SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปี การศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคแพนิค Panic disorder
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว นภิสา จุ้ยพิทักษ์ เลขที่ 22 ชั้น ม. 6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
2
นางสาว นภิสา จุ้ยพิทักษ์ เลขที่ 22
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคแพนิค
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Panic disorder
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational
Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว นภิสา จุ้ยพิทักษ์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล
ของการทาโครงงาน)
โ ร ค แ พ นิ ค
เป็ นโรคที่มักพบได้บ่อยในวัยรุ่นตอนปลายหรือผู้ที่ย่างเข้าวัยผู้ใหญ่ตอนต้น
โ ด ย ผู้ ห ญิ ง จ ะ ป่ ว ย ม า ก ก ว่ า ผู้ ช า ย อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม
ผู้ ที่ เกิ ด อ า ก า ร แ พ นิ ค ไ ม่ ไ ด้ ป่ ว ย เป็ น โ ร ค แ พ นิ ค ทุ ก ร า ย
เนื่องจากอาการดังกล่าวเกิดขึ้นและหายไปเมื่อเหตุการณ์ที่ทาให้เกิดอาการแพนิคจ
บ ล ง ห รื อ ผ่ า น พ้ น ไ ป แ ล้ ว
ต่างจากผู้ป่วยโรคแพนิคที่มักเกิดอาการแพนิคหรือตื่นตระหนกอยู่เสมอเป็นเวลายา
วนาน รวมทั้งมักมีปัญหาสุขภาพ จิต อย่างอื่นร่วมด้วย เช่น โรค ซึมเศร้า
ห รื อ ใ ช้ ส า ร เ ส พ ติ ด อื่ น ๆ
โด ยทั่วไปอาการของโรคแพ นิคจะสามารถเกิดขึ้นที่ไห นห รือเมื่อไรก็ได้
ไม่สามารถค าด เดาได้ โด ยผู้ป่ วยจะมีอาการแบบนี้ ซ้าๆ กัน ห ลาย ค รั้ง
บางคนอาจเป็ น 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์ ส่วนบางคนที่เป็นมากอาจจะเป็ นวันละหลายๆ
ค รั้ ง ซึ่ ง ผ ล จ า ก ก า ร ที่ มี อ า ก า ร แ บ บ นี้ บ่ อ ย ๆ
จึงทาให้มีผู้ป่วยหลายคนเกิดความกังวลแต่ในบางกรณีผู้ป่วยอาจจะเชื่อมโยงอาการ
กับ ส ถ า น ที่ ห รื อ กิจ ก ร ร ม บ าง อ ย่ า ง ท าใ ห้ ไ ม่ ก ล้า ท า กิ จ ก ร ร ม นั้ น
หรือไปในสถานที่ที่เคยเกิดอาการ ยกตัวอย่างเช่น บางคนไม่กล้านั่ง(ขับ)รถ
เพ ร า ะ ค รั้ง แ ร ก ที่ มี อ า ก า ร แ พ นิ ค เป็ น ต อ น นั่ งร ถ เป็ น ต้น ดังนั้ น
ข้าพเจ้าจึงได้จัดทาโครงงานศึกษาเกี่ยวกับโรคแพนิคเพื่อเป็ นสื่อความรู้สาหรับผู้ที่ส
นใจและต้องการศึกษาข้อมูลและเป็นประโยชน์ต่อไป
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อเป็นสื่อสาหรับผู้ที่สนใจและต้องการศึกษา
2. เพื่อให้เข้าใจและตระหนักถึงโรคแพนิคมากขึ้น
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต
เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์เกี่ยวกับโรคแพนิคด้วย google sites
2. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่
2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2.2 เว็บไซต์ที่ให้บริการในการสร้างเว็บบล็อก คือ
https://sites.google.com/
2.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น
www.facebook.com,www.hotmail.com
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
Panic disorder
โรคแพนิค
