SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 120
Downloaden Sie, um offline zu lesen
จาก....วันวาน
2

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

จาก....วันวาน
	
“การศึกษาย่อมเป็นการส�ำคัญยิ่ง และเป็นต้นเหตุแห่งความเจริญของชาติ
บ้านเมือง ผู้ใดอุดหนุนการศึกษา ก็ได้ชื่อว่า อุดหนุนชาติบ้านเมืองด้วย เราตั้งใจที่จะ
ทะนุบ�ำรุงการศึกษาชาติ บ้านเมืองเราอยู่เสมอประเทศทั้งหลายย่อมเจริญได้ด้วยการ
ศึกษาประเทศใดปราศจากการศึกศึกษาประเทศนั้นต้องเป็นป่าเถื่อน”
	
ข้ อ ความข้ า งต้ น เป็ น พระราชด� ำ รั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า
เจ้าอยู่หัว ที่ตรัสไว้เพื่อเป็นการสนับสนุน ให้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติประถม
ศึกษา พุทธศักราช 2464 ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ที่มีพระราชบัญญัติประถมศึกษาแห่งชาติ
เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2464 และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีเสนาบดีกระทรวง
ศึกษาธิการ ในขณะนันได้กล่าวไว้วา “มณฑลอุบลอันเป็นมณฑลปลายพระราชอาณาเขต
้
่
และติดต่อกับประเทศฝรั่งเศสการศึกษาส�ำหรับที่เช่นนี้จึงจ�ำเป็นต้องเร่งรัดมาก ”
	
และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ยังได้กล่าวสนับสนุน นโยบายที่จะส่งเสริมให้
คนไทยหันมาประกอบอาชีพอื่นนอกจากอาชีพราชการว่า “ส�ำหรับประเทศสยาม
เป็นประเทศเพาะปลูก อาชีพของราษฎรย่อมเป็นไปในทางกสิกรรม หัตถกรรม และ
พาณิชยกรรม เป็นแต่เครืองประดับ แต่การจักก็เป็นการยากทีจะเป็นผลส�ำเร็จเพือจะได้ไป
่
่
่
เป็นเสมียนการจัดโรงเรียนเพาะปลูกจะประสบผลส�ำเร็จได้โดยการออกพระราชบัญญัติ
ประถมศึกษาเท่านั้น ”
	
“จะให้การศึกษาของกุลบุตรกุลธิดา ตามชนบทที่ยังไม่ได้รับการศึกษาก้าวหน้า
ขึนไป ทังยังเป็นการส่งเสริมหลักนโยบายของรัฐบาลทีจะขยายการศึกษาให้แพร่หลาย”
้
้
่
	
นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี กล่าว
เร่งเร้าให้รฐบาลขยายการศึกษาภาคบังคับออกไปให้แพร่หลายเพราะปัญหาและอุปสรรค
ั
ของการจัดการศึกษาในสมัยนัน คือ พระราชบัญญัตประถมศึกษา พ.ศ. 2464 ทีใช้มาเป็น
้
ิ
่
เวลานาน และมีข้อบกพร่อง
อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

3

	
ข้อความทังหมดนี้ แสดงให้เห็นว่าการศึกษาเป็นการพัฒนามนุษย์ทกรูปทุกนาม
้
ุ
ผู้ใดที่ไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนก็จะกลายเป็นคนล้าสมัยป่าเถื่อน ไม่สามารถจะด�ำรงอยู่ใน
สังคมอย่างมีความสุขเพราะฉะนั้นตลอดยุคสมัยที่ผ่านมาผู้น�ำรัฐบาลทุกรัฐบาล จะได้
ให้ความส�ำคัญและถือเป็นภารกิจทีจะด�ำเนินการให้การศึกษาแก่ปวงชนอย่างทัวถึงและ
่
่
มีประสิทธิภาพ
	
อุ บ ลราชธานี เ ป็ น เมื อ งที่ ส� ำ คั ญ มาแต่ อ ดี ต ได้ รั บ การสถาปนาเป็ น “เมื อ ง
อุบลราชธานีศรีวนาลัย” เมื่อวันจันทร์แรม 3 ค�่ำ  เดือน 8 จุลศักราช 1154 ซึ่งตรงกับ
พุทธศักราช 2335 รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในช่วงแรก
มีพระประทุมวรราชสุริยวงษ์ (ค�ำผง) เป็นเจ้าเมืองคนแรกหลังจากได้รับการสถาปนา
แล้วอุบลราชธานีได้มบทบาทส�ำคัญต่อเมืองราชธานี (กรุงเทพมหานคร) และเมืองต่างๆ
ี
ในภูมิภาคนี้เป็นอย่างยิ่ง เป็นศูนย์กลางการปกครอง การบริหารการเก็บส่วยอากรอื่นๆ
	
เมื่อการปฏิรูปการปกครองครั้งใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยูหวอุบลราชธานีกยงคงมีบทบาทและความส�ำคัญหรือยิงกว่าเดิมอีก เป็นทีตงกอง
่ ั
็ั
่
่ ั้
บัญชาการมณฑล อีสานเป็นทีประทับของเชือพระวงศ์ชนสูงทีเ่ สด็จมาปกครองไพร่ฟา
่
้
ั้
้
ประชาชนในภูมภาคนี้ เช่นกรมหลวงพิชตปรีชากรณ์ และกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์
ิ
ิ
เป็นต้น
	
ย้อนไปเมื่อพ.ศ. 2430 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า รัชกาลที่ 5
ได้มีการจัดตั้งกระทรวงธรรมการขึ้น สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงเป็น
เสนาบดี พ ระองค์ แ รก ได้ ส นองแนวพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็ จ
พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว โดยการจั ด ท� ำ แผนการที่ ข ยายการศึ ก ษาออกไปสู ่
หั วเมื อ งอย่ างกว้ างขวางเพื่อ ให้เยาวชนของชาติไ ด้มีโอกาสศึกษาเล่า เรีย นได้มาก
ที่สุด โดยอาศัยวัดเป็นหลักส�ำคัญในการด�ำเนินงานดังปรากฏในประกาศการจัดการ
ศึกษาในหัวเมือง ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน รัตนโกสินทร์ศก 117 ความตอนหนึ่งว่า
“ขอภิกษุท้ังหลายจงเห็นแก่พระพุทธศาสนา และประชาชนทั้งปวงได้ช่วยเอาการธุระ
สั่งสอนกุลบุตรทั้งหลาย ให้ได้ศรัทธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย และมีวิชาความรู้
อันเป็นสารประโยชน์ยงขึน ให้สมดังพระบรมราชประสงค์ ซึงได้ทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ
ิ่ ้
่
่
ให้อาราธนามานี้ จงทุกประการเทอญฯ... ”
4

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

	
จากนั้นเป็นต้นมาก็ได้มีการขยายการศึกษา หรือจัดตั้งโรงเรียนในหัวเมืองให้
แพร่หลาย ตามแนวพระบรมราโชวาท ในการจัดการศึกษาในหัวเมืองของพระองค์ซึ่ง
สอดคล้องกับพระราชด�ำริที่ว่า “เจ้านายราชตระกูล ตั้งแต่ลูกฉันเป็นต้นไป ตลอดจน
ราษฎรที่ต�่ำที่สุด จะได้ให้มีโอกาสได้เล่าเรียนได้เสมอกัน ไม่ว่าเจ้า ว่าขุนนาง ว่าไพร่”
	
ต่อมาถึง พ.ศ. 2434 พระภักดีณรงค์ ( สิน ไกรฤกษ์ ) ข้าหลวงก�ำกับราชการ
เมืองอุบลราชธานีได้จดตัง”อุบลวาสิกสถาน”ขึนในบริเวณจวนเก่าของเจ้าพรหมเทวานุ
ั ้
้
เคราะห์วงศ์ อันเป็นโรงเรียนสอนไทยโรงแรกของอุบราชธานี แต่การศึกษาในขณะนั้น
ก็ได้ชะลอตัวลง เนื่องจากช่วงเวลานั้น ประเทศไทยก�ำลังถูกคุกคามจากชาติมหาอ�ำนาจ
คือฝรั่งเศส จนเกิดเหตุการณ์ที่เรียกว่า “วิกฤตสยาม ร.ศ. 112 ” จนเหตุการณ์ได้ผ่านพ้น
ไป พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ได้เสด็จมาครองเมืองอุบลราชธานี
ในเบื้องแรกพระองค์ก็ยังไม่เป็นผลตามด�ำเนินการจัดการศึกษาให้เต็มรูปเสียทีเดียว
เนื่ อ งจากล่ อ แหลมจั ด ตั้ ง ส� ำ นั ก ก็ ไ ม่ ไ ด้ จ ะเป็ น ที่ ส ะดุ ้ ง สะเทื อ นคนทั้ ง ในเมื อ งและ
นอกเมือง ก็พระองค์กทรงตระหนักดีวาในเวลานันประเทศไทยยังขาดแคลนบุคคลากร
็
่
้
ทีมคณภาพมาจัดแจงบ้านเมืองอยูมาก เนืองจากขาดคนทีมการศึกษา ทีมพอจะอ่านออก
่ ีุ
่
่
่ ี
่ ี
เขียนได้ก็ยังยาก ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาและอุปสรรคส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ จนถึงปี
พ.ศ. 2440 กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ จึงได้ปรับปรุงพัฒนาการศึกษาอย่างจริงจัง
และในเวลานั้นอุบลราชธานีก็ได้เกิดมีนักปราชญ์ ทางฝ่ายพุทธจักรเกิดขึ้นเป็นรูปแรก
ที่ถือว่าท่านผู้นี้ เป็นพระสงฆ์ที่เป็นต้นก�ำเนิดบุกเบิกและวางรากฐานการศึกษาของ
ชาวอุบลราชธานี ทั้งทางโลกและทางธรรม คือ ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์
(สิริจันโท จันทร์) ท่านผู้นี้ถือก�ำเนิดขึ้นที่บ้านหนองไหล อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี
เป็นบุตรคนหัวปีของกรมการเมืองสุโภรสุประการ (สอน) มารดาชื่อแก้ว อุปสมบท
กับท่านเทวธัมมี (ม้าว) ณ วัดศรีทอง ไปเรียนที่กรุงเทพมหานครสอบได้เปรียญธรรม
4 ประโยค แล้วกลับมาช่วยกรมการศาสนาที่อุบลราชธานี พระอุบาลีคุณูปมาจารย์
(สิริจันโท จันทร์ ) ได้จัดตั้งโรงเรียนสอนหนังสือไทยและบาลีขึ้นที่วัดสุปัฏนาราม
เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2440 ตั้งชื่อว่าโรงเรียนอุบลวิทยาคม ซึ่งถือว่าเป็นแบบอย่าง
และรากฐานของการจั ด การศึ ก ษาของวั ด และการศึ ก ษาประชาบาลทั่ ว ไปของ
อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

5

ชาวอีสานทังมวลด้วย ท่านเจ้าคุณอุบาลีคณปมาจารย์ มีลกศิษย์ททานน�ำไปศึกษาเล่าเรียน
้
ุ ู
ู
ี่ ่
จากกรุงเทพฯ แล้วกลับมาช่วยงานการศึกษาของท่าน ณ เวลานั้นถึง 6 รูปด้วยกันคือ
พระพรหมมุนี (ติส.โส อ้วน) ต่อมาคือ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติส.โส อ้วน) พระมหา
จันวังโส (แก้ว) พระมหาฐิตาโภ (ล้อม) พระปลัดหรุ่น พระใบฎีกาและพระเพียบ
	
การจัดการศึกษาโรงเรียนอุบลวิทยาคมในระยะแรกๆ ได้แบ่งการศึกษาออกเป็น
2 ประเภท คือ ประเภททีหนึง ได้แก่โรงเรียนสอนภาษาบาลี โดยมีสมเด็จพระมหาวีรวงศ์
่ ่
(ติส.โส อ้วน) ครั้งยังเป็นพระมหาอ้วน และพระมหาล้อม เป็นครูสอน ประเภทที่สอง
คือโรงเรียนสอนหนังสือไทย มีพระสงฆ์วจารณ์ พระครูพนานโอภาส พระสมุห์ และพระ
ิ
ใบฎีกา เป็นครูสอน มีท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณุปามาจารย์ เป็นผู้จัดการ ตั้งแต่บัดนั้น
มาโรงเรียนอุบลวิทยาคมก็มีความเจริญก้าวหน้าเรื่อยมาคือมีนักเรียนทั้งแผนกบาลีและ
แผนกหนังสือไทย เพิ่มขึ้นเป็นล�ำดับ ท�ำให้ผลดีแก่ลูกหลานชาวอุบลราชธานีโดยตรง
และยังมีผลโดยอ้อม คือ ท�ำให้เด็กที่อาศัยอยู่ในวัดสุปัฏนาราม และวัดใกล้เคียงตลอด
จนเด็กที่อาศัยอยู่ละแวกบ้าน ได้มีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนด้วย แล้วกล่าวกันว่าโรงเรียน
อุบลวิทยาคมวัดสุปัฏนารามได้แหล่งวิชาการสอนคนในจังหวัดอุบลราชธานีได้มีความ
ก้าวหน้าและประสบความส�ำเร็จมากมายมีทงข้าราชการพ่อค้าประชาชน นักการเมืองนัก
ั้
ปกครองและพระสงค์องค์เจ้า ดังกล่าวแล้ว ใช่แต่เท่านั้น การที่มีโรงเรียนอุบลวิทยาคม
เป็นต้นแบบในการจัดโรงเรียน ได้มีการขยายผลคือ การตั้งโรงเรียน เพื่อบุตรหลานออก
ไปอีกอย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา เช่น ในปี พ.ศ. 2440 ท่านเจ้าพระอุบาลีคุณุปามาจาร
ย์ ได้จัดตั้งโรงเรียน “อุดมวิทยากรณ์” ขึ้นที่วัดพระเหลาเทพนิมิต อ�ำเภอพนาขึ้นอีกแห่ง
หนึ่ง เป็นต้น
	
ในห้วงเวลาที่ท่านเจ้าพระอุบาลีคุณุปามาจารย์ ได้จัดตั้งโรงเรียนสอนหนังสือ
ไทยขึ้นในจังหวัดอุบลราชธานีนี้เอง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ทรง
มีพระบรมราโชบายในการขยายการศึกษาและจัดตั้งโรงเรียนสอนหนังสือไทย ให้กว้าง
ขวางทั่วพระราชอาณาจักร ดังกล่าวมาแล้ว ท�ำให้การศึกษาของสยามประเทศมีความ
ก้าวหน้าสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน
6

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

	
ในส่วนของจังหวัดอุบลราชธานีนน ท่านเจ้าพระอุบาลีคณปามาจารย์กได้แต่งตัง
ั้
ุ ุ
็
้
ให้เป็นผู้อ�ำนวยการจัดการศึกษาในมณฑลอีสาน มีบทบาทส�ำคัญในการจัดตั้งโรงเรียน
สอนหนังสือไทย เป็นทีแพร่หลายในบริเวณเมืองอุบลราชธานีและแพร่หลายไปยังจังวัด
่
และภาคอีสานทังมวล เฉพาะในส่วนของจังหวัดอุบลราชธานีถอได้วาได้รบอิทธิพล จาก
้
ื ่ ั
การจัดการศึกษาตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
โดยแท้ ซึ่งท�ำให้อุบลราธานีมีความเจริญทางด้านการศึกษาอย่างยิ่ง และมีผลต่อระบบ
การจัดการศึกษาในปัจจุบัน
คุณภาพการศึกษา : คุณภาพประชาชน
8

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

คุณภาพการศึกษา : คุณภาพประชาชน
	
ปัจจุบันสังคมไทยมีปัญหามากมายไม่ว่าจะเป็นสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอด
ทั้งระบบการศึกษาดูเหมือนว่าปัญหาดังกล่าว ได้สร้างความขัดแย้งให้ผู้คนในประเทศ
หลายเท่าทวีคูณ บางเรื่องบางประเด็นมองแทบไม่เห็นทางออก ปัจจัยที่ท�ำให้สังคมไทย
เปลี่ยนไปค่อนข้างมากและรวดเร็วมาจากหลายสาเหตุ ระบบการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งที่
มีส่วนส�ำคัญต่อผลที่เกิดขึ้นในสังคมวันนี้
	
จากอดีตถึงปัจจุบันมีผู้คน จ�ำนวนหนึ่งที่พยายามจะพลิกฟื้นระบบการศึกษาให้
ตอบสนองวิถีชีวิตแห่งความเป็นไทยที่สอดรับกับวัฒนธรรมให้ยั่งยืน และเมื่อปี 2542
มีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 และ (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2
พุทธศักราช 2545) ก�ำหนดให้การจัดการศึกษาเป็นหน้าที่ของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ
เอกชน และท้องถิ่น
	
กว่า 10 ปีที่ผ่านไป แทบไม่มีผลปรับเปลี่ยนอะไรในทางบวกต่อสังคม น่าจะ
มีอะไรที่ซ่อนเร้น และทับซ้อนระหว่างกฎเกณฑ์ กติกาและการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับ
การศึกษาอยู่ไม่ใช่น้อย สิ่งที่เป็นจริงวันนี้พบว่าระบบการวัดและประเมินผลมนุษย์
ในระบบการศึกษาของไทยยังมุ่งผลที่การวัดด้วยระบบคะแนนสอบความรู้เป็นหลัก
สถานศึกษาใดค่าเฉลียคะแนนสอบของนักเรียนสูงถือได้วาจัดการศึกษามีประสิทธิภาพ
่
่
กระทรวงศึกษาธิการเองก็ตั้งองค์กรกลาง จัดท�ำและออกข้อสอบกลางขึ้นมาเพื่อตีค่า
ความเป็นมนุษย์ของเด็กไทยทั่วประเทศด้วยเครื่องมือเดียวกันทุกคน ในความแตกต่าง
ของมนุษย์ที่มีบริบทที่ห่างกันสิ้นเชิง ด้วยคะแนนไม่กี่วิชา แล้วก็ตัดสินว่ามีและไม่มี
ประสิทธิภาพ ทุกสถานศึกษาจึงมุงสอนและใช้กลเม็ดให้นกเรียนสอบได้คะแนนสูงทีสด
่
ั
่ ุ
และเข้ามหาวิทยาลัยให้ได้มากทีสด เมือจบการศึกษาเข้าสูกระบวนการท�ำงานก็มปญหา
่ ุ ่
่
ี ั
ทุจริต คอรัปชั่น ไม่ซื่อสัตย์ต่ออาชีพ ขาดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และอุดมการณ์แห่ง
สาธารณะอื่นๆมากมาย น�ำพาตนเองเพื่อเข้าสู่ระบบบริโภคนิยม โดยใช้ระบบอุปถัมภ์
เป็นวังวนคุณภาพของคนในสังคมไม่จบไม่สิ้น
อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

9

	
การประเมินคุณภาพโรงเรียนจากบุคคลภายนอก (องค์การมหาชน) ก็ตดสินโดย
ั
ใช้บรรทัดฐานกฎเกณฑ์เดียวกันทั่วทั้งประเทศ แม้โรงเรียนหลายแห่งจะอยู่ในป่าเขา
ทีราบ บนเกาะ หรือ ในเมืองทีพร้อมสมบูรณ์ดวยทรัพยากรมากมาย นีคอปรากฏการณ์ที่
่
่
้
่ื
เกิดขึนและเป็นจริงในระบบการศึกษา แนวคิดและวิธการดังกล่าว มีผคนจ�ำนวนไม่นอย
้
ี
ู้
้
ทีพยายามวัดความเป็นมนุษย์โดยเน้นพฤติกรรมทีความดีงาม มีจตสาธารณะ ส�ำคัญกว่า
่
่
ิ
ภาคความรูทได้จากการสอบ แต่เรืองทีดดงกล่าวไม่คอยได้รบการยอมรับจากหน่วยงาน
้ ี่
่ ่ีั
่
ั
และผู้รับผิดชอบ หรือน�ำไปเผยแพร่ขยายผลให้เป็นต้นแบบ ต้นกล้าที่ดีทางการศึกษา
อย่างจริงจัง
	
คุณภาพการศึกษา : คุณภาพประชาชน คือ ก�ำลังพลที่รอการพัฒนา การศึกษา
สร้างคน คนสร้างชาติ เป็นภารกิจหลักของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของประชาชน ซึ่งเป็นความมุ่งหมายของการจัดการศึกษาตามเจตนารมณ์ของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไข
เพิ่มเติม พ.ศ.2545 ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติ
ปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการด�ำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วม
กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และประการส�ำคัญ คือ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตส�ำหรับ
ประชาชน ทีเ่ ปิดโอกาสและให้สงคมมีสวนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างทัวถึงและเสมอ
ั
่
่
ภาค โดยเฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งรัฐจัดให้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
	
คุณภาพการศึกษาที่สังคมไทยคาดหวัง จุดมุ่งหมายของการศึกษา คือ มุ่งให้
เยาวชนคิดเป็น ท�ำเป็น เรียนรู้อย่างมีความสุขได้เรียนในสิ่งที่ตนสนใจ เรียนรู้ใน
โลกกว้างที่มิใช่แต่เพียงในห้องเรียนเท่านั้น แต่ปัญหาที่พบอยู่ในปัจจุบัน คือ นักเรียน
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีวิชาเรียนมาก แบกกระเป๋าใบโต จึงขอให้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องปรับหลักสูตรให้เหมาะสม โดยให้สอดแทรกกิจกรรมดนตรี กีฬา จริยธรรม
และวิถชวตประชาธิปไตยให้มากขึน เพือให้นกเรียนได้ปลดปล่อยพลังสมองเรียนรูอย่าง
ี ีิ
้ ่
ั
้
มีความสุข สนุกกับการเรียน มีวนย รูจกสิทธิและหน้าทีของการเป็นพลเมืองทีดี และไม่
ิ ั ้ั
่
่
สนับสนุนให้เด็กไปเรียนกวดวิชา เพราะนอกจากสร้างความเครียดให้แก่นกเรียนแล้ว ยัง
ั
ท�ำให้ผู้ปกครองเดือดร้อนในด้านค่าเรียนพิเศษ และส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอน
ของครูในห้องเรียนอีกด้วย
10

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

	
ดังนั้น การปฏิรูปการศึกษา จะส�ำเร็จได้นั้น จะต้องเริ่มที่ชุมชน ต้องวิเคราะห์
ความจ�ำเป็นและความต้องการของชุมชน ให้ชุมชนร่วมกันในการก�ำหนดเป้าหมาย
ระบุประเด็นปัญหาให้ชัดเจน ใช้ทรัพยากรเท่าที่จะเป็นหรือเท่าที่ มีอยู่ในชุมชนให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด ก�ำหนดแนวทางหรือทางเลือกและวางแผนการ ด�ำเนินงานที่เป็น
รูปธรรม สามารถท�ำได้จริง เพือให้สอดคล้องกับระบบการศึกษาทีเ่ ป็น อยูและสอดคล้อง
่
่
กับวิถชวตนอกชุมชน รวมทังจะต้องปฏิรปการศึกษา กับการปฏิรปการเมืองไปพร้อมๆ
ี ีิ
้
ู
ู
กัน
	
