความประหยัด กระดาษแต่ละแผ่นทามาจาก ต้นไม้ ดังนั้นการใช้กระดาษแต่ละแผ่นควรใช้ให้ประหยัด ทั้งด้านหน้า ด้านหลัง ใช้เสร็จควรนามาเป็นวัสดุรอง หรือนามาเช็ดกระจกก็ได้ 25) เลือกใช้กระดาษรีไซเคิล จะช่วยลดขั้นตอนหลายขั้นตอน ในกระบวนการผลิตกระดาษ แม้จะมีราคาแพงกว่าแต่ถ้ามีความต้องการ จากผู้บริโภคจานวนมาก กลไกการตลาดก็จะทาให้ราคาถูกลง ช่วยลด คาร์บอนไดออกไซด์ได้ 2.3 กิโลกรัมต่อกระดาษ 1 รีม 26) ไปตลาดสดแทนซูเปอร์มาร์เก็ต ซื้อผัก ผลไม้ หมู ไก่ ปลา ในตลาดสดใกล้บ้าน แทนการช้อปปิ้งในซูเปอร์มาร์เก็ต เพราะประหยัด น้ามัน และอาหารสดทุกอย่างในซุปเปอร์มักมีการห่อหุ้มด้วยพลาสติกและ โฟม ทาให้เกิดขยะจานวนมาก 27) เลือกซื้อพืชผักให้หลากหลายและปลูกตามฤดูกาลในท้องถิ่น เป็นการลดการปลูกพืชผักนอกฤดูกาล สนับสนุนสินค้าและผลิตผลจาก เกษตรกรในท้องถิ่นใกล้บ้าน ช่วยให้เกษตรกรในพื้นที่ไม่ต้องขนส่งผลิตผลให้ พ่อค้าคนกลางนาไปขายในพื้นที่ไกลๆ 28) ทานสเต๊กและแฮมเบอร์เกอร์ในร้านใหญ่ๆ ให้น้อยลง เพราะ อุตสาหกรรมเนื้อระดับนานาชาติ ผลิตก๊าซเรือนกระจกถึง 18% สาเหตุหลัก คือก๊าซไนตรัสออกไซด์จากมูลวัวและก๊าซมีเทน ซึ่งถูกปลดปล่อยออกมาจาก ลักษณะทางธรรมชาติของวัวที่ย่อยอาหารได้ช้า (มีกระเพาะอาหาร 4 ตอน) มีเทนเป็นก๊าซเรือนกระจกที่ทาให้เกิดปฏิกิริยาเรือนกระจกได้มากกว่า คาร์บอนไดออกไซด์ถึง 23 เท่า ในขณะที่ไนตรัสออกไซด์ก่อผลได้มากกว่า คาร์บอนไดออกไซด์ 296 เท่า
  • 5. 29). พยายามรับประทานอาหารให้หมด เพราะเศษอาหารที่เหลือ ทิ้งไว้จะก่อให้เกิดก๊าซมีเทน ซึ่งก่อให้เกิดความร้อนต่อโลก เมื่อหลายคน รวมๆกันก็เป็นปริมาณความร้อนที่มาก 30) ป้องกันการปล่อยก๊าซมีเทนสู่บรรยากาศ ด้วยการแยกขยะ อินทรีย์ เช่น เศษผัก เศษอาหาร ออกจากขยะอื่นๆ หากนาไปใช้ประโยชน์ ต่อได้เป็นดีที่สุด เช่น นาไปเลี้ยงสัตว์ นาไปผลิตเป็นก๊าซชีวภาพ 31) ขยะที่สามารถนาไปรีไซเคิลได้ นาไปขายหรือนามาใช้ให้เกิด ประโยชน์ใหม่ เช่น ขวดแก้ว นามาทาเป็นแจกัน หรือใส่น้าดื่มได้ สามารถ ลดการผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 455 กิโลกรัมต่อปี 32) ตั้งเป้าลดการผลิตขยะของตัวเองให้ได้ 1 ใน 4 ส่วน หรือ มากกว่า จะช่วยประหยัดทรัพยากรและลดก๊าซเรือนกระจกได้อีกจานวน มาก 33) ใช้รถยนต์ส่วนตัวให้น้อยลง ด้วยการปั่นจักรยาน ใช้รถ โดยสารประจาทาง หรือใช้การเดิน เมื่อต้องไปทากิจกรรมหรือธุระใกล้ๆ บ้าน เพราะการขับรถยนต์น้อยลง หมายถึงการใช้น้ามันลดลง และลดการ ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ด้วย น้ามันทุกๆ แกลลอนที่ประหยัดได้จะลด คาร์บอนไดออกไซด์ได้ 9 กิโลกรัม 34) ไปร่วมกันประหยัดน้ามันแบบ Car Pool นัดเพื่อนร่วมงานที่มี บ้านอาศัยใกล้ๆ กัน นั่งรถยนต์ไปทางานด้วยกัน ช่วยประหยัดน้ามัน และ ยังช่วยลดจานวนรถติดบนถนน ช่วยลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 400 กิโลกรัมต่อปี 35) หากจะเลือกซื้อรถยนต์ ให้คานึงถึงขนาดตามความจาเป็น โดยพิจารณาจากขนาดครอบครัวและประโยชน์การใช้งาน รวมทั้งพิจารณา รุ่นที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด การขับรถโฟว์วีลขับเคลื่อนแบบ 4 ล้อ
  • 6. ทาให้สิ้นเปลืองน้ามันมาก และตะแกรงขนสัมภาระบนหลังคารถเป็นสิ่งไม่ จาเป็น เป็นการเพิ่มน้าหนักให้กับรถทาให้สิ้นเปลืองน้ามัน 36) ไม่ติดตั้งอุปกรณ์ตกแต่งที่ทาให้เครื่องยนต์ทางานหนักขึ้น เช่น การทาให้เกิดการต้านลมขณะวิ่ง หรือทาให้เครื่องยนต์ไม่สามารถถ่ายเท ความร้อนได้ดี หากติดตั้งอุปกรณ์ที่ไม่จาเป็นประมาณ 10 กิโลกรัม วิ่งเป็น ระยะทาง 25 กิโลกรัม ทาเช่นนี้ 1 ปี จะสิ้นเปลืองน้ามัน 28 ลิตร คิดเป็น คาร์บอนไดออกไซด์ 56 กิโลกรัม/ปี/คัน 37) ไม่บรรทุกสิ่งที่ไม่จาเป็น ควรเก็บของที่ไม่ใช้ลงจากรถบ้าง รถที่มีน้าหนักเพิ่มขึ้นจะทาให้เปลืองน้ามันมากขึ้น 38) ดับเครื่องยนต์เมื่อจอดรถรอนาน หรือเติมน้ามัน อย่าสตาร์ท รถทิ้งไว้ ทาให้สิ้นเปลืองน้ามัน รถยนต์ 1 คัน ดับเครื่องยนต์ขณะจอดรถ รอนาน 5 นาที ประหยัดน้ามัน 0.1 ลิตร ลดคาร์บอนไดออกไซด์ 0.2 กิโลกรัม 39) ขับรถอย่างมีประสิทธิภาพ ในระยะทางไกลการขับรถด้วย ความเร็วไม่เกิน 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะช่วยลดการใช้น้ามันลงได้ 20% หรือคิดเป็นปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดได้ 1,000 กิโลกรัมต่อรถยนต์ แต่ละคันที่ใช้งานราว 30,000 กิโลเมตรต่อปี 40) หมั่นเปลี่ยนน้ามันเครื่อง ไส้กรองน้ามันเครื่อง ไส้กรอง อากาศ ตามระยะเวลาที่กาหนด ช่วยให้ประหยัดน้ามัน ถ้าละเลยให้ไส้กรอง อากาศรถยนต์อุดตัน 6 เดือนใน 1 ปี สิ้นเปลืองน้ามัน 11.7 ลิตร คิดเป็น คาร์บอนไดออกไซด์ 23.4 กิโลกรัมต่อปีต่อคัน
  • 7. 41) ตรวจ เช็คลมยางเป็นประจา ปรับลมยางให้อยู่ในระดับ มาตรฐานกาหนด ไม่น้อยหรือไม่มากเกินไป การขับรถที่ยางลมมีน้อย ทาให้เปลืองน้ามัน หากความดันลมยางต่ากว่ามาตรฐาน 1 ปอนด์/ตารางนิ้ว สิ้นเปลืองน้ามัน 2% ลดการผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 57.6 กิโลกรัม ต่อปีต่อคัน 42) หันมาใช้พลังงานทดแทน เปลี่ยนมาใช้พลังงานชีวภาพ เช่น ไบโอดีเซล เอทานอล ให้มากขึ้น 43) ปลูกต้นไม้ในบริเวณบ้าน ต้นไม้จะช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนได ออกไซด์ในอากาศ และทาให้อากาศที่เราหายใจสะอาดขึ้น ต้นไม้ 1 ต้น จะดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 9 กิโลกรัมต่อปี 44) ปลูกไผ่แทนรั้ว ต้นไผ่เติบโตเร็ว เป็นรั้วธรรมชาติที่สวยงาม และยังดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้ดี 45) ใช้ร่มเงาจากต้นไม้ ช่วยลดความร้อนในตัวอาคารหรือบ้าน พักอาศัย สามารถลดการใช้เครื่องปรับอากาศ และช่วยลดการใช้ไฟฟ้า 46) ไม่ใช้ปุ๋ยเคมีในสวนไม้ประดับที่บ้าน ให้เลือกใช้ปุ๋ยหมักจาก ธรรมชาติแทน โดยอาจทาขึ้นเองด้วยการหมักเศษพืช เศษผักผลไม้ 47) เลือกใช้บริการโรงแรมที่มีสัญลักษณ์สิ่งแวดล้อม เช่น โรงแรมใบไม้สีเขียวซึ่งมีมาตรการประหยัดน้า ประหยัดพลังงาน และมีระบบ จัดการของเสีย 48) อยู่อย่างพอเพียง ไม่ฟุ่มเฟือย ซื้อให้น้อยลง แบ่งปันให้ มากขึ้น ตามพระราชดารัสของในหลวง 49) ชักชวนคนอื่นๆ รอบข้างให้ช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อมและ ลดปัญหาภาวะโลกร้อน ให้ความรู้ ความเข้าใจและชักชวนคนใกล้ตัว รวมถึงเพื่อนบ้าน เพื่อขยายเครือข่ายผู้ร่วมหยุดโลกร้อนให้กว้างขวางขึ้น
  • 8. 50) ร่วมกิจกรรมรณรงค์สิ่งแวดล้อมในชุมชน ทากิจกรรมรณรงค์ ให้ความรู้และกระตุ้นให้เกิดการร่วมมือ เพื่อให้เกิดการทากิจกรรมสิ่งแวดล้อม ที่ต่อเนื่อง และส่งผลให้คนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สถานบริการสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสุข เช่น โรงพยาบาล สถานีอนามัย เป็นสถานที่ที่ให้บริการในการรักษาพยาบาล จึงมีประชาชนเข้ามาใช้บริการ จานวนมาก การที่สถานบริการสาธารณสุขเป็นต้นแบบในการลดโลกร้อน โดยการปฏิบัติให้เห็นเป็นแบบอย่าง ถือเป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงประชาชนได้ เป็นอย่างดี 51) เป็นต้นแบบสถานบริการสาธารณสุขด้านการลดพลังงาน เช่น เปิดไฟเฉพาะที่จาเป็น ปิดคอมพิวเตอร์หากหยุดพักการใช้งาน ถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าเมื่อไม่ใช้งาน ติดตั้งระบบเปิด-ปิดไฟอัตโนมัติ เป็นต้น การปิดเมื่อเลิกใช้ เปิดเมื่อจาเป็น ช่วยประหยัดไฟได้ 1 - 5 % 52) เลือกใช้อุปกรณ์สานักงานที่มีสัญลักษณ์ประหยัดไฟ และ ตรวจสอบว่าระบบประหยัดพลังงานได้จริง อุปกรณ์สานักงานประหยัด ไฟเบอร์ 5 สามารถประหยัดไฟกว่าอุปกรณ์ทั่วไป เช่น คอมพิวเตอร์ 39% เครื่องพิมพ์เลเซอร์ 55% เครื่องโทรสารเลเซอร์ 53% เครื่องถ่ายเอกสาร 12% 53) เลือกซื้อ เลือกใช้รถยนต์ เมื่อต้องซื้อรถยนต์ประจาสถาน บริการ ให้เลือกซื้อรถประหยัดพลังงาน 54) สร้างนโยบาย 3Rs Reduce (ลดปริมาณขยะ) Reuse (ใช้ซ้า) Recycle (นากลับมา ใช้ใหม่) ในสถานบริการ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรอย่างเต็มที่ เป็นการลดพลังงานในการกาจัดขยะ ลดมลพิษและ ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกระบวนการกาจัด
  • 9. 55) ริเริ่มใช้พลังงานทางเลือกในอาคาร เช่น ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ เพื่อใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้าเฉพาะจุด หรือ การนาขยะอินทรีย์มาผลิตแก๊สชีวภาพ ใช้ในการหุงต้มอาหาร การทาปุ๋ย หมัก ปุ๋ยน้าชีวภาพ 56) แหล่งเรียนรู้ สถานบริการสาธารณสุขที่มีการดาเนินการลด โลกร้อน ควรจัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของหน่วยงานอื่น หรือชุมชนใกล้เคียง เพื่อขยายเครือข่ายในการดาเนิน 57) ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ ให้ประชาชนรับรู้เกี่ยวกับปัญหา ภาวะโลกร้อน และตระหนักถึงการมีส่วนร่วมต่อการลดภาวะโลกร้อน ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมและบริการ 58) การปิดไฟและเครื่องใช้ไฟฟ้าเมื่อไม่ใช้งานให้ติดเป็นนิสัย แม้แต่ช่วงพักกลางวัน หรือช่วงพักเบรก ถ้าพนักงาน 10 ล้านคน ปิดไฟที่ ไม่ใช้วันละ 30 นาที ก็เพียงพอสาหรับเก็บพลังงานดังกล่าวไปใช้ในพื้นที่ สานักงานแห่งอื่นๆ อีก 50 ล้านตารางฟุต 59) กดปุ่มปิดหน้าจอมอนิเตอร์หรือจอคอมพิวเตอร์ หรือปิด เครื่องเมื่อไม่ใช้งาน 60) ใช้บันไดแทนการใช้ลิฟต์ นอกจากจะช่วยประหยัดพลังงาน ยังได้บริหารร่างกายไปด้วย 61) เลือกใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เอกสารภายในสานักงาน ที่ไม่ค่อยเป็นทางการนัก หากจาเป็นต้องพิมพ์ควรใช้กระดาษที่ใช้แล้ว (รีไซเคิล) และเปลี่ยนโหมดเครื่องพิมพ์ให้เป็นแบบขาวดา การใช้หมึกพิมพ์ ขาวดาจะช่วยลดการใช้น้ายาปรับสี กรณีที่จะพิมพ์เอกสารเหมือนกัน หลายชุด ควรใช้วิธีถ่ายสาเนาแทน
  • 10. 62) ลดการเดินทาง บางครั้งการทางานนอกสถานที่ หรือบางอาชีพ เช่น นักเขียนที่สามารถนั่งทางานอยู่ในบ้านได้จะช่วยลดการใช้รถใช้ถนน นอกจากนี้อาจใช้ในการติดต่อสื่อสารแทนการเดินทาง หรือเลือกใช้บริการ รถโดยสารสาธารณะ หรือรถไฟฟ้าก็จะลดปัญหาโลกร้อนได้อีกวิธีหนึ่ง 63) เลือกซื้อวัสดุสิ่งของที่ทาจากวัสดุรีไซเคิล เวลาเลือกซื้อสินค้า ควรตรวจดูสินค้านั้นๆ ผลิตจากวัสดุใช้แล้วกี่เปอร์เซ็นต์ ถ้าของชิ้นนั้นมีวัสดุ ที่ใช้แล้วมากถึง 100% ก็เท่ากับว่าเราไม่ได้ซื้อสินค้าที่โรงงานผลิตต้องนา วัสดุใหม่มาเป็นส่วนประกอบ รวมถึงการเลือกซื้อกระดาษที่ไม่ได้ใช้ สารคลอรีนฟอก จะช่วยลดการก่อมลภาวะได้มากกว่ากระดาษทั่วไป 64) ลดการใช้ของฟุ่มเฟือย หลีกเลี่ยงการใช้แก้วกระดาษ ให้ใช้ แก้วที่ล้างแล้วสามารถนากลับมาใช้ได้อีก 65) จัดเส้นทางรถรับส่งพนักงาน ถ้าในหน่วยงานมีพนักงาน