คือ ภาวะตื่นตระหนกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยไม่มีเหตุผลหรือหาสาเหตุไม่ได้
ซึ่ ง โ ร ค นี้ แ ต ก ต่ า ง จ า ก อ า ก า ร ห ว า ด ก ลั ว ห รื อ กั ง ว ล ทั่ ว ไ ป
เ นื่ อ ง จ า ก ผู้ ป่ ว ย จ ะ เ กิ ด อ า ก า ร แ พ นิ ค ( Panic Attacks)
หรือหวาดกลัวอย่างรุนแรงทั้งที่ตัวเองไม่ได้เผชิญหน้าหรือตกอยู่ในสถานการณ์อัน
ต ร า ย อ า ก า ร แ พ นิ ค เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ ต ล อ ด เ ว ล า
ส่ ง ผ ล ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย โ ร ค แ พ นิ ค รู้ สึ ก ก ลั ว แ ล ะ ล ะ อ า ย
เนื่องจากไม่สามารถควบคุมตัวเองหรือดาเนินชีวิตประจาวันได้ตามปกติ3
โรคแพนิคมักพบได้บ่อยในวัยรุ่นตอนปลายหรือผู้ที่ย่างเข้าวัยผู้ใหญ่ตอนต้น
โ ด ย ผู้ ห ญิ ง จ ะ ป่ ว ย ม า ก ก ว่ า ผู้ ช า ย อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม
ผู้ ที่ เกิ ด อ า ก า ร แ พ นิ ค ไ ม่ ไ ด้ ป่ ว ย เป็ น โ ร ค แ พ นิ ค ทุ ก ร า ย
เนื่องจากอาการดังกล่าวเกิดขึ้นและหายไปเมื่อเหตุการณ์ที่ทาให้เกิดอาการแพนิคจ
บ ล ง ห รื อ ผ่ า น พ้ น ไ ป แ ล้ ว
ต่างจากผู้ป่วยโรคแพนิคที่มักเกิดอาการแพนิคหรือตื่นตระหนกอยู่เสมอเป็นเวลายา
วนาน รวมทั้งมักมีปัญหาสุขภาพ จิต อย่างอื่นร่วมด้วย เช่น โรค ซึมเศร้า
หรือใช้สารเสพติดอื่น ๆ
ลักษณะอาการของโรคแพนิค คือ ผู้ป่วยจะมีอาการใจสั่น ใจเต้นแรง
แน่นหน้าอก รู้สึกหายใจขัด เวียนหัว (หรือรู้สึกว่าหัวเบาๆ) ถ้าอาการมากๆ
จ ะ มี เ ห งื่ อ แ ต ก มื อ เ ย็ น เ ท้ า เ ย็ น ( ห รื อ ช า ) ด้ ว ย
4
โ ด ย อ า ก า ร จะเป็ น ขึ้น ม า แ บ บ ทัน ที ทัน ใ ด ช นิ ด อยู่ ดี ๆ ก็ เป็ น ขึ้น ม า
แ ละจะเป็ น ม ากอ ยู่ ป ระม าณ 1 0 -1 5 น า ที จ า กนั้ น ก็ จะค่อ ย ๆ ดี ขึ้ น
แ ล ะ มั ก จ ะ ห า ย ไ ป ใ น เ ว ล า ไ ม่ เ กิ น ห นึ่ ง ชั่ ว โ ม ง
ด้ว ย อ าก าร ที่ เป็ น แ บ บ ทัน ที แ ล ะรุ น แ ร งนี่ เอ ง ท าให้ ผู้ ป่ ว ย ห ล าย ๆ
คนตกใจกลัวว่าจะเป็นโรคหัวใจ เป็นโรคร้ายแรงหรือกลัวว่าจะตายได้
โดยผู้ป่ วยจะมีอาการแบบนี้ซ้าๆ กันห ลายครั้ง บางค นอาจเป็ น 2 -3
ค รั้งต่อ สัป ด าห์ ส่วน บางค น ที่ เป็ น ม ากอาจจะเป็ น วัน ละห ลาย ๆ ค รั้ง
ซึ่ ง ผ ล จ า ก ก า ร ที่ มี อ า ก า ร แ บ บ นี้ บ่ อ ย ๆ
จึงทาให้มีผู้ป่วยหลายคนเกิดความกังวลตามมา เช่น กังวลว่าจะมีอาการขึ้นมาอีก
หรือกังวลว่าตัวเองเป็นโรคอะไรบางอย่าง
ภาวะแทรกซ้อนของโรคแพนิค
 ในรายที่มีอาการกาเริบบ่อย อาจมีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น
ท า ใ ห้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ล ด ล ง
ผู้ป่ วยอาจคิดว่าตนเองจะเป็ นอะไรไปจึงทาให้ต้องไปพบแพทย์บ่อย ๆ
ค ว า ม สัม พั น ธ์ กับ บุ ค ค ล ใ ก ล้ ชิ ด อ า จ เกิ ด ค ว า ม ตึ ง เค รี ย ด
ท้ายสุดผู้ป่ วย ก็จะแยกตัวเองออกจากผู้อื่นและไม่กล้าออกจากบ้าน
ห รืออย่างบางราย ถ้าเป็ นห นักม ากก็อาจส่งผ ลต่อห น้ าที่การงาน
ทาให้ไม่สามารถทางานได้ตามที่ควรจะเป็ น และอาจต้องหยุดงานบ่อย ๆ
ห รื อ ห ยุ ด งาน ที เป็ น เดื อ น ๆ เนื่ อ ง จา ก มี อ าก าร ก า เริบ ทุ ก วัน