จึงจะท�ำให้การปฏิรูปการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเจริญ
ก้าวหน้าสู่ประชาคมอาเซียนและสากลต่อไป
แหล่งเรียนรู้แห่งที่ 3 ของโลก
12

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

แหล่งเรียนรู้แห่งที่ 3 ของโลก
	
“ศูนย์กลางอบรมการศึกษาผู้ใหญ่จังหวัดอุบลราชธานี ” หรือ “ศ.อ.ศ.อ.”
มีชอภาษาอังกฤษว่า TUFEC ซึงย่อมาจาก Thailand UNESCO Fundamental Education
ื่
Centre เปิดด�ำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 โดยความร่วมมือ
ระหว่างรัฐบาลไทย และองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
(UNESCO) มีจดมุงหมายเพือท�ำหน้าทีฝกอบรมเจ้าหน้าทีเ่ กียวกับมูลสารศึกษา และให้
ุ ่
่
่ึ
่
ความรู้กับประชาชนในภูมิภาคนี้ ที่ส�ำคัญเป็นแหล่งเรียนรู้แห่งที่ 3 ของโลก ซึ่งรัฐบาล
ไทย และ UNESCO ได้สร้างพื้นฐานการศึกษาให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้ และองค์
ความรูสำหรับการประกอบอาชีพให้มคณภาพชีวตทีดี เป็นต�ำนาน และสืบสานการศึกษา
้ �
ีุ
ิ ่
ตามภารกิจ การศึกษานอกระบบ ..รวมถึงการศึกษาตามอัธยาศัย และเปลี่ยนชื่อใหม่
เป็น สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียง
เหนือ “ศ.อ.ศ.อ.” สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มีเขตพื้นที่รับผิดชอบในภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ 20 จังหวัด คือ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย์
บึงกาฬ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร อ�ำนาจเจริญ ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร
สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวล�ำภู อุดรธานี และ อุบลราชธานี .....
	
เมือสงครามโลกครังที่ 2 สินสุดลง องค์การสหประชาชาติ ได้สำรวจดูประชาชน
่
้
้
�
ทียงไม่รหนังสือทัวโลก ปรากฏว่ามีมากถึง 1,200 ล้านคน UNESCO พิจารณาเห็นว่า การ
่ ั ู้
่
ให้การศึกษาผูใหญ่ประเภทหลักมูลสารศึกษานีจะช่วยให้ประชาชนได้รบการศึกษาและ
้
้
ั
มีความรู้พอสมควรในอันที่จะยกระดับฐานะ การครองชีวิตในด้านการประกอบอาชีพ
การอนามัย การเกษตร การอุตสาหกรรม การขจัดปัญหาต่างๆ เพื่อให้มีชีวิตร่วมอยู่ด้วย
กันในสังคมด้วยดี
	
ปี พ.ศ. 2491 องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ได้เริ่มด�ำเนินงานฝึกเจ้า
หน้าที่เกี่ยวกับมูลสารศึกษา โดยส่งผู้เชี่ยวชาญไปช่วยประเทศเฮติ จัดตั้งศูนย์กลางมูล
สารศึกษาแห่งชาติ และได้รบผลเป็นทีพงพอใจ การประชุมใหญ่ของ UNESCO ครังที่ 6
ั
่ ึ
้
ณ กรุงปารีส ประเทศฝรังเศส ในปี พ.ศ.2494 มีบรรดาประเทศทีเ่ ป็นสมาชิก 64 ประเทศ
่
อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

13

ซึ่งมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย (มล.ปิ่น มาลากุล ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นหัวหน้า
ผู้แทนประเทศไทย) ได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ให้ตั้งศูนย์กลางหลักมูลสารศึกษาขึ้นประจ�ำ
ภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลกขึ้น 6 แห่ง คือ
	
1.	 กลุ่มละตินอเมริกัน 1 แห่ง
	
2.	 กลุ่มอัฟริกากลาง 1 แห่ง
	
3.	 กลุ่มประเทศอินเดีย 1 แห่ง
	
4.	 กลุ่มภาคตะวันออกกลาง 1 แห่ง และ
	
5.	 กลุ่มประเทศตะวันออกไกล 2 แห่ง
	
ศู น ย์ ก ลางการศึ ก ษาหลั ก มู ล ฐานแห่ ง ที่ 1 ของโลกเรี ย กว่ า CREFAL
มีชื่อเต็มว่า Centre Regional Education Fundamental American Latin ตั้งขึ้นที่แพทซ์
คัวโร (Patzcuaro) ประเทศเม็กซิโก (Maxico) เริ่มด�ำเนินงานและเปิดเรียน เมื่อวันที่
9 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 19 เดือน 6 เดือนแรก เป็นการศึกษาที่
ศูนย์กลาง แล้วออกไปปฏิบัติงานในหมู่บ้านเป็นเวลา 10 เดือน และกลับมาปฏิบัติงาน
ที่ศูนย์กลางอีก 3 เดือน รับนักศึกษาจาก 9 ประเทศ โดยใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก และไม่มี
ความล�ำบากในเรื่องภาษา เพราะทุกประเทศใช้ภาษาสเปน
	
ศูนย์กลางการศึกษาหลักมูลฐานแห่งที่ 2 ของโลกเรียกว่า ASFEC มีชื่อเต็มคือ
Arab State Fundamental Education Centre ตั้งขึ้นที่ซิสซ์-เอล-ลายาน (Sirs-el-Layan)
ประเทศอียิปต์ (Egype) เริ่มด�ำเนินงานและเปิดเรียนเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2496
ศูนย์กลางแห่งนี้รับนักศึกษาจากกลุ่มประเทศอาหรับ 6 ประเทศ คือ อียิปต์ จอร์แดน
อิรัก เลบานอน อารเบีย และซีเรีย ศูนย์กลางแห่งนี้ไม่มีความล�ำบากในเรื่องภาษา เพราะ
ทุกประเทศใช้ภาษาอาหรับ
	
ศูนย์กลางการศึกษาหลักมูลฐานแห่งที่ 3 ของโลก คือ ศ.อ.ศ.อ. หรือ TUFEC ซึง
่
ย่อมาจากค�ำว่า Thailand UNESCO Fundamental Education Centre ที่ตั้งขึ้นในจังหวัด
อุบลราชธานี ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางอบรมการศึกษาระหว่างชาติประจ�ำภาคอาเซียน
ตะวันออก และประเทศต่างๆ ที่อยู่ใกล้เคียง เช่น ลาว เขมร เวียดนาม
14

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

	
ประการส� ำ คั ญ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ บั น ทึ ก ไว้ แ ห่ ง ความทรงจ� ำ ของ
ประวัตศาสตร์การศึกษาไทย เมือวันที่ 18 พฤศจิกายน 2498 พระบาทสมเด็พระเจ้าอยูหว
ิ
่
่ ั
สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยมศูนย์ ฯ แห่งนี้
ยังความปลื้มต่อเหล่าข้าราชการเจ้าหน้าที่ และผู้เข้าร่วมพิธีโดยทั่วกัน
	
สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ หรือ “ศ.อ.ศ.อ.” ในปัจจุบัน เป็นสถานศึกษาสังกัด ส�ำนักงานส่งเสริมการ
ศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รับผิด
ชอบการจัดการศึกษาต่อเนื่องจากภารกิจของ “ศูนย์กลางอบรมการศึกษาผู้ใหญ่จังหวัด
อุบลราชธานี” “ศ.อ.ศ.อ.” และ“ สถาบัน กศน.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ซึ่งมีบทบาท
หน้าที่เปลี่ยนไปตามยุคตามสมัย คือ
	
ภารกิจในยุคแรก (พ.ศ.2497 - พ.ศ. 2505 ) ได้ผลิตสารนิเทศก์ในสาขาวิชาต่าง ๆ
6 หมวด ได้แก่ หมวดเกษตร หมวดอนามัย หมวดการศึกษา หมวดการเรือน หมวด
อุตสาหกรรมในหมู่บ้าน หมวดสวัสดิภาพสังคม รวม 7 รุ่น จ�ำนวน 451 คน และอบรม
ตามความต้องการของกระทรวงมหาดไทย อาทิ พัฒนากรที่ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาตรี
ต�ำรวจตระเวนชายแดน ปลัดอ�ำเภอ ผูนำท้องถิน ก�ำนัน ผูใหญ่บาน รวมทังสิน 1,552 คน
้ �
่
้
้
้ ้
	
ยุคที่สอง (พ.ศ. 2505 - พ.ศ. 2519 ) ศ.อ.ศ.อ.ได้ปรับเปลี่ยนบทบาทมาเป็นศูนย์
อบรมครูประจ�ำการระดับประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ ครูใหญ่
ครูประจ�ำชั้น ครูประชาบาลจากเขตล่อแหลม ครูท้องถิ่นกันดาร ครูหัวหน้าหมวดวิชา
และครูประจ�ำการที่ไม่มีวุฒิ อบรมผู้ใหญ่ชนบท อบรมหลักสูตรวิชาชีพ กลุ่มสนใจ
และอบรมผู้ใหญ่ชนบท มีผู้ผ่านการอบรมกว่า 50,000 คน และยังได้ตั้งโรงเรียนประถม
ศ.อ.ศ.อ. ตั้งโรงเรียนผู้ใหญ่ ศ.อ.ศ.อ. เพื่อขยายงานด้านการบริการการศึกษาส�ำหรับ
ประชาชนทุกระดับอีกด้วย
	
ยุคที่สาม (พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2550 ) กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศจัดตั้งและ
เปลี่ยนชื่อ “ศ.อ.ศ.อ.” เป็นศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนประจ�ำภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2519 และเมื่อมีการสถาปนากรมการศึกษานอกโรงเรียนขึ้นวันที่ 24
มีนาคม 2522 ได้เปลี่ยนชื่อสถาบันแห่งนี้อีกครั้งหนึ่งเป็น ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ศนอ.) “ศ.อ.ศ.อ.” จังหวัดอุบลราธานี เป็นศูนย์พัฒนาการ
อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

15

วิชาการการศึกษานอกโรงเรียน โดยมีจุดเน้นที่ส�ำคัญคือ การวิจัยและพัฒนา การฝึก
อบรม การพัฒนาหลักสูตร การผลิตและพัฒนาสื่อ การพัฒนาระบบวัดผลประเมินผล
และการพัฒนาเครือข่ายด้านวิชาการ
	
นอกจากความเป็ น มาที่ ที่ ผ ลต่ อ การจั ด การศึ ก ษาและพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต
ประชาชนดั ง กล่ า วแล้ ว ยั ง มี บุ ค คลส� ำ คั ญ และบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาที่ มี ส ่ ว น
ผลั ก ดั น การศึ ก ษาและร่ ว มก่ อ ตั้ ง ศ.อ.ศ.อ. ประกอบด้ ว ย 1. มล.ปิ ่ น มาลากุ ล
ผู ้ แ ทนประเทศไทยใน UNESCO และประธานคณะกรรมการบริ ห าร ศ.อ.ศ.อ.
2. นายอภั ย จั น ทวิ ม ล ผอ.ศ.อ.ศ.อ. คนแรก 3. นายเกรี ย ง เอี่ ย มสกุ ล
4. นายประสงค์ รังสิวัฒนะ 5. นายสนิท สุวรรณฑัต 6. นายพินิจ กาญจนะวงศ์
7. นายเฉลิ ม สุ ข เสริ ม 8. นายประมู ล พลโกษฐ์ 9. นายบุ ญ ทั น ฉลวยศรี
10. นายสงัด สันตะพันธุ์ 11. นายสถาน สุวรรณราช 12. ว่าที่ ร.ต.ณรงศักดิ์ กุลจินต์
13. ว่าที่ ร.ต.สิน รองโสภา 14. นายจรูญพงษ์ จีระมะกร 15. นายนิคม ทองพิทักษ์ และ
16. นายวราวุธ พยัคฆพงษ์ เป็นผู้อ�ำนวยการสถาบัน ฯ คนปัจจุบัน
	