จานวนมากอาศัยอยู่ในเส้นทางใกล้ๆ กัน ควรมีสวัสดิการจัดหารถรับส่ง พนักงานตามเส้นทางสาคัญๆ เป็น Car Pool ระดับองค์กร 66) นาก๊าซมีเทนจากกองขยะมาใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ด้วย การลงทุนพัฒนาให้เป็นพลังงานทดแทนที่มีประสิทธิภาพ แต่มีต้นทุนต่า 67) สนับสนุนงานวิจัยในองค์กร ค้นคว้าผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และมีประสิทธิภาพในการลดการใช้พลังงานจากเชื้อเพลิง ฟอสซิล 68) เป็นผู้นาของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมที่ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม หากยังไม่มีใครเริ่มต้นโครงการที่ช่วยหยุดปัญหาโลกร้อนอย่างจริงจัง ก็จง เป็นผู้นาเสียเอง
  • 11. 69) สร้างแบรนด์องค์กร ที่เน้นการดูแลและใส่ใจโลก โดยการ สร้างภาพลักษณ์ภายนอก แต่เป็นการสร้างความเชื่อมั่นเรื่องความรับผิดชอบ ที่มาจากภายในองค์กร ภาคการเกษตร 70) ลดการเผาป่าหญ้า ไม้ริมทุ่ง และต้นไม้ชายป่า เพื่อกาจัด วัชพืชและเปิดพื้นที่ทาการเกษตร เพราะเป็นการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ออกสู่บรรยากาศจานวนมาก นอกจากนี้การตัดและเผาทาลายป่ายัง เป็นการทาลายแหล่งกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่สาคัญ 71) ปลูกพืชผักให้หลากหลายและปลูกตามฤดูกาลในท้องถิ่น เป็นการลดการปลูกพืชผักนอกฤดูกาล ที่ต้องใช้พลังงานเพื่อถนอมอาหาร และผ่านกระบวนการบรรจุเป็นอาหารกระป๋อง 72) รวมกลุ่มสร้างตลาดผู้บริโภค-ผู้ผลิตโดยตรงในท้องถิ่น เพื่อ ลดกระบวนการขนส่งผ่านพ่อค้าคนกลาง ที่ต้องใช้พลังงานและน้ามันในการ คมนาคมขนส่งพืชผักผลไม้ไปยังตลาด 73) ลดการใช้สารเคมีในการเกษตร หันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ นอกจาก จะเป็นการลดปัญหาการปลดปล่อยไนตรัสออกไซด์สู่บรรยากาศโลกแล้ว ในระยะยาวยังเป็นการลดต้นทุนการผลิต และทาให้คุณภาพชีวิตของ เกษตรกรดีขึ้น ให้ปรึกษาและเรียนรู้จากกลุ่มเกษตรกรทางเลือกที่มีอยู่เป็น จานวนมากในประเทศไทย 74) บารุงรักษาเครื่องยนต์ที่ใช้ในการเกษตรและการประมงให้มี สภาพสมบูรณ์ จะช่วยประหยัดการใช้น้ามัน สถาปนิกและนักออกแบบ 75) ออกแบบพิมพ์เขียวบ้านพักอาศัยที่สามารถช่วย “ลดโลก ร้อน” การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก โดยคิดถึงการติดตั้งระบบการใช้