แ ล ะถ้า เป็ น ใน เด็ ก อ า จมี ผ ล ต่อ พั ฒ น าก าร ก า รเรีย น ห นั งสื อ
และการเข้าสังคมได้ เป็นต้น
 เนื่องจากอาการที่กาเริบมักเกิดขึ้นโดยไม่คาดคิดมาก่อนและไม่สามารถคาดเ
ด า ไ ด้ ว่ า จ ะ เ กิ ด เ มื่ อ ไ ห ร่
จึงอาจทาให้เป็นอันตรายทางอ้อมได้หากเกิดขึ้นในขณะที่กาลังขับรถหรือทาง
านเกี่ยวกับเครื่องจักรอยู่
 ผู้ป่ วยที่เป็ นโรคแพนิคจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็ นโรคซึมเศร้า (Major
depressive disorder - MDD) การฆ่าตัวต าย การติด แ อลกอฮอล์
การติดยาหรือเสพติด
 ผู้ป่วยบางรายอาจมีโรคย้าคิดย้าทาร่วมด้วย
การรักษา
-การควบคุมลมหายใจเวลาที่มีอาการ (breathing exercise)
เวลาที่มีอาการแพนิค (อาการใจสั่น แน่นหน้าอก หายใจขัด และอื่น ๆ
นั่นแหละครับ) สิ่งแรกที่ควรทาคือนั่งพัก จากนั้นให้หายใจเข้าออก**ช้าๆ ลึกๆ
ยาวๆ** เห มือนเวลานั่ งสม าธิห รือเล่น โย ค ะ เพ ราะห ากยิ่งห าย ใจเร็ว
(ห า ย ใ จ สั้ น แ ต่ ถี่ ) จ ะ ยิ่ ง ท า ใ ห้ อ า ก า ร ที่ เป็ น รุ น แ ร ง ม า ก ขึ้ น
โดยทั่วไปถ้าสามารถควบคุมการหายใจได้ (หายใจเข้าออกช้า ๆ ยาว ๆ) ไม่เกิน
1 5 -2 0 น า ที อ า ก า ร ก็ มั ก จ ะ ดี ขึ้ น เ อ ง
ในผู้ป่วยบางรายแพทย์อาจจะให้ยาสาหรับรับประทานเวลาที่มีอาการมาด้วย
ก็สามารถกินยาไปด้วยได้
-การรักษาโดยการใช้ยา
5
โดยทั่วไปแล้วยาที่แพทย์ให้จะมี 2 กลุ่มหลัก ๆ คือ
1) ยาที่กินเพื่อลดอาการ
ย า ก ลุ่ ม นี้ กิ น เ พื่ อ ล ด อ า ก า ร ข ณ ะ ที่ เ ป็ น
โด ย มากแ พ ทย์ มักจะให้มาทาน ใน ช่วงระย ะแรก ๆ ที่มารับ การรักษ า
เนื่ อ งจ า ก ย า ที่ ป้ อ งกัน ไม่ ใ ห้เป็ น (ข้อ ถัด ไ ป ) ยัง ออ ก ฤ ท ธิ์ไ ม่เต็ ม ที่
ยาในกลุ่มนี้จะเป็ นยาที่ออกฤทธิ์เร็ว ใช้กินเวลาที่มีอาการใจสั่น แน่นหน้าอก
หายใจขัด กินแล้วจะช่วย ลดอาการเห ล่านี้ไปได้และทาให้อาการหายไป
( ห รื อ พู ด ง่ า ย ๆ คื อ ย า ใ น ก ลุ่ ม นี้ ใ ห้ กิ น เ ฉ พ า ะ ถ้ า มี อ า ก า ร
ถ้าไม่มีอาการก็ไม่จาเป็นต้องกิน)
ยาที่นิยมใช้ในกรณีนี้ได้แก่ ยากลุ่ม Benzodiazepine เช่น Alprazolam ,
Clorazepate , Diazepam , Clonazepam เป็นต้น
2) ยาที่กินเพื่อป้องกันและรักษา
ยาในกลุ่มนี้ถือเป็ นยาตัวหลักที่ใช้ในการรักษา ยาจะช่วยป้ องกันไม่ให้เป็ น
ท า ใ ห้ อ า ก า ร แ พ นิ ค เ ป็ น ถี่ น้ อ ย ล ง จ น ค่ อ ย ๆ ห า ย ไ ป
รวมทั้งช่วยป้ องกันการกลับมาเป็ นซ้า แต่ยาในกลุ่มนี้ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2
สัปดาห์ถึงจะเริ่มเห็นผล ดังนั้นในอาทิตย์แรก ๆ จะยังไม่เห็นผลชัดเจนนัก
แพทย์จึงมักให้ทานยาในข้อ1เพื่อลดอาการไปด้วย
โดยทั่วไปแล้ว ยาที่กินเพื่ อป้ องกันนี้แนะนาให้กินอย่างน้อย 8 เดือน
แม้ว่าเมื่อรักษาไปสักเดือนสองเดือนผู้ป่วยส่วนใหญ่จะไม่ค่อยมีอาการแล้วก็ตาม
แต่ควรกินยาต่อให้ครบ เพราะจากการศึกษาพบว่า ในกรณีที่ผู้ป่วยหยุดยาเร็ว
มักมีอาการกลับมาเป็นซ้าได้บ่อย
สาเหตุของโรคแพนิค
ใ น ปั จ จุ บัน ยั ง ไ ม่ ท ร า บ ส า เห ตุ ที่ แ น่ ชั ด แ ต่ สัน นิ ษ ฐ า น ว่ า
โ ร ค นี้ อ า จ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม
เพราะพบว่าผู้ที่มีพ่อแม่พี่น้องเป็ นโรคนี้จะมีโอกาสเป็ นโรคนี้มากกว่าคนทั่วไป