ส�ำหรับบุคคลที่มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนภารกิจการศึกษาทั้งในระบบ และ
นอกระบบ คือ คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา
ขันพืนฐาน (สพฐ.) และเคยด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญ ๆในกระทรวงศึกษาธิการหลายต�ำแหน่ง
้ ้
นอกจากนี้ยังมีผู้เชี่ยวชาญจาก UNESCO และนักวิชาการในประเทศไทย ได้ร่วมด�ำเนิน
งานจนภารกิจของ ศ.อ.ศ.อ.บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป็นแหล่งเรียนรู้ของประชาชน
ทั้งในประเทศไทยและประเทศต่างๆ มากมาย บัดนี้ ความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
ท�ำให้ ศ.อ.ศ.อ.เปลี่ยนไป แต่ไม่ท�ำให้ความมุ่งมั่นตั้งใจของผู้รับผิดชอบการศึกษาของ
หยุดนิงอยูกบที่ และยิงมีพลังในการสืบสานพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประชาชนให้มี
่ ่ั
่
ความรู้ คู่คุณธรรม และน�ำประสบการณ์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนสังคมประเทศ
ชาติให้เจริญก้าวหน้าต่อไป.
ชีวิตครู อรพินท์ ไชยกาล

สู่ ...
	 ส.ส.หญิงคนแรกของประเทศไทย
อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

17

ชีวิตครูสู่ ส.ส.หญิงคนแรกของประเทศไทย
	
การเมืองการปกครองของประเทศไทย มีเหตุการณ์ที่ควรจดจ�ำและยกเป็นแบบ
อย่างหลังมีการเลือกตัง ส.ส. และบทบาทโดดเด่นทีสดในยุคประชาธิปไตย คือ ผูหญิงเก่ง ดี
้
่ ุ
้
มีความสามารถ ชาวอุบลราชธานี ได้รับเลือกตั้งให้เป็น ส.ส. และเป็น ส.ส.หญิงคนแรก
ของจังหวัดอุบลราชธานี เป็น ส.ส.หญิงคนแรกของประเทศไทย ได้รับเลือกตั้งให้เป็น
ส.ส.อุบลราชธานี มีคะแนนสูงสุดระดับประเทศ และได้เป็นส.ส. ถึง 3 สมัย
	
ส.ส. อรพินท์ ไชยกาล เป็นผูหญิงคนเดียวคนแรกในยุคมีการเลือกตัง และได้เป็น
้
้
ส.ส.นับเป็นเกียรติประวัตสำคัญของการเมืองไทยให้สตรีไทยได้เรียนรู้ และมีผหญิงไทย
ิ �
ู้
หลายคนได้เจริญรอยตามสร้างบทบาทให้สตรีไทยได้กาวสูสภา และได้รบการยอมรับให้
้ ่
ั
ท�ำหน้าที่ฝ่ายบริหารได้เป็นรัฐมนตรี หลายกระทรวงในคณะรัฐบาลชุดต่างๆ
	
ความภาคภูมิใจของชาวอุบลราชธานี และคุณูปการที่ ส.ส. อรพินท์ ไชยกาล ได้
ท�ำหน้าทีกอนเป็น ส.ส. และการเป็น ส.ส.อุบลราชธานี นักการเมือง และประชาชนชาว
่่
อุบลราชธานี สมควรทีอนุชนรุนหลังจะได้เรียนรูและน�ำไปเป็นแบบอย่าง จึงขออนุญาต
่
่
้
น�ำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องและสาระส�ำคัญในการท�ำหน้าที่ ส.ส.ของ อรพินท์ ไชยกาล
เพื่อทราบโดยสังเขป ดังนี้
	
ส.ส. อรพินท์ ไชยกาล เกิดวันศุกร์ที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๔๗ เป็นบุตรของคุณ
พ่อแก้ว และคุณแม่คูณ คุณิตะสิน คหบดีคุ้มบ้านเหนือ ในเมืองอุบลราชธานี
	
จบการศึกษาชันมัธยมปีที่ ๖ จากโรงเรียนนารีนกล จบประกาศนียบัตรครูประถม
้
ุู
(ปป) โรงเรียนฝึกหัดครูสตรีเบญจมราชาลัย กรุงเทพฯ ซึงเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูสตรีแห่ง
่
แรกของประเทศไทย เป็นนักเรียนทุนมณฑลอุบล
	
นางสาวอรพินท์ คุณิตะสิน ได้สมรสกับ นายเลียง ไชยกาล และเป็นสมาชิกสภา
ผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี
	
การรับราชการ หลังจบการศึกษาประกาศนียบัตรครูประถมแล้ว บรรจุเป็น
ครูโรงเรียนนารีนุกูล ปี ๒๔๖๗ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นครูใหญ่โรงเรียนนารีนุกูลในปี
18

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

เดียวกัน เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดครู (สตรี) อุบลราชธานี เมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๙
นางอรพินท์ ไชยกาล ได้รับความไว้วางใจให้ด�ำรงต�ำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครู
สตรีคนแรกอีกด้วย ภายหลังโรงเรียนฝึกหัดครูสตรีได้ยุบรวมกับโรงเรียนฝึกหัดครูชาย
เมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๙
	
ในปี พ.ศ.๒๔๙๒ นางอรพินท์ ไชยกาล ได้รบเลือกตังเป็นสภาผูแทนราษฎร (สส.)
ั
้
้
จังหวัดอุบลราชธานีนับเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของประเทศไทย ได้
รับเป็นคะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ และได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้
แทนราษฎร ๓ สมัย เป็นสตรีเก่งและดี มีความพร้อม มีความเมตตา เสียสละ ได้รบความ
ั
ไว้วางใจให้เป็นเป็นกรรมการอ�ำนวยการสตรีแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๐๔-๒๕๐๖ เป็นนายก
สมาคมเบญจมราชาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ และได้ชวยเหลืองานสังคมสงเคราะห์และ
่
งานสาธารณกุศลต่างๆ มากมาย
	
มีอุดมคติประจ�ำใจ ๓ ข้อ คือ มีความเมตตา มีความเสียสละ และมีความบริสุทธิ์
ใจ และปฏิบตตามอมตพจน์ของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสโส) องค์ปฐมสังฆนายก
ัิ
ฺ
แห่งประเทศไทย ที่ว่า “โง่ไม่เป็น เป็นใหญ่ยาก” สมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้
เป็นผูหญิงเก่งในศตวรรษของชาวอุบลราชธานี และ ต้นแบบ ส.ส.หญิงแห่งประเทศไทย
้
ต้นแบบแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
20

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

ต้นแบบแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
	
จังหวัดอุบลราชธานี จัดงาน ประเพณีแห่เทียนพรรษา สืบสาน ภูมปญญา มรดก
ิ ั
ล�้ำค่าของเมืองอุบลฯ โดยการหลอมใจ หลอมบุญ และหลอมเทียน ถวายเป็นพุทธบูชา
และ มีพิธีอัญเชิญเทียนพระราชทานที่ยิ่งใหญ่
	
การจัดงานประเพณีในเทศกาลเข้าพรรษา มีกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวได้ร่วม
ชื่นชม ซึ่งจังหวัดอุบลราชธานีร่วมกับทุกภาคส่วนจัดงานประเพณีที่ส�ำคัญของจังหวัด
มีการประชาสัมพันธ์ให้นักท่องเที่ยวทั่วโลก ได้มาเที่ยวชมความงดงามของประเพณี
วัฒนธรรมในงานแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี นอกจากจะได้ชมความสวยงาม
ในงานประเพณีแห่เทียนพรรษาแล้ว จังหวัดอุบลราชธานี ยังมีแหล่งท่องเที่ยว สถานที่
ส�ำคัญทั้งด้านธรรมชาติ และธรรมะให้ประชาชนที่มาเที่ยวงานได้เยี่ยมชม และยังได้จัด
อ�ำนวยความสะดวกเรื่องที่พัก อาหาร ของที่ระลึก และความปลอดภัยในการเดินทางสู่
อุบลราชธานี
	
ความส�ำคัญที่ประชาชนชาวไทย และชาวอุบลราชธานี มีความภาคภูมิใจยิ่ง คือ
เทียนพรรษาพระราชทาน นับตังแต่ ปี พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา จังหวัดอุบลราชธานี ได้กราบ
้
บังคมทูลขอพระราชทานเทียนพรรษา และก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน
ตลอดมา ซึ่งเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุด
มิได้และเป็นทีปลาบปลืมปิตของหมูพสกนิกรชาวอุบลราชธานีอย่างยิง งานประเพณีแห่
่
้ ิ
่
่
เทียนพรรษาอุบลราชธานี ด�ำเนินงานแบบมีสวนร่วมมาตลอด จะเห็นได้วาองค์กรด�ำเนิน
่
่
การหลักๆ ประกอบด้วยภาครัฐอันได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี ส่วนราชการสถาบันการ
ศึกษาต่างๆ และรัฐวิสาหกิจการท่องเทียวแห่งประเทศไทย และภาคเอกชน คุมวัดต่างๆ
่
้
หอการค้าจังหวัด ชมรม มูลนิธิ สมาคม และธุรกิจต่างๆ ยึดหลัก การมีสวนในการปฏิบติ
่
ั
งานร่วมกันในลักษณะเครือข่ายเครือญาติทางวัฒนธรรม โดยการหลอมเทียน หลอมใจ
และหลอมบุญ เปรียบเสมือนการหลอมจิตใจของคนในชุมชนให้เป็นหนึ่งเดียว ยึดมั่น
และศรัทธาในพระพุทธศาสนา ซึ่งน�ำมาซึ่งความมั่นคงของชาติสืบไป
อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

21

	
ในเทศกาลงานบุญเข้าพรรษา ตามหลักของศาสนาพุทธ นับตั้งแต่วันแรม 1 ค�่ำ
เดือน 8 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 11 รวมระยะเวลา 3 เดือนเต็ม ที่พระสงฆ์สาวก
ของพระพุทธเจ้าจะต้องหยุดจาริกแสวงบุญ เพื่อจะได้ไม่ไปเหยียบข้าวกล้าในนาของ
ชาวบ้านให้เกิดความเสียหาย จึงได้มีพุทธบัญญัติให้พระสงฆ์ ท�ำพิธีปวารณาเข้าอยู่จ�ำ
พรรษา ณ อาวาส แห่งใดแห่งหนึ่งตลอดไตรมาสและในโอกาสนี้นี่เองพุทธศาสนิกชน
ต่างก็จัดหาดอกไม้ ธูปเทียน ผ้าอาบน�้ำฝน ตลอดจนเครื่องปัจจัยไทยทานน�ำไปถวาย
พระภิกษุสามเณร ที่ตั้งมั่นจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดใกล้บ้านของตน ในสิ่งที่ขาดไม่ได้กับการ
จ�ำพรรษาของพระสงฆ์ คือ “เทียน” เพราะเทียนมีประโยชน์ส�ำหรับจุดไฟให้เกิดแสง
สว่าง และสิงส�ำคัญ คือ พระสงฆ์จะใช้เทียนจุดบูชาพระพุทธรูป อันเป็นสัญลักษณ์แทน
่
องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และใช้แสงสว่างเพื่อการบ�ำเพ็ญเพียรการศึกษาหาความรู้
	
การจัดงานประเพณีแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี เป็นการแสดงออกทาง
วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของชาวพุทธศาสนิกชนคนไทยทุกหมู่เหล่า มีการสืบสาน
งานบุญให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น
ทางศิลปะ โดยการแกะสลักหรือติดพิมพ์เป็นลวดลายที่งดงามลงในต้นเทียน รวมทั้ง
การแสดงร่ายร�ำในขบวนแห่ของชาวคุมวัดต่างๆ ด้วยความรัก ความสามัคคีและเป็นการ
้
หลอมรวมดวงใจในการสร้างเทียนพรรษาเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาอย่างต่อเนื่องทุกปี
นั บ ว่ า เป็ น ประเพณี ส� ำ คั ญ และเป็ น มรดกที่ ล�้ ำ ค่ า ของชาวอุ บ ลราชธานี ที่ สื บ สาน
วิวัฒนาการให้เจริญก้าวหน้าได้ยั่งยืนอย่างแท้จริง
ภูมิพลัง....
	 สร้างคนเมืองอุบล
อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

23

ภูมิพลัง.....สร้างคนเมืองอุบล
	
ชาวอุบลราชธานี และศิษย์เก่าโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช รวมทังประชาชนและ
้
ผูเ้ กียวข้องทุกภาคส่วนต่างมีความชืนชมยินดีในโอกาสที่ มรดกล�ำค่าของชาติ คือ อาคาร
่
่
้
เรียนโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชหลังที่ 2 ได้รบรางวัลอนุรกษ์ศลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น
ั
ั ิ
ประจ�ำปี พ.ศ.2554 จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในงานสถาปนิก
สยาม 54 ระหว่างวันที่ 8 - 13 กุมภาพันธ์ 2554 รางวัล ประเภท อาคารสถาบันและอาคาร
สาธารณะ อาคารพาณิชย์ ทีตง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สถาปนิก/
่ ั้
ผูออกแบบ พระสาโรจน์รตนนิมมาน สถาปนิกประจ�ำกระทรวงศึกษาธิการ ผูครอบครอง
้
ั
้
ส�ำนักงานจังหวัดอุบลราชธานี ปีที่สร้าง พ.ศ. 2476 -2477
	
ประวัติและความเป็นมา โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เป็นโรงเรียนที่แยกมาจาก
โรงเรียนอุบลวิทยาคม ในปี พ.ศ. 2458 เนื่องจากโรงเรียนอุบลวิทยาคมซึ่งก่อตั้งขึ้น
ในปี พ.ศ. 2439 โดยเปิดการเรียน การสอน ณ วัดสุปัฏนารามวรวิหาร มีจ�ำนวนนักเรียน
มากขึ้นท�ำให้โรงเรียนคับแคบและช�ำรุดทรุดโทรม โรงเรียนใหม่นี้ตั้งอยู่ ณ บริเวณมุม
ทุ่งศรีเมืองด้านตะวันออก และได้รับประทานนามโรงเรียนจากกรมหลวงพิษณุโลก
24

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

ประชานาถ ว่า “โรงเรียนตัวอย่างประจ�ำมณฑลอุบลราชธานีเบ็ญจะมะมหาราช”
เพื่อเป็นอนุสรณ์ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยได้
ทรงออกใบประกาศตั้งนามโรงเรียนให้ไว้เป็นส�ำคัญ ซึ่งโรงเรียนได้ใส่กรอบเก็บรักษา
ไว้จนกระทั่งบัดนี้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2476 ทางจังหวัดได้รับงบประมาณ 4 หมื่นเศษ
เพือสร้างอาคารเรียนโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชหลังที2 ขึน ในบริเวณทิศตะวันตกของ
่
่ ้
ทุงศรีเมือง เนืองจากอาคารเรียนหลังแรกของโรงเรียนไม่สามารถรองรับจ�ำนวนนักเรียน
่
่
ทีเ่ พิมมากขึนได้ โดยอาคารหลังนีกอสร้างเป็นอาคารไม้สองชันจ�ำนวน 20 ห้อง ประกอบ
่
้
้่
้
พิธีเปิดอาคารเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2478
	
อาคารเรียนโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชหลังที่ 2 เป็นอาคารสองชั้นทรงมะนิลา
มีพื้นที่ใช้สอย 2,376 ตารางเมตร หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ตั้งอยู่บนฐานที่ก่อ
ด้วยซีเมนต์ ด้านหน้ามีมุข 3 มุข เรียงกัน หลังคามุงด้วยกระเบื้อง อาคารหลังนี้สร้าง
ด้วยไม้สักทั้งหลัง ทั้งพื้นเข้าลิ้น เพดาน ฝาผนัง ประตู หน้าต่าง ชั้นล่างประกอบด้วย
ห้องพักครู ห้องครูใหญ่ ห้องธุรการ และห้องเรียน ส่วนชันบนประกอบด้วย ห้องประชุม
้
ห้องสมุด และห้องเรียน หลังจากที่โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชได้ย้ายโรงเรียนไปตั้งอยู่
ณ บ้านท่าวังหิน ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงเรียนในปัจจุบัน ในปี พ.ศ.2513 อาคารเรียนหลังนี้
ได้มีการใช้งานมาอย่างต่อเนื่องโดยส่วนราชการต่างๆ ของจังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่
สัสดีจังหวัด ส�ำนักงานธนารักษ์จังหวัด ส�ำนักงานสถิติจังหวัด และส�ำนักงานพัฒนา
อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จนกระทังในปี พ.ศ. 2543 ได้มการย้ายส่วนราชการออกทังหมด
่
ี
้
โดยบางส่วนของอาคารยังคงใช้เป็นสถานทีเ่ ก็บพัสดุ ปัจจุบนอยูในความรับผิดชอบดูแล
ั ่
โดยส�ำนักงานจังหวัดอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2545 กรมศิลปากรได้ประกาศให้อาคาร
หลังนี้เป็นโบราณสถาน
	
ต่อมาเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2545 คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดระบบ
ศูนย์ราชการได้มีมติเห็นชอบให้ใช้แผนการใช้ที่ดินของหน่วยงานของรัฐซึ่งก�ำหนดให้
ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารและให้เป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์ด้านชาติพันธุ์และวัฒนธรรม
ท้องถิ่น โดยต้องใช้หลักการซ่อมแซมบูรณะในแนวทางอนุรักษ์สถาปัตยกรรมที่
ถูกต้อง ทางจังหวัดโดย นายสุธี มากบุญ ผู้ว่าราชการจังหวัดในขณะนั้น และสมาคม
ศิ ษ ย์ เ ก่ า โรงเรี ย นเบ็ ญ จะมะมหาราชจึ ง ได้ พิ จ ารณาเห็ น คุ ณ ค่ า ของอาคารเรี ย น
อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

25

โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชหลังที่ ๒ และขออนุญาตกรมศิลปากรให้ด�ำเนินการบูรณะ
ตามหนังสือจากศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี ลงวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2549 โดย
กรมศิลปากรได้เริ่มด�ำเนินการบูรณะอาคารในปี พ.ศ.2551 แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2553
ปัจจุบันอาคารหลังนี้ก�ำลังอยู่ในระหว่างการด�ำเนินการ เพื่อจัดตั้งเป็น พิพิธภัณฑ์เมือง
อุบลราชธานี โดยกรมศิลปากร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เบ็ญจะมะมหาราชสมาคม
และภูมิพลังเมืองอุบลราชธานี
	
หมายเหตุ ขอขอบคุณนายสุวชช คูณผล ปราชญ์เมืองอุบล ผูเ้ กียวข้อง อนุเคราะห์
ิ
่
ประวัติและข้อมูล ครูประพัฒน์ สิงห์สุทธิ์ อนุเคราะห์ภาพอาคารเก่า
26

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

อุบลราชธานี เมืองประวัติศาสตร์....
	 สู่มรดกโลก
อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

27

อุบลราชธานี เมืองประวัติศาสตร์....สู่มรดกโลก
	
จังหวัดอุบลราชธานีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดประชุมสัมมนาเสนอ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์เพื่อจัดท�ำทะเบียนเอกสารมรดกแห่งความทรงจ�ำแห่งชาติ
น�ำโดยศาสตราจารย์ ดร.ประเสิฐ ณ นคร ศาสตราจารย์แม้นมาศ ชวลิต ประธาน
คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยแผนงานความทรงจ�ำแห่งโลก ดร.ม.ร.ว.รุจยา อาภากร
ดร.ประจั ก ษ์ วั ฒ นานุ ศิ ษ ย์ นางสาวิ ต รี สุ ว รรณสถิ ต นายอวยชั ย เกิ ด ช่ ว ย
นางกนิ ศ ฐา กสิ ณ อุ บ ล นายช� ำ นาญ ภู ม ลี นายมนั ส สุ ข สาย รศ.วุ ฒิ ชั ย มู ล ศิ ล ป์
นายวิมล ปิงเมืองเหล็ก นายหมิว ศาลางาม นางก่องแก้ว วีระประจักษ์ ร่วมเสวนา
โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิในจังหวัดอุบลราชธานี คือ นายระลึก ธานี ได้บรรยาย เรื่องเมืองอุบล
ความเป็ น ทาทางประวั ติ ส าสตร์ และได้ รั บ เกี ย รติ จ ากศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ เช่ น
นางฉวี ว รรณ ด� ำ เนิ น ป.ฉลาดน้ อ ย ส่ ง เสริ ม นภดล ดวงพร ทองใส ทั บ ถนน
ร่วมประชุมพร้อมหัวหน้าส่วนราชการ และนักประวัติศาสตร์ภูมิพลังเมืองอุบล ฯ ซึ่งมี
นายสุรพล สายพันธ์ ผวจ.อุบลราชธานี ร่วมสืบสานงานส�ำคัญครังนี้ นอกจากการสัมมนา
้
28

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

และเสนอข้อมูลเพื่อขึ้นทะเบียนแล้ว ยังได้น�ำคณะศึกษาดูงานแหล่งประวัติศาสตร์ที่
วัดทุ่งศรีเมือง วัดสุปัฏนารามวรวิหาร และบ้านค�ำผ่อง สุขสาย เพื่อเป็นการสืบค้นและ
ประกอบในการขึนทะเบียนเอกสารมรดกความทรงจ�ำแห่งชาติ และแห่งโลกตามล�ำดับ
้
	