  • 12. พลังงานที่ง่าย ไม่จาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสูงๆ แต่ใช้งานได้จริง เช่น การดู ทิศทางลม การดูทิศทางการขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์ อาจช่วยลดค่าใช้จ่าย เรื่องพลังงานในบ้านได้ถึง 40% 76) ช่วยออกแบบสร้างบ้านหลังเล็ก บ้านหลังเล็กใช้พลังงาน น้อยกว่าบ้านหลังใหญ่ และใช้วัสดุอุปกรณ์การก่อสร้างน้อยกว่า สถาบันการศึกษา 77) ให้ความรู้ และสร้างความตระหนักให้กับนักเรียน นักศึกษา เกี่ยวกับปัญหาโลกร้อน 78) ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรม ชมรมที่เกี่ยวกับการลดโลกร้อน เช่น การลดปริมาณขยะ การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใช้เทคนิคการ เรียนรู้หลากหลายจากกิจกรรมเป็นสื่อในการปลูกจิตสานึกแก่นักเรียน นักศึกษา 79) ขยายความรู้สู่ผู้ปกครอง ชุมชนข้างเคียง ให้เกิดการปฏิบัติ เพื่อลดโลกร้อน ขยายการมีส่วนร่วมสู่ชุมชน สื่อมวลชน 80) ให้สื่อมวลชนช่วยเผยแพร่ให้ความรู้ และสร้างความตระหนัก กับสาธารณชน เกี่ยวกับปัญหาภาวะโลกร้อน ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศและนาไปเป็นประเด็นปัญหาของท้องถิ่น ที่ต้องช่วยกันลด ภาวะโลกร้อน 81) สร้างความสนใจกับสาธารณชน เกี่ยวกับปัญหาโลกร้อนให้ อยู่ในความสนใจของสาธารณชนอย่างต่อเนื่อง
  • 13. 82) เป็นผู้นากระแสของสังคมเรื่องชีวิตที่พอเพียง สาเหตุหนึ่ง ของปัญหาโลกร้อนก็คือ กระแสการบริโภคทรัพยากรจานวนมหาศาล การยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นหนทางป้องกันและลดปัญหา โลกร้อนได้ 83) ใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อออกแบบงานโฆษณา ที่สอดแทรก ประเด็นปัญหาของภาวะโลกร้อน นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ และวิศวกร 84) ค้นคว้า วิจัย หาแนวทางและเทคโนโลยีใหม่ที่มีประสิทธิภาพ ในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 85) ศึกษาและทาวิจัยในระดับพื้นที่ เพื่อให้มีข้อมูลที่ชัดเจน เกี่ยวกับผลกระทบของภาวะโลกร้อนต่อพื้นที่เสี่ยงของประเทศไทย 86) ประสานและทางานร่วมกับสื่อมวลชน เพื่อแปลงข้อมูลทาง วิทยาศาสตร์ไปสู่การรับรู้และเข้าใจของประชาชนในสังคมวงกว้าง นักการเมือง ผู้ว่าราชการฯ และรัฐบาล 87) วางแผนการจัดหาพลังงานในอนาคต รัฐจาเป็นต้องมีการ วิเคราะห์ทางเลือก เพื่อมุ่งจัดการแก้ไขปัญหาพลังงานและสิ่งแวดล้อม ที่มองไปข้างหน้า 88) สนับสนุนให้มีการพัฒนาการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ทั้งการ สนับสนุนงบประมาณในการวิจัย และการพัฒนาระบบให้มีต้นทุนต่าและ คุ้มค่าในการใช้งาน 89) สนับสนุนกลไกต่างๆ สาหรับพลังงานหมุนเวียน เพื่อสร้าง แรงจูงใจในการปรับปรุงเทคโนโลยีและการลดต้นทุน