นอกจากนี้ยังอาจเกี่ยวข้องกับปัจจัยทางด้านจิตใจและด้านชีวภาพ
1. ปั จ จั ย ท า ง ด้ า น จิ ต ใ จ
โดยเชื่อว่าความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นนั้นเป็นการเลียนแบบมาจากพ่อแม่ที่มีอาก
า ร ใ น ลั ก ษ ณ ะ เ ดี ย ว กั บ ผู้ ป่ ว ย
หรือเกิดจากการที่ผู้ป่วยเคยมีอาการแพนิคในขณะที่มีสิ่งกระตุ้นหรืออยู่ในสถ
า น ที่ บ า ง ลั ก ษ ณ ะ
และเมื่อเจอสิ่งกระตุ้นหรือสถานที่ลักษณะนั้นก็ทาให้อาการกาเริบขึ้นมา
2. ปั จ จั ย ท า ง ด้ า น ชี ว ภ า พ
เพราะพบว่าระบบประสาทอัตโนมัติส่วนซิมพาเทติกของผู้ป่วยมีความไวต่อสิ่
งกระตุ้นต่าง ๆ หรือมีการตอบสนองอย่างผิดปกติต่อสารสื่อประสาท
(Neurotransmitters) ได้แก่ น อร์เอพิ เน ฟ ริน ( Norepinephrine),
เซ โรโท นิ น (Serotonin), กรด แกม มาอะมิโน บิวที ริก ( Gamma-
aminobutyric acid - GABA) หรืออาจเกิดจากสารเหนี่ยวนาต่าง ๆ เช่น
คาร์บอนไดออกไซด์เข้มข้น 5-35%, โซเดียมแล็กเทต (Sodium lactate),
6
โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium bicarbonate), โยฮิมบิน (Yohimbin),
เฟนฟลูรามีน (Fenfluramine), กาเฟอีน (Caffeine) เป็นต้น
บทความโดย: พญ.นิดา ลิ้มสุวรรณ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา
2. ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
3. จัดทาโครงร่างงาน
4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5. ปรับปรุงทดสอบ
6. การทาเอกสารรายงาน
7. ประเมินผลงาน
8. นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. แบบประเมินและวิเคราะห์โรคตื่นตระหนก
2. เอกสารโครงงาน
3. บอร์ดนาเสนอ
งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช
อบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ
มูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโคร
งงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงา
น
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2. สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนหรือคนรอบข้างได้
7
3. ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัด เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-วิชาสุขศึกษา
-เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1.https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B
8%84%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%B
4%E0%B8%84
2.http://www.vichaiyut.co.th/health/diseases-treatment/other-
diseases/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9
%81%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84-
%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0
%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89-
%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0
%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%95/
3.https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B
8%84%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%B
4%E0%B8%84

More Related Content

What's hot

การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาการบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาPain clinic pnk
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยMickey Toon Luffy
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยgeekan
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวดJumpon Utta
 
TAEM10:Pain management
TAEM10:Pain managementTAEM10:Pain management
TAEM10:Pain managementtaem
 
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตgeekan
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain clinic pnk
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชKanti Bkk
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดtopsaby99
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
Smoking Cessation
Smoking CessationSmoking Cessation
Smoking Cessationsoftganz
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาZiwapohn Peecharoensap
 

What's hot (19)

การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาการบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
 
Final Project
Final ProjectFinal Project
Final Project
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวด
 
TAEM10:Pain management
TAEM10:Pain managementTAEM10:Pain management
TAEM10:Pain management
 
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิต
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Smoking Cessation
Smoking CessationSmoking Cessation
Smoking Cessation
 
Smoking Cessation
Smoking CessationSmoking Cessation
Smoking Cessation
 
Tyr kk camp concept
Tyr kk camp conceptTyr kk camp concept
Tyr kk camp concept
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
 

Similar to 2562 final-project 22

แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมAkanit Srilaruk
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56ร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1mewsanit
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขNattanichaYRC
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 

Similar to 2562 final-project 22 (20)

แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
155344bayer329
155344bayer329155344bayer329
155344bayer329
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Great
GreatGreat
Great
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 

2562 final-project 22

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปี การศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคแพนิค Panic disorder ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว นภิสา จุ้ยพิทักษ์ เลขที่ 22 ชั้น ม. 6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม
  • 2. 2 นางสาว นภิสา จุ้ยพิทักษ์ เลขที่ 22 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคแพนิค ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Panic disorder ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว นภิสา จุ้ยพิทักษ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) โ ร ค แ พ นิ ค เป็ นโรคที่มักพบได้บ่อยในวัยรุ่นตอนปลายหรือผู้ที่ย่างเข้าวัยผู้ใหญ่ตอนต้น โ ด ย ผู้ ห ญิ ง จ ะ ป่ ว ย ม า ก ก ว่ า ผู้ ช า ย อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ผู้ ที่ เกิ ด อ า ก า ร แ พ นิ ค ไ ม่ ไ ด้ ป่ ว ย เป็ น โ ร ค แ พ นิ ค ทุ ก ร า ย เนื่องจากอาการดังกล่าวเกิดขึ้นและหายไปเมื่อเหตุการณ์ที่ทาให้เกิดอาการแพนิคจ บ ล ง ห รื อ ผ่ า น พ้ น ไ ป แ ล้ ว ต่างจากผู้ป่วยโรคแพนิคที่มักเกิดอาการแพนิคหรือตื่นตระหนกอยู่เสมอเป็นเวลายา วนาน รวมทั้งมักมีปัญหาสุขภาพ จิต อย่างอื่นร่วมด้วย เช่น โรค ซึมเศร้า ห รื อ ใ ช้ ส า ร เ ส พ ติ ด อื่ น ๆ โด ยทั่วไปอาการของโรคแพ นิคจะสามารถเกิดขึ้นที่ไห นห รือเมื่อไรก็ได้ ไม่สามารถค าด เดาได้ โด ยผู้ป่ วยจะมีอาการแบบนี้ ซ้าๆ กัน ห ลาย ค รั้ง บางคนอาจเป็ น 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์ ส่วนบางคนที่เป็นมากอาจจะเป็ นวันละหลายๆ ค รั้ ง ซึ่ ง ผ ล จ า ก ก า ร ที่ มี อ า ก า ร แ บ บ นี้ บ่ อ ย ๆ จึงทาให้มีผู้ป่วยหลายคนเกิดความกังวลแต่ในบางกรณีผู้ป่วยอาจจะเชื่อมโยงอาการ กับ ส ถ า น ที่ ห รื อ กิจ ก ร ร ม บ าง อ ย่ า ง ท าใ ห้ ไ ม่ ก ล้า ท า กิ จ ก ร ร ม นั้ น หรือไปในสถานที่ที่เคยเกิดอาการ ยกตัวอย่างเช่น บางคนไม่กล้านั่ง(ขับ)รถ เพ ร า ะ ค รั้ง แ ร ก ที่ มี อ า ก า ร แ พ นิ ค เป็ น ต อ น นั่ งร ถ เป็ น ต้น ดังนั้ น ข้าพเจ้าจึงได้จัดทาโครงงานศึกษาเกี่ยวกับโรคแพนิคเพื่อเป็ นสื่อความรู้สาหรับผู้ที่ส นใจและต้องการศึกษาข้อมูลและเป็นประโยชน์ต่อไป วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อเป็นสื่อสาหรับผู้ที่สนใจและต้องการศึกษา 2. เพื่อให้เข้าใจและตระหนักถึงโรคแพนิคมากขึ้น
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์เกี่ยวกับโรคแพนิคด้วย google sites 2. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ 2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2.2 เว็บไซต์ที่ให้บริการในการสร้างเว็บบล็อก คือ https://sites.google.com/ 2.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่น www.facebook.com,www.hotmail.com หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) Panic disorder โรคแพนิค คือ ภาวะตื่นตระหนกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยไม่มีเหตุผลหรือหาสาเหตุไม่ได้ ซึ่ ง โ ร ค นี้ แ ต ก ต่ า ง จ า ก อ า ก า ร ห ว า ด ก ลั ว ห รื อ กั ง ว ล ทั่ ว ไ ป เ นื่ อ ง จ า ก ผู้ ป่ ว ย จ ะ เ กิ ด อ า ก า ร แ พ นิ ค ( Panic Attacks) หรือหวาดกลัวอย่างรุนแรงทั้งที่ตัวเองไม่ได้เผชิญหน้าหรือตกอยู่ในสถานการณ์อัน ต ร า ย อ า ก า ร แ พ นิ ค เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ ต ล อ ด เ ว ล า ส่ ง ผ ล ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย โ ร ค แ พ นิ ค รู้ สึ ก ก ลั ว แ ล ะ ล ะ อ า ย เนื่องจากไม่สามารถควบคุมตัวเองหรือดาเนินชีวิตประจาวันได้ตามปกติ3 โรคแพนิคมักพบได้บ่อยในวัยรุ่นตอนปลายหรือผู้ที่ย่างเข้าวัยผู้ใหญ่ตอนต้น โ ด ย ผู้ ห ญิ ง จ ะ ป่ ว ย ม า ก ก ว่ า ผู้ ช า ย อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ผู้ ที่ เกิ ด อ า ก า ร แ พ นิ ค ไ ม่ ไ ด้ ป่ ว ย เป็ น โ ร ค แ พ นิ ค ทุ ก ร า ย เนื่องจากอาการดังกล่าวเกิดขึ้นและหายไปเมื่อเหตุการณ์ที่ทาให้เกิดอาการแพนิคจ บ ล ง ห รื อ ผ่ า น พ้ น ไ ป แ ล้ ว ต่างจากผู้ป่วยโรคแพนิคที่มักเกิดอาการแพนิคหรือตื่นตระหนกอยู่เสมอเป็นเวลายา วนาน รวมทั้งมักมีปัญหาสุขภาพ จิต อย่างอื่นร่วมด้วย เช่น โรค ซึมเศร้า หรือใช้สารเสพติดอื่น ๆ ลักษณะอาการของโรคแพนิค คือ ผู้ป่วยจะมีอาการใจสั่น ใจเต้นแรง แน่นหน้าอก รู้สึกหายใจขัด เวียนหัว (หรือรู้สึกว่าหัวเบาๆ) ถ้าอาการมากๆ จ ะ มี เ ห งื่ อ แ ต ก มื อ เ ย็ น เ ท้ า เ ย็ น ( ห รื อ ช า ) ด้ ว ย
  • 4. 4 โ ด ย อ า ก า ร จะเป็ น ขึ้น ม า แ บ บ ทัน ที ทัน ใ ด ช นิ ด อยู่ ดี ๆ ก็ เป็ น ขึ้น ม า แ ละจะเป็ น ม ากอ ยู่ ป ระม าณ 1 0 -1 5 น า ที จ า กนั้ น ก็ จะค่อ ย ๆ ดี ขึ้ น แ ล ะ มั ก จ ะ ห า ย ไ ป ใ น เ ว ล า ไ ม่ เ กิ น ห นึ่ ง ชั่ ว โ ม ง ด้ว ย อ าก าร ที่ เป็ น แ บ บ ทัน ที แ ล ะรุ น แ ร งนี่ เอ ง ท าให้ ผู้ ป่ ว ย ห ล าย ๆ คนตกใจกลัวว่าจะเป็นโรคหัวใจ เป็นโรคร้ายแรงหรือกลัวว่าจะตายได้ โดยผู้ป่ วยจะมีอาการแบบนี้ซ้าๆ กันห ลายครั้ง บางค นอาจเป็ น 2 -3 ค รั้งต่อ สัป ด าห์ ส่วน บางค น ที่ เป็ น ม ากอาจจะเป็ น วัน ละห ลาย ๆ ค รั้ง ซึ่ ง ผ ล จ า ก ก า ร ที่ มี อ า ก า ร แ บ บ นี้ บ่ อ ย ๆ จึงทาให้มีผู้ป่วยหลายคนเกิดความกังวลตามมา เช่น กังวลว่าจะมีอาการขึ้นมาอีก หรือกังวลว่าตัวเองเป็นโรคอะไรบางอย่าง ภาวะแทรกซ้อนของโรคแพนิค  ในรายที่มีอาการกาเริบบ่อย อาจมีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น ท า ใ ห้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ล ด ล ง ผู้ป่ วยอาจคิดว่าตนเองจะเป็ นอะไรไปจึงทาให้ต้องไปพบแพทย์บ่อย ๆ ค ว า ม สัม พั น ธ์ กับ บุ ค ค ล ใ ก ล้ ชิ ด อ า จ เกิ ด ค ว า ม ตึ ง เค รี ย ด ท้ายสุดผู้ป่ วย ก็จะแยกตัวเองออกจากผู้อื่นและไม่กล้าออกจากบ้าน ห รืออย่างบางราย ถ้าเป็ นห นักม ากก็อาจส่งผ ลต่อห น้ าที่การงาน ทาให้ไม่สามารถทางานได้ตามที่ควรจะเป็ น และอาจต้องหยุดงานบ่อย ๆ ห รื อ ห ยุ ด งาน ที เป็ น เดื อ น ๆ เนื่ อ ง จา ก มี อ าก าร ก า เริบ ทุ ก วัน แ ล ะถ้า เป็ น ใน เด็ ก อ า จมี ผ ล ต่อ พั ฒ น าก าร ก า รเรีย น ห นั งสื อ และการเข้าสังคมได้ เป็นต้น  เนื่องจากอาการที่กาเริบมักเกิดขึ้นโดยไม่คาดคิดมาก่อนและไม่สามารถคาดเ ด า ไ ด้ ว่ า จ ะ เ กิ ด เ มื่ อ ไ ห ร่ จึงอาจทาให้เป็นอันตรายทางอ้อมได้หากเกิดขึ้นในขณะที่กาลังขับรถหรือทาง านเกี่ยวกับเครื่องจักรอยู่  ผู้ป่ วยที่เป็ นโรคแพนิคจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็ นโรคซึมเศร้า (Major depressive disorder - MDD) การฆ่าตัวต าย การติด แ อลกอฮอล์ การติดยาหรือเสพติด  ผู้ป่วยบางรายอาจมีโรคย้าคิดย้าทาร่วมด้วย การรักษา -การควบคุมลมหายใจเวลาที่มีอาการ (breathing exercise) เวลาที่มีอาการแพนิค (อาการใจสั่น แน่นหน้าอก หายใจขัด และอื่น ๆ นั่นแหละครับ) สิ่งแรกที่ควรทาคือนั่งพัก จากนั้นให้หายใจเข้าออก**ช้าๆ ลึกๆ ยาวๆ** เห มือนเวลานั่ งสม าธิห รือเล่น โย ค ะ เพ ราะห ากยิ่งห าย ใจเร็ว (ห า ย ใ จ สั้ น แ ต่ ถี่ ) จ ะ ยิ่ ง ท า ใ ห้ อ า ก า ร ที่ เป็ น รุ น แ ร ง ม า ก ขึ้ น โดยทั่วไปถ้าสามารถควบคุมการหายใจได้ (หายใจเข้าออกช้า ๆ ยาว ๆ) ไม่เกิน 1 5 -2 0 น า ที อ า ก า ร ก็ มั ก จ ะ ดี ขึ้ น เ อ ง ในผู้ป่วยบางรายแพทย์อาจจะให้ยาสาหรับรับประทานเวลาที่มีอาการมาด้วย ก็สามารถกินยาไปด้วยได้ -การรักษาโดยการใช้ยา
  • 5. 5 โดยทั่วไปแล้วยาที่แพทย์ให้จะมี 2 กลุ่มหลัก ๆ คือ 1) ยาที่กินเพื่อลดอาการ ย า ก ลุ่ ม นี้ กิ น เ พื่ อ ล ด อ า ก า ร ข ณ ะ ที่ เ ป็ น โด ย มากแ พ ทย์ มักจะให้มาทาน ใน ช่วงระย ะแรก ๆ ที่มารับ การรักษ า เนื่ อ งจ า ก ย า ที่ ป้ อ งกัน ไม่ ใ ห้เป็ น (ข้อ ถัด ไ ป ) ยัง ออ ก ฤ ท ธิ์ไ ม่เต็ ม ที่ ยาในกลุ่มนี้จะเป็ นยาที่ออกฤทธิ์เร็ว ใช้กินเวลาที่มีอาการใจสั่น แน่นหน้าอก หายใจขัด กินแล้วจะช่วย ลดอาการเห ล่านี้ไปได้และทาให้อาการหายไป ( ห รื อ พู ด ง่ า ย ๆ คื อ ย า ใ น ก ลุ่ ม นี้ ใ ห้ กิ น เ ฉ พ า ะ ถ้ า มี อ า ก า ร ถ้าไม่มีอาการก็ไม่จาเป็นต้องกิน) ยาที่นิยมใช้ในกรณีนี้ได้แก่ ยากลุ่ม Benzodiazepine เช่น Alprazolam , Clorazepate , Diazepam , Clonazepam เป็นต้น 2) ยาที่กินเพื่อป้องกันและรักษา ยาในกลุ่มนี้ถือเป็ นยาตัวหลักที่ใช้ในการรักษา ยาจะช่วยป้ องกันไม่ให้เป็ น ท า ใ ห้ อ า ก า ร แ พ นิ ค เ ป็ น ถี่ น้ อ ย ล ง จ น ค่ อ ย ๆ ห า ย ไ ป รวมทั้งช่วยป้ องกันการกลับมาเป็ นซ้า แต่ยาในกลุ่มนี้ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ถึงจะเริ่มเห็นผล ดังนั้นในอาทิตย์แรก ๆ จะยังไม่เห็นผลชัดเจนนัก แพทย์จึงมักให้ทานยาในข้อ1เพื่อลดอาการไปด้วย โดยทั่วไปแล้ว ยาที่กินเพื่ อป้ องกันนี้แนะนาให้กินอย่างน้อย 8 เดือน แม้ว่าเมื่อรักษาไปสักเดือนสองเดือนผู้ป่วยส่วนใหญ่จะไม่ค่อยมีอาการแล้วก็ตาม แต่ควรกินยาต่อให้ครบ เพราะจากการศึกษาพบว่า ในกรณีที่ผู้ป่วยหยุดยาเร็ว มักมีอาการกลับมาเป็นซ้าได้บ่อย สาเหตุของโรคแพนิค ใ น ปั จ จุ บัน ยั ง ไ ม่ ท ร า บ ส า เห ตุ ที่ แ น่ ชั ด แ ต่ สัน นิ ษ ฐ า น ว่ า โ ร ค นี้ อ า จ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม เพราะพบว่าผู้ที่มีพ่อแม่พี่น้องเป็ นโรคนี้จะมีโอกาสเป็ นโรคนี้มากกว่าคนทั่วไป นอกจากนี้ยังอาจเกี่ยวข้องกับปัจจัยทางด้านจิตใจและด้านชีวภาพ 1. ปั จ จั ย ท า ง ด้ า น จิ ต ใ จ โดยเชื่อว่าความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นนั้นเป็นการเลียนแบบมาจากพ่อแม่ที่มีอาก า ร ใ น ลั ก ษ ณ ะ เ ดี ย ว กั บ ผู้ ป่ ว ย หรือเกิดจากการที่ผู้ป่วยเคยมีอาการแพนิคในขณะที่มีสิ่งกระตุ้นหรืออยู่ในสถ า น ที่ บ า ง ลั ก ษ ณ ะ และเมื่อเจอสิ่งกระตุ้นหรือสถานที่ลักษณะนั้นก็ทาให้อาการกาเริบขึ้นมา 2. ปั จ จั ย ท า ง ด้ า น ชี ว ภ า พ เพราะพบว่าระบบประสาทอัตโนมัติส่วนซิมพาเทติกของผู้ป่วยมีความไวต่อสิ่ งกระตุ้นต่าง ๆ หรือมีการตอบสนองอย่างผิดปกติต่อสารสื่อประสาท (Neurotransmitters) ได้แก่ น อร์เอพิ เน ฟ ริน ( Norepinephrine), เซ โรโท นิ น (Serotonin), กรด แกม มาอะมิโน บิวที ริก ( Gamma- aminobutyric acid - GABA) หรืออาจเกิดจากสารเหนี่ยวนาต่าง ๆ เช่น คาร์บอนไดออกไซด์เข้มข้น 5-35%, โซเดียมแล็กเทต (Sodium lactate),
  • 6. 6 โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium bicarbonate), โยฮิมบิน (Yohimbin), เฟนฟลูรามีน (Fenfluramine), กาเฟอีน (Caffeine) เป็นต้น บทความโดย: พญ.นิดา ลิ้มสุวรรณ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. กาหนดหัวข้อที่จะศึกษา 2. ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ 3. จัดทาโครงร่างงาน 4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5. ปรับปรุงทดสอบ 6. การทาเอกสารรายงาน 7. ประเมินผลงาน 8. นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. แบบประเมินและวิเคราะห์โรคตื่นตระหนก 2. เอกสารโครงงาน 3. บอร์ดนาเสนอ งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช อบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ มูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโคร งงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงา น 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2. สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับเพื่อนหรือคนรอบข้างได้
  • 7. 7 3. ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัด เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -วิชาสุขศึกษา -เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1.https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B 8%84%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%B 4%E0%B8%84 2.http://www.vichaiyut.co.th/health/diseases-treatment/other- diseases/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9 %81%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84- %E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0 %B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89- %E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0 %B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%95/ 3.https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B 8%84%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%B 4%E0%B8%84