ส� ำ หรั บ สาระส� ำ คั ญ และความเป็ น มา ขอน� ำ เรี ย นเพื่ อ ทราบโดยย่ อ ดั ง นี้
มรดกความทรงจ�ำแห่งโลก (Memory of the World) ประเทศไทย องค์การศึกษา
วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก พิจารณาเห็นควรว่าความรู้
ความคิด ประสบการณ์ จินตนาการ เรืองราว ของมนุษย์ทมเี ชือชาติ ภาษา ขนบธรรมเนียม
่
ี่ ้
ประเพณี แ ตกต่ า งกั น กระจายอยู ่ ใ นดิ น แดนต่ า งๆ ทั่ ว โลก ที่ ม นุ ษ ย์ ไ ด้ ร ่ ว มกั น
โดยมิได้ตั้งใจสร้างสรรค์ภูมิปัญญาให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรมด้วยการบันทึกเป็นภาพ
ลายลักษณ์อักษร เสียง ลงในวัสดุต่างๆ เพื่อกันลืม และเพื่อถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้รับทราบ
สืบต่อกันไป เช่นหนังสือทีเ่ ขียนด้วยมือบนกระดาษ ใบไม้ สกัดอักษรลงบนโสตทัศน์วสดุ
ั
บนแผ่นฟิล์มและแถบเสียง วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ดิสเก็ต ซีดีรอม มัลติมิเดียและ
ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ รวมกันเป็นเอกสารมรดกความทรงจ�ำ เป็นเครื่องบ่งชี้ให้ทราบ
ถึงอารยธรรมของมนุษยชาติ แต่วัสดุเหล่านี้ส่วนมากแล้วไม่ทนต่อสภาพภูมิอากาศ
ภูมิประเทศ เหตุการณ์ทางธรรมชาติเช่นแผ่นดินไหว น�้ำท่วม ความชื้น ฝุ่นละออง
แสงแดด หนู ปลวก มอด แมลง และฝีมือมนุษย์ที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ ฯลฯ จึงท�ำให้
อารยธรรมด้นเอกสารมรดกความทรงจ�ำของมนุษย์จึงถูกท�ำลายลงอย่างมากสมควรที่
ประเทศต่างๆ ต้องร่วมมือกันปกป้องรักษาเอกสารมรดกที่เหลืออยู่ในปัจจุบันทั้งวัสดุ
บันทึกและเนื้อหาอย่างยิ่งยืนยาวนานตั้งแต่ปัจจุบันจนถึงอนาคต ส่วนที่เป็นเนื้อหา
ก็ควรเผยแพร่ให้ทราบและใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ที่ประชุมสมัยสามัญประจ�ำปี
พ.ศ.2535 ของยูเนสโก จึงมีมติให้จัดตั้งแผนงานความทรงจ�ำแห่งโลก (Memory of the
World Program) หรือมีช่อย่อว่า MOW ขึ้นภายใต้โครงการใหญ่ด้านสื่อสารมวลชน
หรือ Communication and Information ที่ประเทศไทยส่วนร่วมในการด�ำเนินงาน
มาตั้งแต่ต้น กล่าวคือเมื่อปี พ.ศ.2538 คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษาวิทยา
ศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ของประเทศไทยจึงได้เสนอให้ศาสตราจารย์
พิเศษคุณหญิงแม้นมาส ชวลิต เป็นกรรมการที่ปรึกษาระหว่างประเทศว่าด้วยแผนงาน
ความทรงจ�ำแห่งโลก โดยเป็นกรรมการสองวาระ คือ พ.ศ.2538-2539 และ พ.ศ.2540-
อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

29

2541 ได้เดินทางไปร่วมประชุมที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส หนึ่งครั้ง ที่เมือง แดนซ์
ประเทศโปแลนด์ หนึ่งครั้ง
	
หลักฐานส�ำคัญในจังหวัดอุบลราชธานี ที่เสนอขึ้นทะเบียน คือ จารึกจังหวัด
อุบลราชธานี กล่าว ว่า จังหวัดอุบลราชธานีอยูในแหล่งทีมความส�ำคัญทางประวัตศาสตร์
่
่ ี
ิ
มาตั้งแต่สมัยโบราณ สมัยก่อนประวัติศาสตร์มีหลักฐานให้เห็นว่ามีผู้คนอาศัยอยู่ ในยุค
เป็นสังคมผู้ล่าสัตว์ ต่อมาจนถึงสมัยที่ผู้คนมีอาชีพทางเกษตรกรรม ในพุทธศตวรรษ
ที่ 12-13 พื้นที่บางส่วนของจังหวัดอยู่ภายใต้อิทธิพล ของอาณาจักรเจนละดังปรากฏ
ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรร่ ว มสมั ย ของอาณาจั ก รเจนละซึ่ ง แสดงว่ า เจ้ า ของพื้ น ที่ ดั้ ง เดิ ม
เป็นกลุ่มคนที่พูดภาษามอญ เขมร และเป็นชุมชนเกษตรกรรม อาศัยความคิดทางการ
เมือง และปรัชญาของอินเดีย
	
ต่อมาปลายพุทธศตวรรษ ที่ 12-13 ภายใต้วฒนธรรมของทวารวดี ซึงมีวฒนธรรม
ั
่ ั
ทางพระพุทธ-ศาสนาของอินเดีย เป็นพื้นฐาน ดังปรากฏหลักฐานเป็นพระพุทธรูปและ
ใบเสมา ภายใต้วัฒนธรรมเจนละสมัยเมืองพระนคร ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15-18
ปรากฏจารึกหลายหลักในจังหวัดอุบลราชธานี นอกจากนีภาพถ่ายทางอากาศยังแสดงถึง
้
ร่องรอยของชุมชนโบราณทางตอนเหนือ ของจังหวัดอุบลราชธานี เช่น การสร้างนาราย
และคูนำคันดินต่อมาชุมชนทีพดภาษาตระกูลไทยลาวจึงครองอ�ำนาจเหนือพืนทีบริเวณ
�้
่ ู
้ ่
นี้
	
สมัยรัตนโกสินทร์ต่อเนื่องมาจากสมัยกรุงธนบุรีพระวอ พระตา ขัดแย้งกับ
กษัตริยประเทศลาว มาขอความช่วยเหลือจากพระเจ้าตาก และได้สถาปนาเมืองอุบลขึน
์
้
แต่หลักฐานมีน้อยและขัดแย้งกันอยู่ เช่น พระวอ พระตาเป็นเจ้านายหรือคนธรรมดา
สองคนนี้เป็นพี่น้องกันหรือว่าพระวอ พระตาเป็นบุตรของพระตา
	
เรื่องนี้ น�ำมาจากหนังสือ “วัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์
และภูมิปัญญาจังหวัดอุบลราชธานี” ซึ่งจังหวัดอุบลราชธานีได้จัดท�ำขึ้นโดยคณะ
กรรมการฝ่ายประมวล เอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอ�ำนวยการอ�ำนวย
การจังหวัด งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ 5 ธันวาคม 2542
	
สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 15 ได้ก�ำหนดเวลาครองเมือง ของ
เจ้าเมืองอุบลราชธานีไว้ตามหลักฐานจดหมายเหตุทางราชการ ที่ปรากฏอยู่ดังนี้
30

อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน

	
1.	 พระปทุมวรราชสุริยวงษ์ (ค�ำผง) ผู้สร้างเมืองอุบลคนแรก พ.ศ.2321-2338
ครองอุบลวันจันทร์ เดือน 8 แรม13 ค�่ำ ตรงกับ 12 กรกฎาคม พ.ศ.2335 ถึง 2338
	
2.	 พระพรหมราชสุริวงศา (ท้าวทิดพรหม) พ.ศ.2338-2338 เมืองสร้างไป 5 ปี
	
3.	 สุ่ย ลูกของพระพรหมราชสุริวงศา ครองเมือง 7 วัน ตาย
	
4.	 พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (กุทอง) พ.ศ.2388-2403
	
5.	 เจ้าพระยาเทวานะเคราะห์ พ.ศ.2406-2429
	
หลักฐานเอกสารในจังหวัดอุบลราชธานี ก�ำลังได้รับการขับเคลื่อนให้เป็นความ
รู้ระดับโลก ขอขอบคุณหอจดหมายเหตุแห่งชาติฯ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวง
ศึกษาธิการ และนักประวัติศาสตร์ทุกท่าน ที่จัดประชุมสัมมนา รวมไปถึงนักปราชญ์
เมืองอุบลราชธานี ที่ได้ด�ำเนินการสืบสานมรดกล�้ำค่าในจังหวัดอุบลราชธานี และใน
ภูมภาคนีให้อนุชนรุนหลังได้มความเข้าใจ และเป็นองค์ความรูทจะน�ำไปขยายผลให้เกิด
ิ
้
่
ี
้ ี่
ความภาคภูมิใจของความเป็นชาติต่อไป
ปูม ...
	 เมืองอุบลราชธานี 9 ประการ
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า
ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในMr-Dusit Kreachai
 
วาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากรวาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากรMr-Dusit Kreachai
 
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้Mr-Dusit Kreachai
 
สถิติการศึกษาระดับประเทศ
สถิติการศึกษาระดับประเทศสถิติการศึกษาระดับประเทศ
สถิติการศึกษาระดับประเทศMr-Dusit Kreachai
 
ชื่อทำเนียบพี่เลี้ยง
ชื่อทำเนียบพี่เลี้ยงชื่อทำเนียบพี่เลี้ยง
ชื่อทำเนียบพี่เลี้ยงMr-Dusit Kreachai
 
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_Mr-Dusit Kreachai
 
Realizações 2015
Realizações 2015Realizações 2015
Realizações 2015Lari Aveiro
 
Seminário Aquisição de Leitura Fluente
Seminário Aquisição de Leitura FluenteSeminário Aquisição de Leitura Fluente
Seminário Aquisição de Leitura FluenteLari Aveiro
 
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศสถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศMr-Dusit Kreachai
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารMr-Dusit Kreachai
 
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน Mr-Dusit Kreachai
 
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551Mr-Dusit Kreachai
 
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชนทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชนMr-Dusit Kreachai
 
ภาพกิจกรรมใน ปี 2556
ภาพกิจกรรมใน ปี  2556ภาพกิจกรรมใน ปี  2556
ภาพกิจกรรมใน ปี 2556Mr-Dusit Kreachai
 
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานีสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
แผนงบประมาณ ปี 2557
แผนงบประมาณ ปี 2557แผนงบประมาณ ปี 2557
แผนงบประมาณ ปี 2557Mr-Dusit Kreachai
 
วาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากรวาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากรMr-Dusit Kreachai
 
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไปข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไปMr-Dusit Kreachai
 
Power point
Power pointPower point
Power pointdethaa
 

Andere mochten auch (19)

ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
 
วาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากรวาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากร
 
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
โครงการอบรมนักจัดเก็บรายได้
 
สถิติการศึกษาระดับประเทศ
สถิติการศึกษาระดับประเทศสถิติการศึกษาระดับประเทศ
สถิติการศึกษาระดับประเทศ
 
ชื่อทำเนียบพี่เลี้ยง
ชื่อทำเนียบพี่เลี้ยงชื่อทำเนียบพี่เลี้ยง
ชื่อทำเนียบพี่เลี้ยง
 
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
โครงการอบรมน กจ ดเก_บรายได_
 
Realizações 2015
Realizações 2015Realizações 2015
Realizações 2015
 
Seminário Aquisição de Leitura Fluente
Seminário Aquisição de Leitura FluenteSeminário Aquisição de Leitura Fluente
Seminário Aquisição de Leitura Fluente
 
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศสถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
สถิติข้อมูล อนามัย การศึกษา ระดับประเทศ
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
 
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของ สำนักบริการวิชาการชุมชน
 
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
สรุปผลที่สำคัญเด็กและเยาวชน ปี 2551
 
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชนทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
ทำเนียบรุ่นที่ 1 แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมเด็กและเยาวชน
 
ภาพกิจกรรมใน ปี 2556
ภาพกิจกรรมใน ปี  2556ภาพกิจกรรมใน ปี  2556
ภาพกิจกรรมใน ปี 2556
 