  • 14. 90) สนับสนุนอุตสาหกรรมพลังงานหมุนเวียน เพื่อกระตุ้นให้เกิด การลงทุนของภาคเอกชน รัฐบาลควรหามาตรการที่ชัดเจนในการสนับสนุน อุตสาหกรรมหมุนเวียน ซึ่งเป็นพลังงานสะอาด เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับอุตสาหกรรมพลังงานอื่นๆ ที่ใช้พลังงาน จากเชื้อเพลิงฟอสซิล ที่เป็นสาเหตุหลักของการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ สู่บรรยากาศ 91) มีนโยบายทางการเมืองที่ชัดเจน ในการสนับสนุนการ “หยุดภาวะโลกร้อน” เสนอต่อประชาชน 92) สนับสนุนโครงสร้างทางกายภาพ ให้ประชาชนตระหนักและ มีส่วนร่วมในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เช่น จัดการให้มี โครงการเส้นทางจักรยานที่ปลอดภัยให้กับประชาชนในเมืองสามารถขับขี่ จักรยาน ลดการใช้รถยนต์ 93) ลดจานวนรถยนต์ส่วนบุคคลบนถนนกรุงเทพมหานครอย่าง จริงจัง ด้วยการสนับสนุนระบบขนส่งมวลชนที่มีประสิทธิภาพ 94) ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายกลุ่มเกษตรทางเลือก ด้วยการลด และเลิกการใช้สารเคมีที่ทาให้เกิดการปลดปล่อยก๊าซไนตรัสออกไซด์ สู่บรรยากาศโลก และหันมาใช้เกษตรอินทรีย์ 95) ส่งเสริมเครือข่ายการตลาดให้กับกลุ่มเกษตรกรทางเลือก ซึ่งการส่งเสริมการตลาดสีเขียว ด้วยการสร้างเครือข่ายการตลาดที่กระจาย ศูนย์ไปสู่กลุ่มจังหวัดหรือภูมิภาค จะช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากกระบวนการขนส่งผลผลิตไปยังตลาดไกลๆ อีกด้วย
  • 15. 96) พิจารณาใช้กฎหมายการเก็บภาษี เป็นเครื่องมือในการ ควบคุมปริมาณก๊าซเรือนกระจก โดยเฉพาะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เช่น การเก็บภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) สาหรับภาคอุตสาหกรรม 97) เปลี่ยนแปลงระบบการจัดเก็บภาษี โดยการสร้างระบบการ จัดเก็บภาษีที่สามารถสะท้อนให้เห็นต้นทุนทางอ้อมจากกิจกรรมทาง เศรษฐกิจตัวใดตัวหนึ่ง ซึ่งทาให้สังคมต้องแบกรับภาระนั้นอย่างชัดเจน เช่น ภาษีที่เรียกเก็บจากถ่านหิน ก็จะต้องรวมถึงต้นทุนในการดูแลรักษาสุขภาพที่ จะต้องเพิ่มขึ้นจากปัญหามลพิษ และต้นทุนความเสียหายจากสภาพอากาศ ที่เปลี่ยนแปลงไป 98) ปฏิรูปภาษีสิ่งแวดล้อม เป็นก้าวต่อไปที่ท้าทายของนักการเมือง และรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งในการปรับเปลี่ยนและสร้างจิตสานึกใหม่ ให้สังคม การเพิ่มการจัดเก็บภาษีสาหรับกิจกรรมที่มีผลทาลายสภาพ แวดล้อมให้สูงขึ้นเป็นการชดเชย เช่น การเก็บภาษีจากกิจกรรมที่มีการ ปล่อยคาร์บอน ภาษีจากกองขยะ 99) กาหนดทิศทางประเทศให้มุ่งสู่แนวทางของการดาเนินชีวิต อย่างพอเพียง โดยยึดหลักเศรษฐกิจตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นแกนหลักของการพัฒนาประเทศ__ ภาพพื้นหลัง:https://inlove1998.wordpress.com ที่มา: สานักงานอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัยกระทรวงสาธาณสุข