SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Download to read offline
กลุมที่ 8
                     ่
     บทที่ 3 เรืองคอมพิวเตอรส่วนบุคคล
                ่                ์
                    จัดทาโดย
นางสาวน้าผึง
           ้      ขาวสะอาด            เลขที่   3
นางสาวกนิษฐา มีฤกษ์                   เลขที่   4
นางสาวรัตนาวดี วงษธัญกรณ ์
                       ์              เลขที่   7
นางสาวยลดา        สุทธิประภา          เลขที่   10
นางสาวกาญจนาภรณ ์           ยอดชมญาณ           เลขที่   11
         ชันมัธยมศึ กษาปี ท ี่
             ้                     4/10
                       เสนอ
         อาจารย ์ อารีย ์ บุญรักษา
         โรงเรียนจอมสุรางคอุปถัมภ ์
                               ์
บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

3. คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล
3.1 องค์ ประกอบของคอมพิวเตอร์

      คอมพิวเตอร์ (computer) เป็ นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์และไอซี
(Integrated Circuit : IC) ต่างๆ มากมาย ซึ่งสามารถจดจา ประมวลผลข้อมูล เปรี ยบเทียบ ตัดสิ นใจทาง
ตรรกศาสตร์คานวณทางคณิ ตศาสตร์ สามารถใช้ช่วยในการออกแบบและสร้างงานกราฟิ กได้ อีกทั้งยัง
ตอบสนองความต้องการด้านอื่นๆ ได้อย่างหลากหลาย

         คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน 5 หน่วย ได้แก่ หน่วยรับเข้า (input unit) หน่วย
ประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยความจา (memory unit) หน่วย
ส่ งออก (output unit) และหน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) แต่ละหน่วยทาหน้าที่ประสานกัน
รูปที่3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
• 3.2 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์

•             การทางานของคอมพิวเตอร์ จะเริ่ มจากผู้ใช้ ปอนข้ อมูลผ่านทางอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้ า
                                                           ้
    (input device) เช่น คีย์บอร์ ด เมาส์ ข้ อมูลจะถูกเปลี่ยนให้ เป็ นสัญญาณดิจิทล ซึง ั ่
    ประกอบด้ วย 0 และ 1 แล้ วส่งต่อไปยังหน่วยประมวลผลกลาง เพื่อประมวลผลตามคาสัง ใน          ่
    ระหว่างการประมวลผล หากมีคาสังให้ นาผลลัพธ์จากการประมวลผลไปจัดเก็บใน
                                         ่
    หน่วยความจา ข้ อมูลดังกล่าวจะถูกส่งไปยังแรม (Random Access Memory :
    Ram) ซึงทาหน้ าที่เก็บข้ อมูลจากการประมวลผลเป็ นการชัวคราว ขณะเดียวกัน อาจมีคาสัง
                 ่                                                ่                           ่
    ให้ นาผลลัพธ์จากการประมวลผลดังกล่าวไปแสดงผลผ่านทางอุปกรณ์ของหน่วยส่งออก เช่น
    จอภาพ หรื อเครื่ องพิมพ์ นอกจากนี ้เราสามารถบันทึกข้ อมูลที่อยู่ในแรมลงในอุปกรณ์ของหน่วย
    เก็บข้ อมูล เช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี เพื่อนาข้ อมูลดังกล่าวกลับมาใช้ อีกในอนาคต โดยการอ่าน
    ข้ อมูลที่บนทึกในสื่อดังกล่าวผ่านทางเครื่ องขับหรื อไดร์ ฟ (drive) การส่งผ่านข้ อมูลไปยัง
               ั
    หน่วยต่างๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์ ผ่านทางระบบบัส (bus)
รู ปที่3.2 การทางานของคอมพิวเตอร์
3.2.1 ซีพยู และการประมวลผลข้ อมูล
               ี
          ซีพยู (Central Processing Unit : CPU) มีลกษณะ
             ี                                                 ั
เป็ นชิป (chip) ที่ติดตังอยู่บนเมนบอร์ ดภายในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึงชิป
                        ้                                          ่
ดังกล่าวเป็ นสารกึ่งตัวนาขนาดเล็ก ภายในบรรจุวงจรอิเล็กรอนิกส์ต่างๆ ไว้
มากมาย โดยวงจรจะประกอบด้ วยทรานซิสเตอร์ ขนาดเล็กเป็ นจานวนมาก
บางครังจึงเรี ยกชิปต่างๆ ว่า ไอซี
        ้
                      รู ปที่3.3 ตัวอย่างของซีพียู
• วงรอบการทางานของคาสั่ง (machine cycle)
            การทางานของคอมพิวเตอร์ จะต้ องทาตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ ในหน่วยความจา โดย
  โปรแกรมเกิดจากการนาคาสังมาต่อเรี ยงกัน เมื่อคอมพิวเตอร์ ทางาน หน่วยควบคุมทาการอ่าน
                                 ่
  คาสังต่างๆ เข้ ามาประมวลผลในซีพียู โดยวงรอบของการทาคาสังของซีพียประกอบด้ วยขันตอน
        ่                                                         ่       ู            ้
  การทางานพื ้นฐาน 4 ขันตอน ดังนี ้
                               ้
            1. ขันตอนการรับเข้ าข้ อมูล (fetch) เริ่ มแรกหน่วยควบคุมรับรหัสคาสังและข้ อมูล
                           ้                                                     ่
  ที่จะประมวลผลจากหน่วยความจา
            2. ขันตอนการถอดรหัส (decode) เมื่อรหัสคาสังเข้ ามาอยู่ในซีพียแล้ ว หน่วย
                     ้                                          ่              ู
  ควบคุมจะถอดรหัสคาสังแล้ วส่งคาสังและข้ อมูลไปยังหน่วยคานวณและตรรกะ
                             ่         ่
            3. ขันตอนการทางาน (execute) หน่วยคานวณและตรรกะทาการคานวณโดย
                       ้
  ใช้ ข้อมูลที่ได้ รับมาถอดรหัสคาสัง และทราบแล้ วว่าต้ องทาอะไร ซีพียก็จะทาตามคาสังนัน
                                   ่                                 ู             ่ ้
            4. ขันตอนการเก็บ (store) หลังจากทาคาสังก็จะเก็บผลลัพธ์ที่ได้ ไว้ ใน
                         ้                                 ่
  หน่วยความจา
• ซีพยูยุคเก่ า การทาคาสังแต่ละคาสังจะต้ องทาวงรอบคาสังให้ จบก่อน จากนันจึงทาวงรอบ
       ี                      ่        ่                    ่              ้
  คาสังของคาสังต่อไป สาหรับซีพียในยุคปั จจุบนได้ มีการพัฒนาให้ ทางานได้ เร็วขึ ้น โดยมีการ
         ่          ่                ู           ั
  แบ่งวงรอบคาสังนี ้เป็ นวงรอบย่อยๆ อีก มีการนาเทคนิคการทางานแบบสายท่อ
                      ่
  (pipeline) มาใช้ โดยขณะที่ทาวงรอบคาสังแรกอยู่ ก็มีการอ่านรหัสคาสังของคาสังถัดไป
                                                   ่                     ่           ่
  เข้ ามาด้ วย ซึงจะทาให้ การทางานโดยรวมของซีพียเู ร็วขึ ้นมาก
                  ่
•
•            หน่ วยควบคุม (control unit) เป็ นหน่วยที่ทาหน้ าที่ประสานงาน และควบคุม
  การทางานของคอมพิวเตอร์ ควบคุมให้ อปกรณ์รับข้ อมูล ส่งข้ อมูลไปที่หน่วยความจา ติดต่อกับ
                                          ุ
  อุปกรณ์แสดงผลเพื่อสังให้ นาข้ อมูลจากหน่วยความจาไปยังอุปกรณ์แสดงผล โดยหน่วยควบคุม
                            ่
  ของคอมพิวเตอร์ จะแปลความหมายของคาสังในโปรแกรมของผุ้ใช้ และควบคุมให้ อปกรณ์ต่างๆ
                                               ่                                   ุ
  ทางานตามคาสังนันๆ     ่ ้
             หน่ วยคานวณและตรรกะ หรือ เอแอลยู (Arithmetic-Logic Unit :
  ALU) เป็ นหน่วยที่ทาหน้ าที่ในการคานวณต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ ได้ แก่ การบวก ลบ คูณ หาร
  และเปรี ยบเทียบทางตรรกะ เพื่อทาการตัดสินใจ เช่น การเปรี ยบเทียบข้ อมูล การเปรี ยบเทียบว่า
  จริ งหรื อเท็จ
             การทางานของเอแอลยู จะรับข้ อมูลจากหน่วยความจามาไว้ ในที่เก็บชัวคราวของเอ
                                                                             ่
  แอลยูที่เรี ยกว่า เรจิสเตอร์ (register) เพื่อทาการคานวณแล้ วส่งผลลัพธ์กลับไปยัง
  หน่วยความจา
รูปที่ 3.4 หน่วยความจาแบบแฟลซที่อยูบนเมนบอร์ ด
                                  ่
• 3.2.2 หน่ วยความจา และการจัดเก็บข้ อมูล
             หน่วยความจา (memory unit) เป็ นส่วนประกอบที่สาคัญบนเมนบอร์ ดที่ทางาน
  ร่วมกับซีพียโดยตรง หน่วยความจาแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
                ู
             1) หน่ วยความจาแบบไม่ สามารถลบเลือนได้ (non volatile
  memory) เป็ นหน่วยความจาที่สามารถเก็บข้ อมุลได้ แม้ ว่าไม่มีกระแสไฟฟาหล่อเลี ้ยง
                                                                              ้
  ตัวอย่างของหน่วยความจาชนิดนี ้ เชี่น รอม และหน่วยความจาแบบแฟรซ
             - รอม (Read Only Memory : ROM) เป็ นหน่วยความจาแบบอ่านได้
  อย่างเดียวไม่สามารถลบและเขียนข้ อมูลใหม่ได้
             - หน่วยความจาแบบแฟรซ (flash memory) เป็ นหน่วยความจาที่สามารถลบ
  และเขียนข้ อมูลใหม่ได้
             ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ มีการใช้ รอมในการเก็บไบออส (Basic Input Output
  System : BIOS) ไบออสทาหน้ าที่เก็บข้ อมูล โปรแกรมและคาสังพื ้นฐานที่สาคัญในการ
                                                                   ่
  เริ่ มต้ นกระบวนการบูต (boot) ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่ในปั จจุบนได้ เปลี่ยนมาใช้
                                                                     ั
  หน่วยความจาแบบแฟรซในการเก็บไบออสแทน
2) หน่ วยความจาแบบลบเลือนได้ (volatile memory) เป็ นหน่วยความจาที่ต้องใช้
กระแสไฟฟาหล่อเลี ้ยงเพื่อเก็บข้ อมูล หากเกิดไฟฟาดับ ข้ อมูลและโปรแกรมคาสังจะสูญหายไป
            ้                                   ้                         ่
หน่วยความจาชนิดนี ้ เช่น แรม
          แรม (Random Access Memory : RAM) สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
          1. สแตติกแรม หรื อเอสแรม (Static RAM : SRAM) มักพบในตัวซีพียทาหน้ าที่เป็ น
                                                                                ู
หน่วยความจาภายในซีพียที่เรี ยกว่าหน่วยความจาแคช ซึงจะมีความเร็วสูงกว่าไดนามิกแรม
                          ู                             ่
          2. ไดนามิกแรม หรื อ ดีแรม (Dynamic RAM : DRAM) เป็ นหน่วยความจาที่ใช้ ในการ
จดจาข้ อมูลและโปรแกรมต่างๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เป็ นหน่วยความจาที่มีอยู่ใน
เครื่ องคอมพิวเตอร์ สวนบุคคล หรื อพีซีมากที่สด เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสง
                     ่                       ุ                                ู
รูปที่3.5 ก เอสแรม
รูปที่3.5 ข ดีแรม
ในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เช่น ถ้าต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงผล
การบวกตัวเลขสองจานวน ซีพียจะต้องติดต่อกับแรมที่ใช้เก็บชุดคาสังและ
                          ู                                  ่
ข้อมูลต่างๆ ไว้




                                  ่ ่
          รู ปที่3.6 แสดงผลชุดคาสังที่ผานการประมวลผลจากซีพียู
• 3.2.3 ระบบบัสกับการทางานร่ วมกันของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่างๆ
         ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ นน มีเมนบอร์ ดที่สามารถติดตังอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ซีพียู
                                ั้                         ้
  หน่วยความจาและฮาร์ ดดิสก์ โดยการส่งข้ อมูลและคาสังระหว่างอุปกรณ์ จะอยู่ในรูปของ
                                                      ่
   สัญญาณไฟฟาที่ถกส่งผ่านระบบส่งถ่ายข้ อมูลที่เรี ยกว่าบัส (bus)
            ้ ู




                                  รู ปที่3.7 ระบบบัส
•             ขนาดของบัส (bus width) กาหนดโดยจานวนบิตที่คอมพิวเตอร์ สามารถ
    ถ่ายโอนข้ อมูลได้ ในหนึ่งครัง ตัวอย่างเช่น บัส 32 บิต สามารถรับส่งข้ อมูลได้ ครัง
                                    ้                                                  ้
    ละ 32 บิต บัสขนาด 64 บิต สามารถรับส่งข้ อมูลได้ ครังละ 64 บิต เป็ นต้ น บัสที่มี
                                                                  ้
    จานวนบิตมากจะทาให้ การรับส่งข้ อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ ทาได้ เร็วขึ ้น
              การบอกความเร็วบัสมักวัดเป็ นจานวนครังที่รับส่งข้ อมูลได้ ในหนึ่งหน่วยเวลา ซึง
                                                           ้                                 ่
    มีหน่วยเป็ นเฮิรตซ์ (Hz) เช่น บัสที่มีความเร็ว 1 MHz หมายความว่าบัสนี ้สามารถ
    รับส่งข้ อมูลได้ หนึ่งล้ านครังต่อวินาที เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่พบในปั จจุบนจะมีคาความเร็ว
                                  ้                                            ั     ่
    บัสเป็ น 667,800,1066 หรื อ 1333 MHz ถ้ าความเร็วบัสมีค่ามากหมายความ
    ว่าสามารถรับส่งข้ อมูลได้ เร็ว ก็จะทาให้ เวลาการทางานของโปรแกรมเร็วขึ ้นไปด้ วย
• 3.3 การเลือกซือเครื่ องคอมพิวเตอร์ ให้ เหมาะสมกับงาน
                        ้
              เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนได้ พฒนาเทคโนโลยีให้ สามารถประมวลผลได้ เร็ว
                                           ั     ั
  ขึ ้น แต่ราคาถูกลงกว่าแต่ก่อนมาก การเลือกซื ้อเครื่ องคอมพิวเตอร์ มาใช้ งานทาได้ ง่าย มี
  ให้ เลือกหลายรุ่นตามร้ านค้ าทัวไป แต่ผ้ ใช้ งานควรพิจารณาว่าจะนาคอมพิวเตอร์ มาใช้
                                    ่        ู
  เพื่อทางานด้ านใด เนื่องจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ มีทงแบบที่ใช้ ได้ กบงานทุกประเภท หรื อ
                                                      ั้            ั
  ใช้ งานเฉพาะด้ าน แม้ วาราคาเครื่ องและอุปกรณ์ต่างๆ จะถูกลง แต่ผ้ ใช้ ควรเลือกเครื่ อง
                             ่                                         ุ
  คอมพิวเตอร์ ที่เหมาะสมกับการใช้ งานเพื่อให้ ค้ มค่ากับจานวนเงิน ตัวอย่างของการเลือก
                                                   ุ
  ซ้ อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตามลักษณะของงานแต่ละประเภท เช่น
•              - งานเอกสาร หรืองานในสานักงาน เป็ นการใช้ คอมพิวเตอร์ สาหรับจัดการด้ าน
    เอกสาร รายงาน ตกแต่งภาพ ทาการ์ ดอิเล็กทรอนิกส์ ดูภาพยนตร์ หรื อสื่อทางการศึกษา
    ติดต่อสื่อสาร ค้ นหาข้ อมูลผ่านอินเทอร์ เน็ต ใช้ ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ เช่น ซอฟต์แวร์ ประมวลคา
    และซอฟต์แวร์ ตารางทางาน เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ในงานประเภทนี ้ไม่จาเป็ นต้ องใช้ ซีพียที่มี
                                                                                              ู
    ความเร็วสูง คือประมาณ1GHz ขึ ้นไป แต่ควรมีแรมอย่างน้ อย 1GB และอาจเลือกใช้ จอภาพ
    แบบแอลซีดีขนาดใหญ่ 17-19 นิ ้วเพื่อถนอมสายตา เนื่องจากลักษณะงานต้ องจ้ องมอง
    จอภาพตลอดเวลา
               - งานกราฟิ ก เป็ นการใช้ คอมพิวเตอร์ สาหรับการตกแต่งและออกแบบภาพ และมีการ
    เรี ยนใช้ งานกราฟิ กหลายๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน ใช้ ซอฟต์แวร์ กราฟิ กในการสร้ างชิ ้นงาน
    เช่น งานสิ่งพิมพ์ งานนาเสนอแบบมัลติมีเดีย สร้ างเว็บไซต์ ติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์ เน็ต โดยมี
    การรับ-ส่งข้ อมูลจานวนมาก ที่มีทงภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ในงาน
                                        ั้
    ประเภทนี ้จาเป็ นต้ องมีซีพียที่มีความเร็วอยู่ในระดับปานกลางถึงค่อนข้ างสูง ประมาณ 2
                                 ู
    GHz ขึ ้นไป ใช้ แรมอย่างน้ อย 2 GB ขึ ้นไป และมีฮาร์ ดดิสก์ที่มีความจุสงเพื่อใช้ ในการเก็บ
                                                                               ู
    ข้ อมูลจานวนมาก
•          - งานออกแบบที่ต้องแสดงผลเป็ น 3 มิติ เป็ นการใช้ คอมพิวเตอร์ ในการ
  ออกแบบภาพ 3 มิติ สร้ างภาพยนตร์ สร้ างการ์ ตนแอนิเมชัน (animation) ตัดต่อวีดิ
                                                        ู      ่
  ทัศน์ ตัดต่อเพลง เล่นเกมที่มีภาพกราฟฟิ กสูง และงานประเภทนี ้ต้ องการเครื่ องคอมพิวเตอร์
  ที่มีความสามารถในการคานวณ และแสดงภาพความละเอียดสูงสุดได้ ดังนัน ควรเลือกซีพียู้
  ที่มีความเร็ วสูงไม่น้อยกว่า 2 GHz มีแรมอย่างน้ อย 4 GB การ์ ดจอแสดงผลที่สามารถ
  แสดงภาพที่มีความละเอียดสูงได้ ดี ควรใช้ จอภาพขนาดไม่ต่ากว่า 24 นิ ้ว และควรมีเครื่ อง
  สารองไฟเนื่องจากการทางานประเภทนี ้ คอมพิวเตอร์ จะต้ องใช้ เวลาในการประมวลผลนาน
  ถ้ าหากไฟดับหรื อไฟกระตุกจะไม่สะดวกในการเริ่ มงานใหม่
• 3.4 การเลือกซ้ อเครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
           สาหรับผู้เริ่ มใช้ คอมพิวเตอร์ ไม่ควรซื ้ออุปกรณ์มาประกอบเครื่ องคอมพิวเตอร์ เอง
  ควรเลือกเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่จดขายเป็ นชุดให้ แล้ ว และเลือกซื ้อจากบริ ษัทที่เชื่อถือได้
                                    ั
  เนื่องจากผู้ผลิตได้ เลือกอุปกรณ์ตางๆ ที่เหมาะสมมาประกอบเป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ อยู่
                                      ่
  แล้ ว
รูปที่3.8 ตัวอย่างชุดเซ็ตคอมพิวเตอร์

    สาหรับผู้ใช้ ที่ต้องการเลือกซื ้อชิ ้นส่วนต่างๆ มาประกอบเป็ นเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ตามที่ต้องการหรื อเพื่อปรับปรุงอุปกรณ์บางอย่าง เช่น ซีพียู
เมนบอร์ ด และแรม อุปกรณ์เหล่านี ้มีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว
หลักในการพิจารณาเลือกซื ้ออุปกรณ์แต่ละชนิดมีดงนี ้    ั
รูปที่3.9 อุปกรณ์ประกอบคอมพิวเตอร์
• ปั จจัยในการพิจารณาเลือกซือซีพยู้ ี
          1) บริ ษัทผู้ผลิต ในปั จจุบนมีบริ ษัทผู้ผลิตซีพียชนนา 2 บริ ษัท คือ บริ ษัทอินเทล
                                     ั                     ู ั้
  (Intel Corporation) และบริ ษัทเอเอ็มดี (Advanced Micro Devices :
  AMD) โดยทังสองบริ ษัทได้ มีการผลิตซีพียที่แบ่งตามจานวนของแกนประมวลผล
                 ้                             ู
  (Processing core)
• 2) ความเร็วของซีพียู ความเร็วของซีพียขึ ้นอยู่กบความถี่สญญาณนาฬิกา ซึงเป็ น
                                             ู    ั          ั                   ่
  สัญญาณไฟฟาที่คอยกาหนดจังหวะการทางานประสานของวงจรภายในให้ สอดคล้ องกัน
                   ้
  สัญญาณดังกล่าวจะมีหน่วยความถี่เป็ นเมกะเฮิรตซ์ (megahertz) หรื อล้ านครังต่อวินาที    ้
  ถึงระดับกิกะเฮิรตซ์ (gigahertz) หรื อพันล้ านครังต่อวินาที
                                                       ้
            3) หน่วยความจาแคช (cache) ในซีพียมีหน่วยความจาแคช ซึงเป็ นหน่วยความจา
                                                     ู                         ่
  ความเร็วสูงเพื่อให้ การทางานเร็วขึ ้นเนื่องจากแรมมีความเร็ วที่ช้ากว่าซีพียจึงจาเป็ นที่ต้องมี
                                                                             ู
  หน่วยความจาแคช เป็ นที่เก็บข้ อมูลชัวคราวเพื่อให้ ซีพียทางานร่วมกันได้ ดีขึ ้น โดยควรพิจารณา
                                        ่                ู
  เลือกซื ้อซีพียที่มีความจุของหน่วยความจาแคชมาก
                 ู
            4) ความเร็วบัส คือ ความเร็วในการรับส่งข้ อมูลระหว่างซีพียและอุปกรณ์อื่นๆ ควร
                                                                        ู
  พิจารณาซีพียที่มีความเร็วบัสสูงและสอดคล้ องกับความเร็วของอุปกรณ์อื่น เช่น เมนบอร์ ด และ
                     ู
  แรม
หน่วยความจาแคช
ตารางที่ 3.2 การเลือกใช้ ซีพียให้ เหมาะสมกับงาน
                              ู
•          3.4.2 เมนบอร์ ด (mainboard) หรื ออาจเรี ยกว่า มาเธอร์ บอร์ ด หรื อโมโบ
  (motherboard : mobo) เป็ นแผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร์ โดยทัวไปจะ          ่
  ประกอบด้ วยช่องสาหรับติดตังซีพียไบออส ชิปเซ็ต ช่องสาหรับติดตังหน่วยความจา
                            ้ ู                                     ้
  สายสัญญาณ และบัสต่างๆ ขัวต่อสาหรับ
                             ้
• เชื่อมต่ออุปกรณ์เสรามภายใน เช่น ฮาร์ ดดิสก์ ซีดีไดร์ ฟและพอร์ ตต่ออุปกรณ์รอบข้ าง เช่น เมาส์
  และ คีย์บอร์ ด
• โดยทัวไปการระบุคณลักษณะของเมนบอร์ ดในชุดคอมพิวเตอร์ สาเร็จ อาจระบุ
       ่            ุ
  เฉพาะชนิด หรื อจานวนของพอร์ ต และสล็อต เช่น พอร์ ต USB หรื อ
  สล็อต PCI ซึงเป็ นส่วนประกอบหนึงของเมนบอร์ ดเท่านัน ตัวอย่างชนิดของพอร์ ต
               ่                 ่                   ้
  และสล็อตที่ระบุในแผ่นพับชุดคอมพิวเตอร์ สาเร็จ



                                                  รูปที่3.12 ตัวอย่างชนิด
                                                  พอร์ ตและสล็อต
รูปที่3.13 ตัวอย่างรายละเอียดเมนบอร์ ด
รูปที่3.14 พอร์ ตเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก
แบบต่างๆ
ตารางที่ 3.3
ตารางที่ 3.4
•           3.4.3 แรม ในการเลือกซื ้อแรมเพื่อนามาใช้ งรานกับพีซี มักจะเป็ นแรมชนิดดีดีอาร์ เอสดีแรม
    (Double Data Rate Synchronous Dynamic RAM : DDR SDRAM) ซึงจะต้ อง                         ่
    พิจารณาประเภทของแรมให้ ตรงกับสล็อตหน่วยความจาบนเมนบอร์ ด และสิ่งที่ผ้ ใช้ คอมพิวเตอร์ ทวไป
                                                                              ู                 ั่
    ควรให้ ความสาคัญในลาดับต่อมาคือ ขนาดความจุ และความเร็ว ซึงเป็ นปั จจัยสาคัญที่ต้องนามา
                                                                 ่
    พิจารณาด้ วย




                       รูปที่3.15 ตัวอย่างการระบุคณลักษณะของแรม
                                                  ุ
รูปที่3.16 ตัวอย่างของแรมชนิดต่างๆ
• ปั จจัยในการพิจารณาเลือกซือแรม       ้
            1) ประเภทของแรม ต้ องพิจารณาเลือกซื ้อให้ ตรงกับสล็อต
  หน่วยความจาบนเมนบอร์ ด แรมที่ใช้ ในพีซี เช่น DDR , DDR2
  และ DDR3 โดยแรมแต่ละชนิดจะมีตาแหน่งรอยบากที่แตกต่างกัน เพื่อให้
  สามารถเสียบแรมบนสล็อตได้ ถกต้ อง   ู
            2) ความจุ ปั จจุบนแรมมีให้ เลือกตังแต่ความจุ 256 MB ขึ ้นไป
                                ั                  ้
  เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ งานด้ านกราฟิ กหรื อมัลติมีเดียระดับสูง จะใช้ แรมที่มีความ
  จุสงขึ ้นตามไปด้ วย สาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนมักจะติดตังแรมความ
      ู                                                      ั           ้
  จุ 1 GB ขึ ้นไป
•         บนเมนบอร์ ดของคอมพิวเตอร์ จะมีสล็อตสาหรับติดตังแรมมากกว่า 1 ช่อง ผู้ใช้
                                                            ้
    สามารถติดตังแรมได้ หลายตัว แต่ต้องเป็ นชนิดเดียวกัน ตามที่สล็อตติดตังจะมีให้ โดยความจุ
               ้                                                        ้
    แรมของพีซีจะเท่ากับผลรวมจากความจุของแรมทังหมด  ้




                          รูปที่3.17 การติดตังแรมบนเมนบอร์ ด
                                             ้
•            3) ความเร็วของแรม ความเร็วของแรม หมายถึง จานวนครังที่สามารถอ่าน
                                                                       ้
    เขียนข้ อมูลได้ ภายในหนึ่งวินาที โดยมีหน่วยวัดเป็ น เมกะเฮิรตซ์
    (MHz) เช่น DDR3 มีความเร็ว 1,333 MHz เป็ นต้ น ผุ้ใช้ งานต้ องเลือกความเร็ว
    ของแรมให้ สอดคล้ องกับความเร็วบัสของเมนบอร์ ดด้ วย ตัวอย่างเช่น ถ้ าระบบบัสบน
    เมนบอร์ ด (FSB) ทางานด้ วยความเร็ว 1,066 MHz แต่นาแรมที่มี
    ความเร็ว 1,333 MHz มาใช้ งานจะได้ สามารถทางานที่ความเร็ว 1,333
    MHz ได้ ตัวอย่างของระบบบัสบนเมนบอร์ ดกับแรมเปรี ยบได้ กบการที่รถวิ่งบนถนน
                                                                    ั
    เพื่อไปให้ ถึงจุดหมาย
             ในบางครังอาจใช้ อตราการถ่ายโอนข้ อมูลในการจาแนกรุ่นของแรม เช่น PC2-
                       ้        ั
    5400 คือ แรมชนิด DDR2 – 667 ที่มีคาอัตราการถ่ายโอนข้ อมูล
                                                 ่
    ประมาณ 5,400 MB/s หมายถึง ปริ มาณข้ อมูลที่จะรับส่งได้ ภายในหนึงวินาที ่
    (คานวณจาก 667 MHz X 8 ไบต์)
รูปที่3.18 ระบบบัสบนเมนบอร์ ด
•            3.4.4 ฮาร์ ดดิสก์ (hard disk) เป็ นอุปกร์ ในการเก็บข้ อมูล ฮาร์ ดดิสก์ที่ใช้ กนใน
                                                                                           ั
    พีซีโดยทัวไปคือ ฮาร์ ดดิสก์ขนาด 3.5 นิ ้ว สาหรับฮาร์ ดดิสก์ที่มีขนาด 2.5 และ 1.8 นิ ้วนัน
               ่                                                                             ้
    นิยมใช้ กบโน๊ ตบุ๊ก
             ั




                                      รูปที่3.19 ฮาร์ ดิสก์
•          การพิจารณาเลือกซื ้อฮาร์ ดดิสก์ขึ ้นอยู่กบปั จจัยหลายอย่างด้ วยกัน เช่น การเชื่อมต่อ
                                                    ั
    ความจุของข้ อมูล และความเร็วรอบของฮาร์ ดดิสก์ ซึงสิ่งเหล่านี ้จะทาให้ ฮาร์ ดดิสก์มีราคาที่
                                                         ่
    แตกต่างกัน




                       รูปที่3.20 การระบุคณลักษณะของฮาร์ ดิสก์
                                          ุ
• ปั จจัยในการพิจารณาเลือกซื ้อฮาร์ ดดิสก์
            1) การเชื่อมต่ อ มาตรฐานการเชื่อมต่อของฮาร์ ดดิสก์ที่ใช้ งานอยูบนพีซี
                                                                               ่
  ในปั จจุบน ใช้ มาตรฐาน EIDE และ SATA ทังนี ้ขึ ้นอยูกบเมนบอร์ ดว่ารองรับ
             ั                                       ้       ่ ั
  การเชื่อมต่อแบบใด
            2) ความจุข้อมูล มีหน่วยเป็ น กิกะไบท์ (GB) หรื อเทระไบต์ (TB) ซึง      ่
  ขนาดความจุข้อมูลของฮาร์ ดดิสก์นนขึ ้นอยูกบความต้ องการของผู้ใช้ งาน
                                         ั้      ่ ั
            3) ความเร็วรอบ เป็ นอัตราเร็วในการหมุนของฮาร์ ดดิสก์เพื่อให้ หวอ่าน- ั
  เขียน เข้ าถึงข้ อมูลฮาร์ ดดิสก์ที่มีความเร็วรอบสูงจะทาให้ มีอตราเร็วในการรับส่ง
                                                                 ั
  ข้ อมูลสูง โดยทัวไปฮาร์ ดดิสก์ของพีซีจะมีความเร็วรอบอยูที่ 7,200 รอบต่อนาที
                    ่                                          ่
  (rpm)
•
รูปที่3.21 การเชื่อมต่อแบบSATA และ EIDE
•           3.4.5 การ์ ดแสดงผล (display card, graphics card หรือ video
    card) ทาหน้ าที่แปลงข้ อมูลดิจิทลมาเป็ นสัญญาณที่สงไปที่จอภาพ การ์ ดแสดงผลอาจอยู่ใน
                                        ั                    ่
    รูปแบบการ์ ดหรื ออาจติดตังมาบนเมนบอร์ ดแล้ ว
                                ้
            การที่ผ้ ใช้ ต้องการปรับปรุงการ์ ดแสดงผลเนื่องจากต้ องการใช้ กบงานที่ต้องการแสดงผล
                     ุ                                                    ั
    ภาพสามมิติได้ อย่างคมชัด ซึงคอมพิวเตอร์ ชดสาเร็จที่ผ้ ขายจัดให้ อาจไม่สามารรถแสดงผลภาพ
                                  ่              ุ         ู
    ดังกล่าวได้ อย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับปั จจัยในการพิจารณาเลือกซื ้อการ์ ดแสดงผล เช่น ชิป
    ประมวลผล กราฟิ ก การเชื่อมต่อ และความจุของหน่วยความจาบนก




                       รูปที่3.22 การระบุคณลักษณะของการ์ ดแสดงผล
                                          ุ
ปั จจัยในการเลือกซื ้อการ์ ดแสดงผล
           1) ชิปประมวลผลกราฟิ ก หรือจีพยู (graphic processing unit :
                                                  ี
GPU) เป็ นอุปกรณ์พิเศษที่เพิ่มความเร็วในการแสดงผลโดยลดภาระซีพียในการคานวณข้ อมูลที่จะ
                                                                             ู
ส่งไปที่จอภาพ ตัวอย่างการเลือกซื ้อจีพียู เช่น ถ้ าต้ องการประมวลผลภาพสามมิติ อาจใช้ ชิปของ
บริ ษัท nVIDIA รุ่น
GForce 9 และ GTX2xx หรื อชิปของบริ ษัท ATi รุ่น Radeon HD 4000
           2) การเชื่อมต่ อ มี 2 แบบ คือ แบบใช้ กบบัส PCI Express และบัส AGP โดย PCI
                                                       ั
Express จะมีประสิทธิภาพสูงที่สดซึงสามารถให้ ความเร็วสูงสุดได้ ถึง 16 GB/s ส่วน AGP มี
                                        ุ ่
ประสิทธิภาพรองลงมา
           3) ความจุของหน่ วยความจาบนการ์ ด หน่วยความจาบนการ์ ด (Video RAM) เป็ น
ส่วนที่ใช้ เก็บข้ อมูลภาพที่แสดงบนจอคอมพิวเตอร์ ถ้ าความจุของหน่วยความจามาก จะทาให้ แสดง
ภาพมัลติมีเดียความละเอียดสูงได้ ดี การบอกความจุของหน่วยความจาบนตัวการ์ ด เช่น DDR3
512 MB
           3.4.6 ออปติคัลดิสก์ ไดร์ ฟ (optical disk drive) ที่ใช้ กนในปั จจุบน เช่น ซีดีไดร์ ฟ
                                                                               ั        ั
และดีวีดีไดร์ ฟ เป็ นอุปกรณ์มาตรฐานที่พีซีทกเครื่ องควรมี เนื่องจากซีดี/ดีวีดีไดร์ ฟมีราคาถูกลงมาก
                                               ุ
นอกจากนี ้สื่อที่ใช้ เก็บบันทึก เช่น แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี มีความจุสงและมีราคาถูก
                                                                  ู
รูปที่3.23 การระบุคาความเร็วของ
                   ่
การเขียน
รูปที่3.24 เคสของเครื่ องคอมพิวเตอร์ แบบ
ต่างๆ
3.4.8 จอภาพ (monitor) ที่พบจะมีอยู่สองประเภทคือ จอซีอาร์ ที (Cathode Ray
Tube : CRT) และจอแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD) ซึงในปั จจุบนจอแอลซีดีเป็ นที่
                                                                      ่         ั
นิยมมากเนื่องจากมีราคาถูก ถนอมสายตา ประหยัดพลังงาน และใช้ พื ้นที่ในการจัดวางน้ อย




                         รูปที่3.25 คุณลักษณะของจอภาพ
ปั จจัยในการเลือกซือจอภาพ เช่น
                     ้
         - ความละเอียดของภาพ (resolution) หมายถึง จานวนจุดหรื อพิกเซลบนจอภาพ ถ้ าหาก
มีความละเอียดสูงจะทาให้ ภาพคมชัดมากขึ ้น ตัวอย่างเช่น จอภาพที่มีความละเอียด 1680 x
1050 เป็ นจอภาพที่มีจดภาพในแนวนอน 1680 จุด และมีจดภาพในแนวตัง1050 จุด
                        ุ                                 ุ           ้
         - ขนาด (size) ขนาดของจอภาพจะวัดเป็ นแนวทแยงมุม เช่น จอ 19 นิ ้ว และแบบ 21 นิ ้ว
         นอกจากนี ้จอภาพยังสามารถเลือกความสว่าง (brightness) และความเปรี ยบเทียบต่าง
(contrast) ได้ อีกด้ วย การแสดงผลของจอภาพนันจะต้ องมีการ์ ดแสดงผล เป็ นตัวประสานงาน
                                                ้
ระหว่างซีพียกบจอภาพ โดยสัญญาณภาพจะถูกส่งออกมาจากการ์ ดแสดงผลนี ้ จอภาพโดยทัวไปจะมี
            ูั                                                                   ่
พอร์ ตต่อแบบวีจีเอ (Video Graphics Array : VGA) ซึงเป็ นตัวรับสัญญาณแอนะล็อกมา
                                                            ่
จากการ์ ดแสดงผล จอภาพบางรุ่นจะมีพอร์ ตต่อแบบดีวีไอ (Digital Video Interface :
DVI) ซึงเป็ นการรับข้ อมูลภาพแบบดิจิทลซึงจะให้ ภาพที่คมชัดกว่า
         ่                           ั ่
• 3.5 การรับประกันอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์
            อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จะมีการรับประกันอายุการใช้ งาน
  อุปกรณ์แต่ละชนิดจะมีระยะเวลารับประกันต่างกัน เช่น แรม รับประกัน
  ตลอดอายุการใช้ งาน (life time) และฮาร์ ดดิสก์อาจรับประกัน 1-
  5 ปี โดยอายุของการรับประกันที่นานขึ ้น อาจมีผลทาให้ ราคาสูงขึ ้น บน
  อุปกรณ์บางชนิดจะมีสติ๊กเกอร์ รับประกันติดอยูบนตัวอุปกรณ์ซงหากมี
                                               ่              ึ่
  การฉีกขาด การรับประกันจะสิ ้นสุดลงทันที ดังนันจึงควรระมัดระวังเมื่อ
                                                 ้
  เลือกซื ้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ชนิดต่างๆ
• 3.6 ข้ อแนะนาการดูแลและบารุ งรั กษาเครื่องคอมพิวเตอร์ เบืองต้ น           ้
        1. ไม่ควรเปิ ดฝาคอมพิวเตอร์ โดยไม่จาเป็ น เนื่องจากอาจมีโลหะที่นาไฟฟาเข้ าไปในเครื่ อง
                                                                                      ้
  ทาให้ เกิดการลัดวงจร หรื อมีฝนเข้ าไปในตัวเครื่ อง ฝุ่ นนี ้จะเป็ นตัวเก็บความชื ้นทาให้ วงจร
                                 ุ่
  คอมพิวเตอร์ ทางานผิดพลาดได้
        2. ไม่ควรตังเครื่ องคอมพิวเตอร์ ไว้ ในสถานที่ที่มีอณหภูมิสง เนื่องจากจะส่งผลให้ ชิ ้นส่วน
                     ้                                        ุ         ู
  อิเล็กทรอนิกส์เสื่อมสภาพเร็วขึ ้น
        3. ไม่ควรตังคอมพิวเตอร์ ใกล้ กบประตูหรื อหน้ าต่าง เนื่องจากอาจโดนแสดงแดดหรื อฝน
                       ้               ั
  สาดเข้ ามาได้
        4. ไม่ควรวางจอคอมพิวเตอร์ ใกล้ กบสนามแม่เหล็ก หรื อลาโพงตัวใหญ่ๆ เนื่องจาก
                                             ั
  สนามแม่เหล็กจะทาให้ การแสดงภาพผิดเพี ้ยนไปจากความเป็ นจริ ง
        5. ถ้ าหากที่บ้านไฟตกหรื อมีไฟกระชาก ควรมีเครื่ องสารองไฟยูพีเอส
  (Uninterruptible power supply : UPS)
        6. ควรตังโหมดประหยัดพลังงานให้ กบเครื่ อง เพื่อถนอมอายุการใช้ งานเครื่ อง การทางาน
                  ้                            ั
  ในโหมดนี ้จะทาให้ ฮาร์ ดดิสก์และซีพียทางานน้ อยลงเมื่อไม่มีการใช้ เครื่ องในระยะเวลาที่กาหนด
                                         ู
           7. ไม่ควรวางของเหลวใกล้ กบเครื่ องคอมพิวเตอร์
                                           ั
           8. ไม่ควรปิ ดเครื่ องโดยการกดสวิตซ์ปิด ควรใช้ คาสังปิ ดระบบปฏิบติการ เนื่องจาก
                                                                    ่            ั
  ระบบปฏิบติการต้ องดาเนินการตรวจสอบสถานการณ์ทางานต่างๆ ของฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์
             ั
  ก่อนจะหยุดการทางาน
• 3.7 การแก้ ปัญหาเบืองต้ นของพีซี
                              ้
             เครื่ องคอมพิวเตอร์ นบว่าเป็ นอุปกรณ์ที่ทนต่อการใช้ งาน ถ้ าหากใช้ งานเครื่ องอย่างถูก
                                     ั
  วิธีตามคาแนะนาที่กล่าวมา แต่อย่างไรก็ตามมีบางปั ญหาที่อาจเกิดขึ ้นได้ ซึงผู้ใช้ สามารถแก้ ไข
                                                                                 ่
  เบื ้องต้ นได้ ด้วยตัวเอง เช่น
             1. เครื่ องหยุดทางานขณะใช้ งานอยู่
             สาเหตุ แหล่งจ่ายไฟจ่ายกาลังไฟฟาไม่พอ อาจเกิดจากมีอปกรณ์ต่อพ่วงอยู่กบ
                                                  ้                      ุ                  ั
  คอมพิวเตอร์ เป็ นจานวนมาก
             การแก้ ไข นาอุปกรณ์ที่ไม่จาเป็ นที่ต่อพ่วงอยู่กบเครื่ องคอมพิวเตอร์ ออกไป หรื อเปลี่ยน
                                                            ั
  แหล่งจ่ายไฟที่มีกาลังไฟฟามากขึ ้น
                                 ้
             2. เปิ ดเครื่ องแล้ วปรากฏข้ อความว่า “DISK BOOT fAILURE, INSERT
  DISK SYSTEM PRESS ENTER”
             สาเหตุ เครื่ องบูตไม่พบฮาร์ ดดิสก์ หรื อระบบปฏิบติการบนฮาร์ ดดิสก์เสียหาย
                                                              ั
             การแก้ ไข ตรวจสอบโปรแกรมไบออสว่า บูตฮาร์ ดดิสก์ในตาแหน่งที่ถกต้ องหรื อไม่ หรื อ
                                                                                   ู
  ติดตังระบบปฏิบติการบนฮาร์ ดดิสก์
         ้             ั
             3. อ่านหรื อเขียนแผ่นซีดี / ดีวีดีไม่ได้
             สาเหตุ หัวอ่านเลเซอร์ ของไดร์ ฟสกปรก
             การแก้ ไข ให้ ใช้ แผ่นซีดีทาความสะอาดหัวอ่าน โดยใส่แผ่นซีดีสาหรับทาความสะอาด
  เข้ าไปในไดร์ ฟ แปรงขนาดเล็กที่อยู่ใต้ แผ่นซีดีจะปั ดทาความสะอาดหัวอ่านเลเซอร์ ของไดร์ ฟ
             4. เครื่ องรี สตาร์ ต (restart) เองขณะใช้ งาน
             สาเหตุ ซีพียมีความร้ อนสูง
                            ู
             การแก้ ไข ตรวจสอบพัดลมของซีพียว่าทางานหรื อไม่ สายที่ต่ออยู่แน่หรื อไม่
                                                      ู

More Related Content

What's hot

คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นะนาท นะคะ
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลSuphattra
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์jatesada5803
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลSuphattra
 
ใบงาน เรื่อง ฮาร์ดแวร์
ใบงาน  เรื่อง ฮาร์ดแวร์ใบงาน  เรื่อง ฮาร์ดแวร์
ใบงาน เรื่อง ฮาร์ดแวร์Krusine soyo
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงจีระภา บุญช่วย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsupatra2011
 
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นit4learner
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 

What's hot (18)

คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
ใบงาน เรื่อง ฮาร์ดแวร์
ใบงาน  เรื่อง ฮาร์ดแวร์ใบงาน  เรื่อง ฮาร์ดแวร์
ใบงาน เรื่อง ฮาร์ดแวร์
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คูมื่อ E book
คูมื่อ E bookคูมื่อ E book
คูมื่อ E book
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 

Similar to กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
Hardware
HardwareHardware
Hardwaresa
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1krudeaw
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1krudeaw
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1krudeaw
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 

Similar to กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (20)

ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
Pit
PitPit
Pit
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1
 
Com
ComCom
Com
 
Aa
AaAa
Aa
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1
 
Lesson
LessonLesson
Lesson
 
777
777777
777
 
Com
ComCom
Com
 
Aa
AaAa
Aa
 
Lesson
LessonLesson
Lesson
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1
 
Aa
AaAa
Aa
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Main Memory 516
Main Memory 516Main Memory 516
Main Memory 516
 

More from Nattakan Wuttipisan

กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14นัฐกานต์ วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14Nattakan Wuttipisan
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์  วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14นัฐกานต์  วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14Nattakan Wuttipisan
 
นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10 เลขที่14
นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10  เลขที่14นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10  เลขที่14
นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10 เลขที่14Nattakan Wuttipisan
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14Nattakan Wuttipisan
 

More from Nattakan Wuttipisan (6)

กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
กลุ่ม 3
กลุ่ม 3 กลุ่ม 3
กลุ่ม 3
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14นัฐกานต์ วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์  วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14นัฐกานต์  วุฒิพิศาล  ม. 4.10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม. 4.10 เลขที่ 14
 
นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10 เลขที่14
นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10  เลขที่14นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10  เลขที่14
นับกานต์ วุฒิพิศาล 4.10 เลขที่14
 
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
นัฐกานต์ วุฒิพิศาล ม.4/10 เลขที่ 14
 

กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

  • 1. กลุมที่ 8 ่ บทที่ 3 เรืองคอมพิวเตอรส่วนบุคคล ่ ์ จัดทาโดย นางสาวน้าผึง ้ ขาวสะอาด เลขที่ 3 นางสาวกนิษฐา มีฤกษ์ เลขที่ 4 นางสาวรัตนาวดี วงษธัญกรณ ์ ์ เลขที่ 7 นางสาวยลดา สุทธิประภา เลขที่ 10 นางสาวกาญจนาภรณ ์ ยอดชมญาณ เลขที่ 11 ชันมัธยมศึ กษาปี ท ี่ ้ 4/10 เสนอ อาจารย ์ อารีย ์ บุญรักษา โรงเรียนจอมสุรางคอุปถัมภ ์ ์
  • 2. บทที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 3. คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล 3.1 องค์ ประกอบของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ (computer) เป็ นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์และไอซี (Integrated Circuit : IC) ต่างๆ มากมาย ซึ่งสามารถจดจา ประมวลผลข้อมูล เปรี ยบเทียบ ตัดสิ นใจทาง ตรรกศาสตร์คานวณทางคณิ ตศาสตร์ สามารถใช้ช่วยในการออกแบบและสร้างงานกราฟิ กได้ อีกทั้งยัง ตอบสนองความต้องการด้านอื่นๆ ได้อย่างหลากหลาย คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน 5 หน่วย ได้แก่ หน่วยรับเข้า (input unit) หน่วย ประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยความจา (memory unit) หน่วย ส่ งออก (output unit) และหน่วยเก็บข้อมูล (storage unit) แต่ละหน่วยทาหน้าที่ประสานกัน
  • 4. • 3.2 หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ • การทางานของคอมพิวเตอร์ จะเริ่ มจากผู้ใช้ ปอนข้ อมูลผ่านทางอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้ า ้ (input device) เช่น คีย์บอร์ ด เมาส์ ข้ อมูลจะถูกเปลี่ยนให้ เป็ นสัญญาณดิจิทล ซึง ั ่ ประกอบด้ วย 0 และ 1 แล้ วส่งต่อไปยังหน่วยประมวลผลกลาง เพื่อประมวลผลตามคาสัง ใน ่ ระหว่างการประมวลผล หากมีคาสังให้ นาผลลัพธ์จากการประมวลผลไปจัดเก็บใน ่ หน่วยความจา ข้ อมูลดังกล่าวจะถูกส่งไปยังแรม (Random Access Memory : Ram) ซึงทาหน้ าที่เก็บข้ อมูลจากการประมวลผลเป็ นการชัวคราว ขณะเดียวกัน อาจมีคาสัง ่ ่ ่ ให้ นาผลลัพธ์จากการประมวลผลดังกล่าวไปแสดงผลผ่านทางอุปกรณ์ของหน่วยส่งออก เช่น จอภาพ หรื อเครื่ องพิมพ์ นอกจากนี ้เราสามารถบันทึกข้ อมูลที่อยู่ในแรมลงในอุปกรณ์ของหน่วย เก็บข้ อมูล เช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี เพื่อนาข้ อมูลดังกล่าวกลับมาใช้ อีกในอนาคต โดยการอ่าน ข้ อมูลที่บนทึกในสื่อดังกล่าวผ่านทางเครื่ องขับหรื อไดร์ ฟ (drive) การส่งผ่านข้ อมูลไปยัง ั หน่วยต่างๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์ ผ่านทางระบบบัส (bus)
  • 6. 3.2.1 ซีพยู และการประมวลผลข้ อมูล ี ซีพยู (Central Processing Unit : CPU) มีลกษณะ ี ั เป็ นชิป (chip) ที่ติดตังอยู่บนเมนบอร์ ดภายในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึงชิป ้ ่ ดังกล่าวเป็ นสารกึ่งตัวนาขนาดเล็ก ภายในบรรจุวงจรอิเล็กรอนิกส์ต่างๆ ไว้ มากมาย โดยวงจรจะประกอบด้ วยทรานซิสเตอร์ ขนาดเล็กเป็ นจานวนมาก บางครังจึงเรี ยกชิปต่างๆ ว่า ไอซี ้ รู ปที่3.3 ตัวอย่างของซีพียู
  • 7.
  • 8. • วงรอบการทางานของคาสั่ง (machine cycle) การทางานของคอมพิวเตอร์ จะต้ องทาตามโปรแกรมที่กาหนดไว้ ในหน่วยความจา โดย โปรแกรมเกิดจากการนาคาสังมาต่อเรี ยงกัน เมื่อคอมพิวเตอร์ ทางาน หน่วยควบคุมทาการอ่าน ่ คาสังต่างๆ เข้ ามาประมวลผลในซีพียู โดยวงรอบของการทาคาสังของซีพียประกอบด้ วยขันตอน ่ ่ ู ้ การทางานพื ้นฐาน 4 ขันตอน ดังนี ้ ้ 1. ขันตอนการรับเข้ าข้ อมูล (fetch) เริ่ มแรกหน่วยควบคุมรับรหัสคาสังและข้ อมูล ้ ่ ที่จะประมวลผลจากหน่วยความจา 2. ขันตอนการถอดรหัส (decode) เมื่อรหัสคาสังเข้ ามาอยู่ในซีพียแล้ ว หน่วย ้ ่ ู ควบคุมจะถอดรหัสคาสังแล้ วส่งคาสังและข้ อมูลไปยังหน่วยคานวณและตรรกะ ่ ่ 3. ขันตอนการทางาน (execute) หน่วยคานวณและตรรกะทาการคานวณโดย ้ ใช้ ข้อมูลที่ได้ รับมาถอดรหัสคาสัง และทราบแล้ วว่าต้ องทาอะไร ซีพียก็จะทาตามคาสังนัน ่ ู ่ ้ 4. ขันตอนการเก็บ (store) หลังจากทาคาสังก็จะเก็บผลลัพธ์ที่ได้ ไว้ ใน ้ ่ หน่วยความจา
  • 9. • ซีพยูยุคเก่ า การทาคาสังแต่ละคาสังจะต้ องทาวงรอบคาสังให้ จบก่อน จากนันจึงทาวงรอบ ี ่ ่ ่ ้ คาสังของคาสังต่อไป สาหรับซีพียในยุคปั จจุบนได้ มีการพัฒนาให้ ทางานได้ เร็วขึ ้น โดยมีการ ่ ่ ู ั แบ่งวงรอบคาสังนี ้เป็ นวงรอบย่อยๆ อีก มีการนาเทคนิคการทางานแบบสายท่อ ่ (pipeline) มาใช้ โดยขณะที่ทาวงรอบคาสังแรกอยู่ ก็มีการอ่านรหัสคาสังของคาสังถัดไป ่ ่ ่ เข้ ามาด้ วย ซึงจะทาให้ การทางานโดยรวมของซีพียเู ร็วขึ ้นมาก ่ • • หน่ วยควบคุม (control unit) เป็ นหน่วยที่ทาหน้ าที่ประสานงาน และควบคุม การทางานของคอมพิวเตอร์ ควบคุมให้ อปกรณ์รับข้ อมูล ส่งข้ อมูลไปที่หน่วยความจา ติดต่อกับ ุ อุปกรณ์แสดงผลเพื่อสังให้ นาข้ อมูลจากหน่วยความจาไปยังอุปกรณ์แสดงผล โดยหน่วยควบคุม ่ ของคอมพิวเตอร์ จะแปลความหมายของคาสังในโปรแกรมของผุ้ใช้ และควบคุมให้ อปกรณ์ต่างๆ ่ ุ ทางานตามคาสังนันๆ ่ ้ หน่ วยคานวณและตรรกะ หรือ เอแอลยู (Arithmetic-Logic Unit : ALU) เป็ นหน่วยที่ทาหน้ าที่ในการคานวณต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ ได้ แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรี ยบเทียบทางตรรกะ เพื่อทาการตัดสินใจ เช่น การเปรี ยบเทียบข้ อมูล การเปรี ยบเทียบว่า จริ งหรื อเท็จ การทางานของเอแอลยู จะรับข้ อมูลจากหน่วยความจามาไว้ ในที่เก็บชัวคราวของเอ ่ แอลยูที่เรี ยกว่า เรจิสเตอร์ (register) เพื่อทาการคานวณแล้ วส่งผลลัพธ์กลับไปยัง หน่วยความจา
  • 11. • 3.2.2 หน่ วยความจา และการจัดเก็บข้ อมูล หน่วยความจา (memory unit) เป็ นส่วนประกอบที่สาคัญบนเมนบอร์ ดที่ทางาน ร่วมกับซีพียโดยตรง หน่วยความจาแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ ู 1) หน่ วยความจาแบบไม่ สามารถลบเลือนได้ (non volatile memory) เป็ นหน่วยความจาที่สามารถเก็บข้ อมุลได้ แม้ ว่าไม่มีกระแสไฟฟาหล่อเลี ้ยง ้ ตัวอย่างของหน่วยความจาชนิดนี ้ เชี่น รอม และหน่วยความจาแบบแฟรซ - รอม (Read Only Memory : ROM) เป็ นหน่วยความจาแบบอ่านได้ อย่างเดียวไม่สามารถลบและเขียนข้ อมูลใหม่ได้ - หน่วยความจาแบบแฟรซ (flash memory) เป็ นหน่วยความจาที่สามารถลบ และเขียนข้ อมูลใหม่ได้ ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ มีการใช้ รอมในการเก็บไบออส (Basic Input Output System : BIOS) ไบออสทาหน้ าที่เก็บข้ อมูล โปรแกรมและคาสังพื ้นฐานที่สาคัญในการ ่ เริ่ มต้ นกระบวนการบูต (boot) ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ แต่ในปั จจุบนได้ เปลี่ยนมาใช้ ั หน่วยความจาแบบแฟรซในการเก็บไบออสแทน
  • 12. 2) หน่ วยความจาแบบลบเลือนได้ (volatile memory) เป็ นหน่วยความจาที่ต้องใช้ กระแสไฟฟาหล่อเลี ้ยงเพื่อเก็บข้ อมูล หากเกิดไฟฟาดับ ข้ อมูลและโปรแกรมคาสังจะสูญหายไป ้ ้ ่ หน่วยความจาชนิดนี ้ เช่น แรม แรม (Random Access Memory : RAM) สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. สแตติกแรม หรื อเอสแรม (Static RAM : SRAM) มักพบในตัวซีพียทาหน้ าที่เป็ น ู หน่วยความจาภายในซีพียที่เรี ยกว่าหน่วยความจาแคช ซึงจะมีความเร็วสูงกว่าไดนามิกแรม ู ่ 2. ไดนามิกแรม หรื อ ดีแรม (Dynamic RAM : DRAM) เป็ นหน่วยความจาที่ใช้ ในการ จดจาข้ อมูลและโปรแกรมต่างๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เป็ นหน่วยความจาที่มีอยู่ใน เครื่ องคอมพิวเตอร์ สวนบุคคล หรื อพีซีมากที่สด เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสง ่ ุ ู
  • 15. ในการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เช่น ถ้าต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงผล การบวกตัวเลขสองจานวน ซีพียจะต้องติดต่อกับแรมที่ใช้เก็บชุดคาสังและ ู ่ ข้อมูลต่างๆ ไว้ ่ ่ รู ปที่3.6 แสดงผลชุดคาสังที่ผานการประมวลผลจากซีพียู
  • 16. • 3.2.3 ระบบบัสกับการทางานร่ วมกันของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่างๆ ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ นน มีเมนบอร์ ดที่สามารถติดตังอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ซีพียู ั้ ้ หน่วยความจาและฮาร์ ดดิสก์ โดยการส่งข้ อมูลและคาสังระหว่างอุปกรณ์ จะอยู่ในรูปของ ่ สัญญาณไฟฟาที่ถกส่งผ่านระบบส่งถ่ายข้ อมูลที่เรี ยกว่าบัส (bus) ้ ู รู ปที่3.7 ระบบบัส
  • 17. ขนาดของบัส (bus width) กาหนดโดยจานวนบิตที่คอมพิวเตอร์ สามารถ ถ่ายโอนข้ อมูลได้ ในหนึ่งครัง ตัวอย่างเช่น บัส 32 บิต สามารถรับส่งข้ อมูลได้ ครัง ้ ้ ละ 32 บิต บัสขนาด 64 บิต สามารถรับส่งข้ อมูลได้ ครังละ 64 บิต เป็ นต้ น บัสที่มี ้ จานวนบิตมากจะทาให้ การรับส่งข้ อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ ทาได้ เร็วขึ ้น การบอกความเร็วบัสมักวัดเป็ นจานวนครังที่รับส่งข้ อมูลได้ ในหนึ่งหน่วยเวลา ซึง ้ ่ มีหน่วยเป็ นเฮิรตซ์ (Hz) เช่น บัสที่มีความเร็ว 1 MHz หมายความว่าบัสนี ้สามารถ รับส่งข้ อมูลได้ หนึ่งล้ านครังต่อวินาที เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่พบในปั จจุบนจะมีคาความเร็ว ้ ั ่ บัสเป็ น 667,800,1066 หรื อ 1333 MHz ถ้ าความเร็วบัสมีค่ามากหมายความ ว่าสามารถรับส่งข้ อมูลได้ เร็ว ก็จะทาให้ เวลาการทางานของโปรแกรมเร็วขึ ้นไปด้ วย
  • 18. • 3.3 การเลือกซือเครื่ องคอมพิวเตอร์ ให้ เหมาะสมกับงาน ้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนได้ พฒนาเทคโนโลยีให้ สามารถประมวลผลได้ เร็ว ั ั ขึ ้น แต่ราคาถูกลงกว่าแต่ก่อนมาก การเลือกซื ้อเครื่ องคอมพิวเตอร์ มาใช้ งานทาได้ ง่าย มี ให้ เลือกหลายรุ่นตามร้ านค้ าทัวไป แต่ผ้ ใช้ งานควรพิจารณาว่าจะนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ ่ ู เพื่อทางานด้ านใด เนื่องจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ มีทงแบบที่ใช้ ได้ กบงานทุกประเภท หรื อ ั้ ั ใช้ งานเฉพาะด้ าน แม้ วาราคาเครื่ องและอุปกรณ์ต่างๆ จะถูกลง แต่ผ้ ใช้ ควรเลือกเครื่ อง ่ ุ คอมพิวเตอร์ ที่เหมาะสมกับการใช้ งานเพื่อให้ ค้ มค่ากับจานวนเงิน ตัวอย่างของการเลือก ุ ซ้ อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตามลักษณะของงานแต่ละประเภท เช่น
  • 19. - งานเอกสาร หรืองานในสานักงาน เป็ นการใช้ คอมพิวเตอร์ สาหรับจัดการด้ าน เอกสาร รายงาน ตกแต่งภาพ ทาการ์ ดอิเล็กทรอนิกส์ ดูภาพยนตร์ หรื อสื่อทางการศึกษา ติดต่อสื่อสาร ค้ นหาข้ อมูลผ่านอินเทอร์ เน็ต ใช้ ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ เช่น ซอฟต์แวร์ ประมวลคา และซอฟต์แวร์ ตารางทางาน เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ในงานประเภทนี ้ไม่จาเป็ นต้ องใช้ ซีพียที่มี ู ความเร็วสูง คือประมาณ1GHz ขึ ้นไป แต่ควรมีแรมอย่างน้ อย 1GB และอาจเลือกใช้ จอภาพ แบบแอลซีดีขนาดใหญ่ 17-19 นิ ้วเพื่อถนอมสายตา เนื่องจากลักษณะงานต้ องจ้ องมอง จอภาพตลอดเวลา - งานกราฟิ ก เป็ นการใช้ คอมพิวเตอร์ สาหรับการตกแต่งและออกแบบภาพ และมีการ เรี ยนใช้ งานกราฟิ กหลายๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน ใช้ ซอฟต์แวร์ กราฟิ กในการสร้ างชิ ้นงาน เช่น งานสิ่งพิมพ์ งานนาเสนอแบบมัลติมีเดีย สร้ างเว็บไซต์ ติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์ เน็ต โดยมี การรับ-ส่งข้ อมูลจานวนมาก ที่มีทงภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ ในงาน ั้ ประเภทนี ้จาเป็ นต้ องมีซีพียที่มีความเร็วอยู่ในระดับปานกลางถึงค่อนข้ างสูง ประมาณ 2 ู GHz ขึ ้นไป ใช้ แรมอย่างน้ อย 2 GB ขึ ้นไป และมีฮาร์ ดดิสก์ที่มีความจุสงเพื่อใช้ ในการเก็บ ู ข้ อมูลจานวนมาก
  • 20. - งานออกแบบที่ต้องแสดงผลเป็ น 3 มิติ เป็ นการใช้ คอมพิวเตอร์ ในการ ออกแบบภาพ 3 มิติ สร้ างภาพยนตร์ สร้ างการ์ ตนแอนิเมชัน (animation) ตัดต่อวีดิ ู ่ ทัศน์ ตัดต่อเพลง เล่นเกมที่มีภาพกราฟฟิ กสูง และงานประเภทนี ้ต้ องการเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่มีความสามารถในการคานวณ และแสดงภาพความละเอียดสูงสุดได้ ดังนัน ควรเลือกซีพียู้ ที่มีความเร็ วสูงไม่น้อยกว่า 2 GHz มีแรมอย่างน้ อย 4 GB การ์ ดจอแสดงผลที่สามารถ แสดงภาพที่มีความละเอียดสูงได้ ดี ควรใช้ จอภาพขนาดไม่ต่ากว่า 24 นิ ้ว และควรมีเครื่ อง สารองไฟเนื่องจากการทางานประเภทนี ้ คอมพิวเตอร์ จะต้ องใช้ เวลาในการประมวลผลนาน ถ้ าหากไฟดับหรื อไฟกระตุกจะไม่สะดวกในการเริ่ มงานใหม่ • 3.4 การเลือกซ้ อเครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ สาหรับผู้เริ่ มใช้ คอมพิวเตอร์ ไม่ควรซื ้ออุปกรณ์มาประกอบเครื่ องคอมพิวเตอร์ เอง ควรเลือกเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่จดขายเป็ นชุดให้ แล้ ว และเลือกซื ้อจากบริ ษัทที่เชื่อถือได้ ั เนื่องจากผู้ผลิตได้ เลือกอุปกรณ์ตางๆ ที่เหมาะสมมาประกอบเป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์ อยู่ ่ แล้ ว
  • 21. รูปที่3.8 ตัวอย่างชุดเซ็ตคอมพิวเตอร์ สาหรับผู้ใช้ ที่ต้องการเลือกซื ้อชิ ้นส่วนต่างๆ มาประกอบเป็ นเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ตามที่ต้องการหรื อเพื่อปรับปรุงอุปกรณ์บางอย่าง เช่น ซีพียู เมนบอร์ ด และแรม อุปกรณ์เหล่านี ้มีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว หลักในการพิจารณาเลือกซื ้ออุปกรณ์แต่ละชนิดมีดงนี ้ ั
  • 23. • ปั จจัยในการพิจารณาเลือกซือซีพยู้ ี 1) บริ ษัทผู้ผลิต ในปั จจุบนมีบริ ษัทผู้ผลิตซีพียชนนา 2 บริ ษัท คือ บริ ษัทอินเทล ั ู ั้ (Intel Corporation) และบริ ษัทเอเอ็มดี (Advanced Micro Devices : AMD) โดยทังสองบริ ษัทได้ มีการผลิตซีพียที่แบ่งตามจานวนของแกนประมวลผล ้ ู (Processing core)
  • 24. • 2) ความเร็วของซีพียู ความเร็วของซีพียขึ ้นอยู่กบความถี่สญญาณนาฬิกา ซึงเป็ น ู ั ั ่ สัญญาณไฟฟาที่คอยกาหนดจังหวะการทางานประสานของวงจรภายในให้ สอดคล้ องกัน ้ สัญญาณดังกล่าวจะมีหน่วยความถี่เป็ นเมกะเฮิรตซ์ (megahertz) หรื อล้ านครังต่อวินาที ้ ถึงระดับกิกะเฮิรตซ์ (gigahertz) หรื อพันล้ านครังต่อวินาที ้ 3) หน่วยความจาแคช (cache) ในซีพียมีหน่วยความจาแคช ซึงเป็ นหน่วยความจา ู ่ ความเร็วสูงเพื่อให้ การทางานเร็วขึ ้นเนื่องจากแรมมีความเร็ วที่ช้ากว่าซีพียจึงจาเป็ นที่ต้องมี ู หน่วยความจาแคช เป็ นที่เก็บข้ อมูลชัวคราวเพื่อให้ ซีพียทางานร่วมกันได้ ดีขึ ้น โดยควรพิจารณา ่ ู เลือกซื ้อซีพียที่มีความจุของหน่วยความจาแคชมาก ู 4) ความเร็วบัส คือ ความเร็วในการรับส่งข้ อมูลระหว่างซีพียและอุปกรณ์อื่นๆ ควร ู พิจารณาซีพียที่มีความเร็วบัสสูงและสอดคล้ องกับความเร็วของอุปกรณ์อื่น เช่น เมนบอร์ ด และ ู แรม
  • 26. ตารางที่ 3.2 การเลือกใช้ ซีพียให้ เหมาะสมกับงาน ู
  • 27. 3.4.2 เมนบอร์ ด (mainboard) หรื ออาจเรี ยกว่า มาเธอร์ บอร์ ด หรื อโมโบ (motherboard : mobo) เป็ นแผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร์ โดยทัวไปจะ ่ ประกอบด้ วยช่องสาหรับติดตังซีพียไบออส ชิปเซ็ต ช่องสาหรับติดตังหน่วยความจา ้ ู ้ สายสัญญาณ และบัสต่างๆ ขัวต่อสาหรับ ้ • เชื่อมต่ออุปกรณ์เสรามภายใน เช่น ฮาร์ ดดิสก์ ซีดีไดร์ ฟและพอร์ ตต่ออุปกรณ์รอบข้ าง เช่น เมาส์ และ คีย์บอร์ ด
  • 28. • โดยทัวไปการระบุคณลักษณะของเมนบอร์ ดในชุดคอมพิวเตอร์ สาเร็จ อาจระบุ ่ ุ เฉพาะชนิด หรื อจานวนของพอร์ ต และสล็อต เช่น พอร์ ต USB หรื อ สล็อต PCI ซึงเป็ นส่วนประกอบหนึงของเมนบอร์ ดเท่านัน ตัวอย่างชนิดของพอร์ ต ่ ่ ้ และสล็อตที่ระบุในแผ่นพับชุดคอมพิวเตอร์ สาเร็จ รูปที่3.12 ตัวอย่างชนิด พอร์ ตและสล็อต
  • 33. 3.4.3 แรม ในการเลือกซื ้อแรมเพื่อนามาใช้ งรานกับพีซี มักจะเป็ นแรมชนิดดีดีอาร์ เอสดีแรม (Double Data Rate Synchronous Dynamic RAM : DDR SDRAM) ซึงจะต้ อง ่ พิจารณาประเภทของแรมให้ ตรงกับสล็อตหน่วยความจาบนเมนบอร์ ด และสิ่งที่ผ้ ใช้ คอมพิวเตอร์ ทวไป ู ั่ ควรให้ ความสาคัญในลาดับต่อมาคือ ขนาดความจุ และความเร็ว ซึงเป็ นปั จจัยสาคัญที่ต้องนามา ่ พิจารณาด้ วย รูปที่3.15 ตัวอย่างการระบุคณลักษณะของแรม ุ
  • 35. • ปั จจัยในการพิจารณาเลือกซือแรม ้ 1) ประเภทของแรม ต้ องพิจารณาเลือกซื ้อให้ ตรงกับสล็อต หน่วยความจาบนเมนบอร์ ด แรมที่ใช้ ในพีซี เช่น DDR , DDR2 และ DDR3 โดยแรมแต่ละชนิดจะมีตาแหน่งรอยบากที่แตกต่างกัน เพื่อให้ สามารถเสียบแรมบนสล็อตได้ ถกต้ อง ู 2) ความจุ ปั จจุบนแรมมีให้ เลือกตังแต่ความจุ 256 MB ขึ ้นไป ั ้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ งานด้ านกราฟิ กหรื อมัลติมีเดียระดับสูง จะใช้ แรมที่มีความ จุสงขึ ้นตามไปด้ วย สาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในปั จจุบนมักจะติดตังแรมความ ู ั ้ จุ 1 GB ขึ ้นไป
  • 36. บนเมนบอร์ ดของคอมพิวเตอร์ จะมีสล็อตสาหรับติดตังแรมมากกว่า 1 ช่อง ผู้ใช้ ้ สามารถติดตังแรมได้ หลายตัว แต่ต้องเป็ นชนิดเดียวกัน ตามที่สล็อตติดตังจะมีให้ โดยความจุ ้ ้ แรมของพีซีจะเท่ากับผลรวมจากความจุของแรมทังหมด ้ รูปที่3.17 การติดตังแรมบนเมนบอร์ ด ้
  • 37. 3) ความเร็วของแรม ความเร็วของแรม หมายถึง จานวนครังที่สามารถอ่าน ้ เขียนข้ อมูลได้ ภายในหนึ่งวินาที โดยมีหน่วยวัดเป็ น เมกะเฮิรตซ์ (MHz) เช่น DDR3 มีความเร็ว 1,333 MHz เป็ นต้ น ผุ้ใช้ งานต้ องเลือกความเร็ว ของแรมให้ สอดคล้ องกับความเร็วบัสของเมนบอร์ ดด้ วย ตัวอย่างเช่น ถ้ าระบบบัสบน เมนบอร์ ด (FSB) ทางานด้ วยความเร็ว 1,066 MHz แต่นาแรมที่มี ความเร็ว 1,333 MHz มาใช้ งานจะได้ สามารถทางานที่ความเร็ว 1,333 MHz ได้ ตัวอย่างของระบบบัสบนเมนบอร์ ดกับแรมเปรี ยบได้ กบการที่รถวิ่งบนถนน ั เพื่อไปให้ ถึงจุดหมาย ในบางครังอาจใช้ อตราการถ่ายโอนข้ อมูลในการจาแนกรุ่นของแรม เช่น PC2- ้ ั 5400 คือ แรมชนิด DDR2 – 667 ที่มีคาอัตราการถ่ายโอนข้ อมูล ่ ประมาณ 5,400 MB/s หมายถึง ปริ มาณข้ อมูลที่จะรับส่งได้ ภายในหนึงวินาที ่ (คานวณจาก 667 MHz X 8 ไบต์)
  • 39. 3.4.4 ฮาร์ ดดิสก์ (hard disk) เป็ นอุปกร์ ในการเก็บข้ อมูล ฮาร์ ดดิสก์ที่ใช้ กนใน ั พีซีโดยทัวไปคือ ฮาร์ ดดิสก์ขนาด 3.5 นิ ้ว สาหรับฮาร์ ดดิสก์ที่มีขนาด 2.5 และ 1.8 นิ ้วนัน ่ ้ นิยมใช้ กบโน๊ ตบุ๊ก ั รูปที่3.19 ฮาร์ ดิสก์
  • 40. การพิจารณาเลือกซื ้อฮาร์ ดดิสก์ขึ ้นอยู่กบปั จจัยหลายอย่างด้ วยกัน เช่น การเชื่อมต่อ ั ความจุของข้ อมูล และความเร็วรอบของฮาร์ ดดิสก์ ซึงสิ่งเหล่านี ้จะทาให้ ฮาร์ ดดิสก์มีราคาที่ ่ แตกต่างกัน รูปที่3.20 การระบุคณลักษณะของฮาร์ ดิสก์ ุ
  • 41. • ปั จจัยในการพิจารณาเลือกซื ้อฮาร์ ดดิสก์ 1) การเชื่อมต่ อ มาตรฐานการเชื่อมต่อของฮาร์ ดดิสก์ที่ใช้ งานอยูบนพีซี ่ ในปั จจุบน ใช้ มาตรฐาน EIDE และ SATA ทังนี ้ขึ ้นอยูกบเมนบอร์ ดว่ารองรับ ั ้ ่ ั การเชื่อมต่อแบบใด 2) ความจุข้อมูล มีหน่วยเป็ น กิกะไบท์ (GB) หรื อเทระไบต์ (TB) ซึง ่ ขนาดความจุข้อมูลของฮาร์ ดดิสก์นนขึ ้นอยูกบความต้ องการของผู้ใช้ งาน ั้ ่ ั 3) ความเร็วรอบ เป็ นอัตราเร็วในการหมุนของฮาร์ ดดิสก์เพื่อให้ หวอ่าน- ั เขียน เข้ าถึงข้ อมูลฮาร์ ดดิสก์ที่มีความเร็วรอบสูงจะทาให้ มีอตราเร็วในการรับส่ง ั ข้ อมูลสูง โดยทัวไปฮาร์ ดดิสก์ของพีซีจะมีความเร็วรอบอยูที่ 7,200 รอบต่อนาที ่ ่ (rpm) •
  • 43. 3.4.5 การ์ ดแสดงผล (display card, graphics card หรือ video card) ทาหน้ าที่แปลงข้ อมูลดิจิทลมาเป็ นสัญญาณที่สงไปที่จอภาพ การ์ ดแสดงผลอาจอยู่ใน ั ่ รูปแบบการ์ ดหรื ออาจติดตังมาบนเมนบอร์ ดแล้ ว ้ การที่ผ้ ใช้ ต้องการปรับปรุงการ์ ดแสดงผลเนื่องจากต้ องการใช้ กบงานที่ต้องการแสดงผล ุ ั ภาพสามมิติได้ อย่างคมชัด ซึงคอมพิวเตอร์ ชดสาเร็จที่ผ้ ขายจัดให้ อาจไม่สามารรถแสดงผลภาพ ่ ุ ู ดังกล่าวได้ อย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับปั จจัยในการพิจารณาเลือกซื ้อการ์ ดแสดงผล เช่น ชิป ประมวลผล กราฟิ ก การเชื่อมต่อ และความจุของหน่วยความจาบนก รูปที่3.22 การระบุคณลักษณะของการ์ ดแสดงผล ุ
  • 44. ปั จจัยในการเลือกซื ้อการ์ ดแสดงผล 1) ชิปประมวลผลกราฟิ ก หรือจีพยู (graphic processing unit : ี GPU) เป็ นอุปกรณ์พิเศษที่เพิ่มความเร็วในการแสดงผลโดยลดภาระซีพียในการคานวณข้ อมูลที่จะ ู ส่งไปที่จอภาพ ตัวอย่างการเลือกซื ้อจีพียู เช่น ถ้ าต้ องการประมวลผลภาพสามมิติ อาจใช้ ชิปของ บริ ษัท nVIDIA รุ่น GForce 9 และ GTX2xx หรื อชิปของบริ ษัท ATi รุ่น Radeon HD 4000 2) การเชื่อมต่ อ มี 2 แบบ คือ แบบใช้ กบบัส PCI Express และบัส AGP โดย PCI ั Express จะมีประสิทธิภาพสูงที่สดซึงสามารถให้ ความเร็วสูงสุดได้ ถึง 16 GB/s ส่วน AGP มี ุ ่ ประสิทธิภาพรองลงมา 3) ความจุของหน่ วยความจาบนการ์ ด หน่วยความจาบนการ์ ด (Video RAM) เป็ น ส่วนที่ใช้ เก็บข้ อมูลภาพที่แสดงบนจอคอมพิวเตอร์ ถ้ าความจุของหน่วยความจามาก จะทาให้ แสดง ภาพมัลติมีเดียความละเอียดสูงได้ ดี การบอกความจุของหน่วยความจาบนตัวการ์ ด เช่น DDR3 512 MB 3.4.6 ออปติคัลดิสก์ ไดร์ ฟ (optical disk drive) ที่ใช้ กนในปั จจุบน เช่น ซีดีไดร์ ฟ ั ั และดีวีดีไดร์ ฟ เป็ นอุปกรณ์มาตรฐานที่พีซีทกเครื่ องควรมี เนื่องจากซีดี/ดีวีดีไดร์ ฟมีราคาถูกลงมาก ุ นอกจากนี ้สื่อที่ใช้ เก็บบันทึก เช่น แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี มีความจุสงและมีราคาถูก ู
  • 47. 3.4.8 จอภาพ (monitor) ที่พบจะมีอยู่สองประเภทคือ จอซีอาร์ ที (Cathode Ray Tube : CRT) และจอแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD) ซึงในปั จจุบนจอแอลซีดีเป็ นที่ ่ ั นิยมมากเนื่องจากมีราคาถูก ถนอมสายตา ประหยัดพลังงาน และใช้ พื ้นที่ในการจัดวางน้ อย รูปที่3.25 คุณลักษณะของจอภาพ
  • 48. ปั จจัยในการเลือกซือจอภาพ เช่น ้ - ความละเอียดของภาพ (resolution) หมายถึง จานวนจุดหรื อพิกเซลบนจอภาพ ถ้ าหาก มีความละเอียดสูงจะทาให้ ภาพคมชัดมากขึ ้น ตัวอย่างเช่น จอภาพที่มีความละเอียด 1680 x 1050 เป็ นจอภาพที่มีจดภาพในแนวนอน 1680 จุด และมีจดภาพในแนวตัง1050 จุด ุ ุ ้ - ขนาด (size) ขนาดของจอภาพจะวัดเป็ นแนวทแยงมุม เช่น จอ 19 นิ ้ว และแบบ 21 นิ ้ว นอกจากนี ้จอภาพยังสามารถเลือกความสว่าง (brightness) และความเปรี ยบเทียบต่าง (contrast) ได้ อีกด้ วย การแสดงผลของจอภาพนันจะต้ องมีการ์ ดแสดงผล เป็ นตัวประสานงาน ้ ระหว่างซีพียกบจอภาพ โดยสัญญาณภาพจะถูกส่งออกมาจากการ์ ดแสดงผลนี ้ จอภาพโดยทัวไปจะมี ูั ่ พอร์ ตต่อแบบวีจีเอ (Video Graphics Array : VGA) ซึงเป็ นตัวรับสัญญาณแอนะล็อกมา ่ จากการ์ ดแสดงผล จอภาพบางรุ่นจะมีพอร์ ตต่อแบบดีวีไอ (Digital Video Interface : DVI) ซึงเป็ นการรับข้ อมูลภาพแบบดิจิทลซึงจะให้ ภาพที่คมชัดกว่า ่ ั ่
  • 49. • 3.5 การรับประกันอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จะมีการรับประกันอายุการใช้ งาน อุปกรณ์แต่ละชนิดจะมีระยะเวลารับประกันต่างกัน เช่น แรม รับประกัน ตลอดอายุการใช้ งาน (life time) และฮาร์ ดดิสก์อาจรับประกัน 1- 5 ปี โดยอายุของการรับประกันที่นานขึ ้น อาจมีผลทาให้ ราคาสูงขึ ้น บน อุปกรณ์บางชนิดจะมีสติ๊กเกอร์ รับประกันติดอยูบนตัวอุปกรณ์ซงหากมี ่ ึ่ การฉีกขาด การรับประกันจะสิ ้นสุดลงทันที ดังนันจึงควรระมัดระวังเมื่อ ้ เลือกซื ้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ชนิดต่างๆ
  • 50. • 3.6 ข้ อแนะนาการดูแลและบารุ งรั กษาเครื่องคอมพิวเตอร์ เบืองต้ น ้ 1. ไม่ควรเปิ ดฝาคอมพิวเตอร์ โดยไม่จาเป็ น เนื่องจากอาจมีโลหะที่นาไฟฟาเข้ าไปในเครื่ อง ้ ทาให้ เกิดการลัดวงจร หรื อมีฝนเข้ าไปในตัวเครื่ อง ฝุ่ นนี ้จะเป็ นตัวเก็บความชื ้นทาให้ วงจร ุ่ คอมพิวเตอร์ ทางานผิดพลาดได้ 2. ไม่ควรตังเครื่ องคอมพิวเตอร์ ไว้ ในสถานที่ที่มีอณหภูมิสง เนื่องจากจะส่งผลให้ ชิ ้นส่วน ้ ุ ู อิเล็กทรอนิกส์เสื่อมสภาพเร็วขึ ้น 3. ไม่ควรตังคอมพิวเตอร์ ใกล้ กบประตูหรื อหน้ าต่าง เนื่องจากอาจโดนแสดงแดดหรื อฝน ้ ั สาดเข้ ามาได้ 4. ไม่ควรวางจอคอมพิวเตอร์ ใกล้ กบสนามแม่เหล็ก หรื อลาโพงตัวใหญ่ๆ เนื่องจาก ั สนามแม่เหล็กจะทาให้ การแสดงภาพผิดเพี ้ยนไปจากความเป็ นจริ ง 5. ถ้ าหากที่บ้านไฟตกหรื อมีไฟกระชาก ควรมีเครื่ องสารองไฟยูพีเอส (Uninterruptible power supply : UPS) 6. ควรตังโหมดประหยัดพลังงานให้ กบเครื่ อง เพื่อถนอมอายุการใช้ งานเครื่ อง การทางาน ้ ั ในโหมดนี ้จะทาให้ ฮาร์ ดดิสก์และซีพียทางานน้ อยลงเมื่อไม่มีการใช้ เครื่ องในระยะเวลาที่กาหนด ู 7. ไม่ควรวางของเหลวใกล้ กบเครื่ องคอมพิวเตอร์ ั 8. ไม่ควรปิ ดเครื่ องโดยการกดสวิตซ์ปิด ควรใช้ คาสังปิ ดระบบปฏิบติการ เนื่องจาก ่ ั ระบบปฏิบติการต้ องดาเนินการตรวจสอบสถานการณ์ทางานต่างๆ ของฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ั ก่อนจะหยุดการทางาน
  • 51. • 3.7 การแก้ ปัญหาเบืองต้ นของพีซี ้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ นบว่าเป็ นอุปกรณ์ที่ทนต่อการใช้ งาน ถ้ าหากใช้ งานเครื่ องอย่างถูก ั วิธีตามคาแนะนาที่กล่าวมา แต่อย่างไรก็ตามมีบางปั ญหาที่อาจเกิดขึ ้นได้ ซึงผู้ใช้ สามารถแก้ ไข ่ เบื ้องต้ นได้ ด้วยตัวเอง เช่น 1. เครื่ องหยุดทางานขณะใช้ งานอยู่ สาเหตุ แหล่งจ่ายไฟจ่ายกาลังไฟฟาไม่พอ อาจเกิดจากมีอปกรณ์ต่อพ่วงอยู่กบ ้ ุ ั คอมพิวเตอร์ เป็ นจานวนมาก การแก้ ไข นาอุปกรณ์ที่ไม่จาเป็ นที่ต่อพ่วงอยู่กบเครื่ องคอมพิวเตอร์ ออกไป หรื อเปลี่ยน ั แหล่งจ่ายไฟที่มีกาลังไฟฟามากขึ ้น ้ 2. เปิ ดเครื่ องแล้ วปรากฏข้ อความว่า “DISK BOOT fAILURE, INSERT DISK SYSTEM PRESS ENTER” สาเหตุ เครื่ องบูตไม่พบฮาร์ ดดิสก์ หรื อระบบปฏิบติการบนฮาร์ ดดิสก์เสียหาย ั การแก้ ไข ตรวจสอบโปรแกรมไบออสว่า บูตฮาร์ ดดิสก์ในตาแหน่งที่ถกต้ องหรื อไม่ หรื อ ู ติดตังระบบปฏิบติการบนฮาร์ ดดิสก์ ้ ั 3. อ่านหรื อเขียนแผ่นซีดี / ดีวีดีไม่ได้ สาเหตุ หัวอ่านเลเซอร์ ของไดร์ ฟสกปรก การแก้ ไข ให้ ใช้ แผ่นซีดีทาความสะอาดหัวอ่าน โดยใส่แผ่นซีดีสาหรับทาความสะอาด เข้ าไปในไดร์ ฟ แปรงขนาดเล็กที่อยู่ใต้ แผ่นซีดีจะปั ดทาความสะอาดหัวอ่านเลเซอร์ ของไดร์ ฟ 4. เครื่ องรี สตาร์ ต (restart) เองขณะใช้ งาน สาเหตุ ซีพียมีความร้ อนสูง ู การแก้ ไข ตรวจสอบพัดลมของซีพียว่าทางานหรื อไม่ สายที่ต่ออยู่แน่หรื อไม่ ู