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานีสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดอุบลราชธานี
 
แผนงบประมาณ ปี 2557
แผนงบประมาณ ปี 2557แผนงบประมาณ ปี 2557
แผนงบประมาณ ปี 2557
 
วาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากรวาระงานผู้บริหารและบุคลากร
วาระงานผู้บริหารและบุคลากร
 
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไปข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 

Ähnlich wie ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า

04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณssuser930700
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยChalee Pop
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATIONninecomp
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญหรร 'ษๅ
 
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2551
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  2551พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  2551
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2551นายจักราวุธ คำทวี
 
สื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptx
สื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptxสื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptx
สื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptxWarapornMingkwan1
 

Ähnlich wie ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า (8)

04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
 
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2551
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  2551พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  2551
พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2551
 
สื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptx
สื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptxสื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptx
สื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptx
 

ลูกลืมพ่อแม่ กระแตลืมป่า

  • 2. 2 อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน จาก....วันวาน “การศึกษาย่อมเป็นการส�ำคัญยิ่ง และเป็นต้นเหตุแห่งความเจริญของชาติ บ้านเมือง ผู้ใดอุดหนุนการศึกษา ก็ได้ชื่อว่า อุดหนุนชาติบ้านเมืองด้วย เราตั้งใจที่จะ ทะนุบ�ำรุงการศึกษาชาติ บ้านเมืองเราอยู่เสมอประเทศทั้งหลายย่อมเจริญได้ด้วยการ ศึกษาประเทศใดปราศจากการศึกศึกษาประเทศนั้นต้องเป็นป่าเถื่อน” ข้ อ ความข้ า งต้ น เป็ น พระราชด� ำ รั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้าอยู่หัว ที่ตรัสไว้เพื่อเป็นการสนับสนุน ให้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติประถม ศึกษา พุทธศักราช 2464 ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ที่มีพระราชบัญญัติประถมศึกษาแห่งชาติ เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2464 และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีเสนาบดีกระทรวง ศึกษาธิการ ในขณะนันได้กล่าวไว้วา “มณฑลอุบลอันเป็นมณฑลปลายพระราชอาณาเขต ้ ่ และติดต่อกับประเทศฝรั่งเศสการศึกษาส�ำหรับที่เช่นนี้จึงจ�ำเป็นต้องเร่งรัดมาก ” และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ยังได้กล่าวสนับสนุน นโยบายที่จะส่งเสริมให้ คนไทยหันมาประกอบอาชีพอื่นนอกจากอาชีพราชการว่า “ส�ำหรับประเทศสยาม เป็นประเทศเพาะปลูก อาชีพของราษฎรย่อมเป็นไปในทางกสิกรรม หัตถกรรม และ พาณิชยกรรม เป็นแต่เครืองประดับ แต่การจักก็เป็นการยากทีจะเป็นผลส�ำเร็จเพือจะได้ไป ่ ่ ่ เป็นเสมียนการจัดโรงเรียนเพาะปลูกจะประสบผลส�ำเร็จได้โดยการออกพระราชบัญญัติ ประถมศึกษาเท่านั้น ” “จะให้การศึกษาของกุลบุตรกุลธิดา ตามชนบทที่ยังไม่ได้รับการศึกษาก้าวหน้า ขึนไป ทังยังเป็นการส่งเสริมหลักนโยบายของรัฐบาลทีจะขยายการศึกษาให้แพร่หลาย” ้ ้ ่ นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี กล่าว เร่งเร้าให้รฐบาลขยายการศึกษาภาคบังคับออกไปให้แพร่หลายเพราะปัญหาและอุปสรรค ั ของการจัดการศึกษาในสมัยนัน คือ พระราชบัญญัตประถมศึกษา พ.ศ. 2464 ทีใช้มาเป็น ้ ิ ่ เวลานาน และมีข้อบกพร่อง
  • 3. อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน 3 ข้อความทังหมดนี้ แสดงให้เห็นว่าการศึกษาเป็นการพัฒนามนุษย์ทกรูปทุกนาม ้ ุ ผู้ใดที่ไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนก็จะกลายเป็นคนล้าสมัยป่าเถื่อน ไม่สามารถจะด�ำรงอยู่ใน สังคมอย่างมีความสุขเพราะฉะนั้นตลอดยุคสมัยที่ผ่านมาผู้น�ำรัฐบาลทุกรัฐบาล จะได้ ให้ความส�ำคัญและถือเป็นภารกิจทีจะด�ำเนินการให้การศึกษาแก่ปวงชนอย่างทัวถึงและ ่ ่ มีประสิทธิภาพ อุ บ ลราชธานี เ ป็ น เมื อ งที่ ส� ำ คั ญ มาแต่ อ ดี ต ได้ รั บ การสถาปนาเป็ น “เมื อ ง อุบลราชธานีศรีวนาลัย” เมื่อวันจันทร์แรม 3 ค�่ำ เดือน 8 จุลศักราช 1154 ซึ่งตรงกับ พุทธศักราช 2335 รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในช่วงแรก มีพระประทุมวรราชสุริยวงษ์ (ค�ำผง) เป็นเจ้าเมืองคนแรกหลังจากได้รับการสถาปนา แล้วอุบลราชธานีได้มบทบาทส�ำคัญต่อเมืองราชธานี (กรุงเทพมหานคร) และเมืองต่างๆ ี ในภูมิภาคนี้เป็นอย่างยิ่ง เป็นศูนย์กลางการปกครอง การบริหารการเก็บส่วยอากรอื่นๆ เมื่อการปฏิรูปการปกครองครั้งใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูหวอุบลราชธานีกยงคงมีบทบาทและความส�ำคัญหรือยิงกว่าเดิมอีก เป็นทีตงกอง ่ ั ็ั ่ ่ ั้ บัญชาการมณฑล อีสานเป็นทีประทับของเชือพระวงศ์ชนสูงทีเ่ สด็จมาปกครองไพร่ฟา ่ ้ ั้ ้ ประชาชนในภูมภาคนี้ เช่นกรมหลวงพิชตปรีชากรณ์ และกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ิ ิ เป็นต้น ย้อนไปเมื่อพ.ศ. 2430 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า รัชกาลที่ 5 ได้มีการจัดตั้งกระทรวงธรรมการขึ้น สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงเป็น เสนาบดี พ ระองค์ แ รก ได้ ส นองแนวพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว โดยการจั ด ท� ำ แผนการที่ ข ยายการศึ ก ษาออกไปสู ่ หั วเมื อ งอย่ างกว้ างขวางเพื่อ ให้เยาวชนของชาติไ ด้มีโอกาสศึกษาเล่า เรีย นได้มาก ที่สุด โดยอาศัยวัดเป็นหลักส�ำคัญในการด�ำเนินงานดังปรากฏในประกาศการจัดการ ศึกษาในหัวเมือง ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน รัตนโกสินทร์ศก 117 ความตอนหนึ่งว่า “ขอภิกษุท้ังหลายจงเห็นแก่พระพุทธศาสนา และประชาชนทั้งปวงได้ช่วยเอาการธุระ สั่งสอนกุลบุตรทั้งหลาย ให้ได้ศรัทธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย และมีวิชาความรู้ อันเป็นสารประโยชน์ยงขึน ให้สมดังพระบรมราชประสงค์ ซึงได้ทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ิ่ ้ ่ ่ ให้อาราธนามานี้ จงทุกประการเทอญฯ... ”
  • 4. 4 อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน จากนั้นเป็นต้นมาก็ได้มีการขยายการศึกษา หรือจัดตั้งโรงเรียนในหัวเมืองให้ แพร่หลาย ตามแนวพระบรมราโชวาท ในการจัดการศึกษาในหัวเมืองของพระองค์ซึ่ง สอดคล้องกับพระราชด�ำริที่ว่า “เจ้านายราชตระกูล ตั้งแต่ลูกฉันเป็นต้นไป ตลอดจน ราษฎรที่ต�่ำที่สุด จะได้ให้มีโอกาสได้เล่าเรียนได้เสมอกัน ไม่ว่าเจ้า ว่าขุนนาง ว่าไพร่” ต่อมาถึง พ.ศ. 2434 พระภักดีณรงค์ ( สิน ไกรฤกษ์ ) ข้าหลวงก�ำกับราชการ เมืองอุบลราชธานีได้จดตัง”อุบลวาสิกสถาน”ขึนในบริเวณจวนเก่าของเจ้าพรหมเทวานุ ั ้ ้ เคราะห์วงศ์ อันเป็นโรงเรียนสอนไทยโรงแรกของอุบราชธานี แต่การศึกษาในขณะนั้น ก็ได้ชะลอตัวลง เนื่องจากช่วงเวลานั้น ประเทศไทยก�ำลังถูกคุกคามจากชาติมหาอ�ำนาจ คือฝรั่งเศส จนเกิดเหตุการณ์ที่เรียกว่า “วิกฤตสยาม ร.ศ. 112 ” จนเหตุการณ์ได้ผ่านพ้น ไป พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ได้เสด็จมาครองเมืองอุบลราชธานี ในเบื้องแรกพระองค์ก็ยังไม่เป็นผลตามด�ำเนินการจัดการศึกษาให้เต็มรูปเสียทีเดียว เนื่ อ งจากล่ อ แหลมจั ด ตั้ ง ส� ำ นั ก ก็ ไ ม่ ไ ด้ จ ะเป็ น ที่ ส ะดุ ้ ง สะเทื อ นคนทั้ ง ในเมื อ งและ นอกเมือง ก็พระองค์กทรงตระหนักดีวาในเวลานันประเทศไทยยังขาดแคลนบุคคลากร ็ ่ ้ ทีมคณภาพมาจัดแจงบ้านเมืองอยูมาก เนืองจากขาดคนทีมการศึกษา ทีมพอจะอ่านออก ่ ีุ ่ ่ ่ ี ่ ี เขียนได้ก็ยังยาก ซึ่งถือว่าเป็นปัญหาและอุปสรรคส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ จนถึงปี พ.ศ. 2440 กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ จึงได้ปรับปรุงพัฒนาการศึกษาอย่างจริงจัง และในเวลานั้นอุบลราชธานีก็ได้เกิดมีนักปราชญ์ ทางฝ่ายพุทธจักรเกิดขึ้นเป็นรูปแรก ที่ถือว่าท่านผู้นี้ เป็นพระสงฆ์ที่เป็นต้นก�ำเนิดบุกเบิกและวางรากฐานการศึกษาของ ชาวอุบลราชธานี ทั้งทางโลกและทางธรรม คือ ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจันโท จันทร์) ท่านผู้นี้ถือก�ำเนิดขึ้นที่บ้านหนองไหล อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี เป็นบุตรคนหัวปีของกรมการเมืองสุโภรสุประการ (สอน) มารดาชื่อแก้ว อุปสมบท กับท่านเทวธัมมี (ม้าว) ณ วัดศรีทอง ไปเรียนที่กรุงเทพมหานครสอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค แล้วกลับมาช่วยกรมการศาสนาที่อุบลราชธานี พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจันโท จันทร์ ) ได้จัดตั้งโรงเรียนสอนหนังสือไทยและบาลีขึ้นที่วัดสุปัฏนาราม เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2440 ตั้งชื่อว่าโรงเรียนอุบลวิทยาคม ซึ่งถือว่าเป็นแบบอย่าง และรากฐานของการจั ด การศึ ก ษาของวั ด และการศึ ก ษาประชาบาลทั่ ว ไปของ
  • 5. อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน 5 ชาวอีสานทังมวลด้วย ท่านเจ้าคุณอุบาลีคณปมาจารย์ มีลกศิษย์ททานน�ำไปศึกษาเล่าเรียน ้ ุ ู ู ี่ ่ จากกรุงเทพฯ แล้วกลับมาช่วยงานการศึกษาของท่าน ณ เวลานั้นถึง 6 รูปด้วยกันคือ พระพรหมมุนี (ติส.โส อ้วน) ต่อมาคือ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติส.โส อ้วน) พระมหา จันวังโส (แก้ว) พระมหาฐิตาโภ (ล้อม) พระปลัดหรุ่น พระใบฎีกาและพระเพียบ การจัดการศึกษาโรงเรียนอุบลวิทยาคมในระยะแรกๆ ได้แบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภททีหนึง ได้แก่โรงเรียนสอนภาษาบาลี โดยมีสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ ่ ่ (ติส.โส อ้วน) ครั้งยังเป็นพระมหาอ้วน และพระมหาล้อม เป็นครูสอน ประเภทที่สอง คือโรงเรียนสอนหนังสือไทย มีพระสงฆ์วจารณ์ พระครูพนานโอภาส พระสมุห์ และพระ ิ ใบฎีกา เป็นครูสอน มีท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณุปามาจารย์ เป็นผู้จัดการ ตั้งแต่บัดนั้น มาโรงเรียนอุบลวิทยาคมก็มีความเจริญก้าวหน้าเรื่อยมาคือมีนักเรียนทั้งแผนกบาลีและ แผนกหนังสือไทย เพิ่มขึ้นเป็นล�ำดับ ท�ำให้ผลดีแก่ลูกหลานชาวอุบลราชธานีโดยตรง และยังมีผลโดยอ้อม คือ ท�ำให้เด็กที่อาศัยอยู่ในวัดสุปัฏนาราม และวัดใกล้เคียงตลอด จนเด็กที่อาศัยอยู่ละแวกบ้าน ได้มีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนด้วย แล้วกล่าวกันว่าโรงเรียน อุบลวิทยาคมวัดสุปัฏนารามได้แหล่งวิชาการสอนคนในจังหวัดอุบลราชธานีได้มีความ ก้าวหน้าและประสบความส�ำเร็จมากมายมีทงข้าราชการพ่อค้าประชาชน นักการเมืองนัก ั้ ปกครองและพระสงค์องค์เจ้า ดังกล่าวแล้ว ใช่แต่เท่านั้น การที่มีโรงเรียนอุบลวิทยาคม เป็นต้นแบบในการจัดโรงเรียน ได้มีการขยายผลคือ การตั้งโรงเรียน เพื่อบุตรหลานออก ไปอีกอย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา เช่น ในปี พ.ศ. 2440 ท่านเจ้าพระอุบาลีคุณุปามาจาร ย์ ได้จัดตั้งโรงเรียน “อุดมวิทยากรณ์” ขึ้นที่วัดพระเหลาเทพนิมิต อ�ำเภอพนาขึ้นอีกแห่ง หนึ่ง เป็นต้น ในห้วงเวลาที่ท่านเจ้าพระอุบาลีคุณุปามาจารย์ ได้จัดตั้งโรงเรียนสอนหนังสือ ไทยขึ้นในจังหวัดอุบลราชธานีนี้เอง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ทรง มีพระบรมราโชบายในการขยายการศึกษาและจัดตั้งโรงเรียนสอนหนังสือไทย ให้กว้าง ขวางทั่วพระราชอาณาจักร ดังกล่าวมาแล้ว ท�ำให้การศึกษาของสยามประเทศมีความ ก้าวหน้าสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน
  • 6. 6 อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน ในส่วนของจังหวัดอุบลราชธานีนน ท่านเจ้าพระอุบาลีคณปามาจารย์กได้แต่งตัง ั้ ุ ุ ็ ้ ให้เป็นผู้อ�ำนวยการจัดการศึกษาในมณฑลอีสาน มีบทบาทส�ำคัญในการจัดตั้งโรงเรียน สอนหนังสือไทย เป็นทีแพร่หลายในบริเวณเมืองอุบลราชธานีและแพร่หลายไปยังจังวัด ่ และภาคอีสานทังมวล เฉพาะในส่วนของจังหวัดอุบลราชธานีถอได้วาได้รบอิทธิพล จาก ้ ื ่ ั การจัดการศึกษาตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยแท้ ซึ่งท�ำให้อุบลราธานีมีความเจริญทางด้านการศึกษาอย่างยิ่ง และมีผลต่อระบบ การจัดการศึกษาในปัจจุบัน
  • 8. 8 อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน คุณภาพการศึกษา : คุณภาพประชาชน ปัจจุบันสังคมไทยมีปัญหามากมายไม่ว่าจะเป็นสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอด ทั้งระบบการศึกษาดูเหมือนว่าปัญหาดังกล่าว ได้สร้างความขัดแย้งให้ผู้คนในประเทศ หลายเท่าทวีคูณ บางเรื่องบางประเด็นมองแทบไม่เห็นทางออก ปัจจัยที่ท�ำให้สังคมไทย เปลี่ยนไปค่อนข้างมากและรวดเร็วมาจากหลายสาเหตุ ระบบการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งที่ มีส่วนส�ำคัญต่อผลที่เกิดขึ้นในสังคมวันนี้ จากอดีตถึงปัจจุบันมีผู้คน จ�ำนวนหนึ่งที่พยายามจะพลิกฟื้นระบบการศึกษาให้ ตอบสนองวิถีชีวิตแห่งความเป็นไทยที่สอดรับกับวัฒนธรรมให้ยั่งยืน และเมื่อปี 2542 มีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 และ (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พุทธศักราช 2545) ก�ำหนดให้การจัดการศึกษาเป็นหน้าที่ของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน และท้องถิ่น กว่า 10 ปีที่ผ่านไป แทบไม่มีผลปรับเปลี่ยนอะไรในทางบวกต่อสังคม น่าจะ มีอะไรที่ซ่อนเร้น และทับซ้อนระหว่างกฎเกณฑ์ กติกาและการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับ การศึกษาอยู่ไม่ใช่น้อย สิ่งที่เป็นจริงวันนี้พบว่าระบบการวัดและประเมินผลมนุษย์ ในระบบการศึกษาของไทยยังมุ่งผลที่การวัดด้วยระบบคะแนนสอบความรู้เป็นหลัก สถานศึกษาใดค่าเฉลียคะแนนสอบของนักเรียนสูงถือได้วาจัดการศึกษามีประสิทธิภาพ ่ ่ กระทรวงศึกษาธิการเองก็ตั้งองค์กรกลาง จัดท�ำและออกข้อสอบกลางขึ้นมาเพื่อตีค่า ความเป็นมนุษย์ของเด็กไทยทั่วประเทศด้วยเครื่องมือเดียวกันทุกคน ในความแตกต่าง ของมนุษย์ที่มีบริบทที่ห่างกันสิ้นเชิง ด้วยคะแนนไม่กี่วิชา แล้วก็ตัดสินว่ามีและไม่มี ประสิทธิภาพ ทุกสถานศึกษาจึงมุงสอนและใช้กลเม็ดให้นกเรียนสอบได้คะแนนสูงทีสด ่ ั ่ ุ และเข้ามหาวิทยาลัยให้ได้มากทีสด เมือจบการศึกษาเข้าสูกระบวนการท�ำงานก็มปญหา ่ ุ ่ ่ ี ั ทุจริต คอรัปชั่น ไม่ซื่อสัตย์ต่ออาชีพ ขาดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และอุดมการณ์แห่ง สาธารณะอื่นๆมากมาย น�ำพาตนเองเพื่อเข้าสู่ระบบบริโภคนิยม โดยใช้ระบบอุปถัมภ์ เป็นวังวนคุณภาพของคนในสังคมไม่จบไม่สิ้น
  • 9. อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน 9 การประเมินคุณภาพโรงเรียนจากบุคคลภายนอก (องค์การมหาชน) ก็ตดสินโดย ั ใช้บรรทัดฐานกฎเกณฑ์เดียวกันทั่วทั้งประเทศ แม้โรงเรียนหลายแห่งจะอยู่ในป่าเขา ทีราบ บนเกาะ หรือ ในเมืองทีพร้อมสมบูรณ์ดวยทรัพยากรมากมาย นีคอปรากฏการณ์ที่ ่ ่ ้ ่ื เกิดขึนและเป็นจริงในระบบการศึกษา แนวคิดและวิธการดังกล่าว มีผคนจ�ำนวนไม่นอย ้ ี ู้ ้ ทีพยายามวัดความเป็นมนุษย์โดยเน้นพฤติกรรมทีความดีงาม มีจตสาธารณะ ส�ำคัญกว่า ่ ่ ิ ภาคความรูทได้จากการสอบ แต่เรืองทีดดงกล่าวไม่คอยได้รบการยอมรับจากหน่วยงาน ้ ี่ ่ ่ีั ่ ั และผู้รับผิดชอบ หรือน�ำไปเผยแพร่ขยายผลให้เป็นต้นแบบ ต้นกล้าที่ดีทางการศึกษา อย่างจริงจัง คุณภาพการศึกษา : คุณภาพประชาชน คือ ก�ำลังพลที่รอการพัฒนา การศึกษา สร้างคน คนสร้างชาติ เป็นภารกิจหลักของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชน ซึ่งเป็นความมุ่งหมายของการจัดการศึกษาตามเจตนารมณ์ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ.2545 ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติ ปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการด�ำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วม กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และประการส�ำคัญ คือ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตส�ำหรับ ประชาชน ทีเ่ ปิดโอกาสและให้สงคมมีสวนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างทัวถึงและเสมอ ั ่ ่ ภาค โดยเฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งรัฐจัดให้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย คุณภาพการศึกษาที่สังคมไทยคาดหวัง จุดมุ่งหมายของการศึกษา คือ มุ่งให้ เยาวชนคิดเป็น ท�ำเป็น เรียนรู้อย่างมีความสุขได้เรียนในสิ่งที่ตนสนใจ เรียนรู้ใน โลกกว้างที่มิใช่แต่เพียงในห้องเรียนเท่านั้น แต่ปัญหาที่พบอยู่ในปัจจุบัน คือ นักเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีวิชาเรียนมาก แบกกระเป๋าใบโต จึงขอให้หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องปรับหลักสูตรให้เหมาะสม โดยให้สอดแทรกกิจกรรมดนตรี กีฬา จริยธรรม และวิถชวตประชาธิปไตยให้มากขึน เพือให้นกเรียนได้ปลดปล่อยพลังสมองเรียนรูอย่าง ี ีิ ้ ่ ั ้ มีความสุข สนุกกับการเรียน มีวนย รูจกสิทธิและหน้าทีของการเป็นพลเมืองทีดี และไม่ ิ ั ้ั ่ ่ สนับสนุนให้เด็กไปเรียนกวดวิชา เพราะนอกจากสร้างความเครียดให้แก่นกเรียนแล้ว ยัง ั ท�ำให้ผู้ปกครองเดือดร้อนในด้านค่าเรียนพิเศษ และส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอน ของครูในห้องเรียนอีกด้วย
  • 10. 10 อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน ดังนั้น การปฏิรูปการศึกษา จะส�ำเร็จได้นั้น จะต้องเริ่มที่ชุมชน ต้องวิเคราะห์ ความจ�ำเป็นและความต้องการของชุมชน ให้ชุมชนร่วมกันในการก�ำหนดเป้าหมาย ระบุประเด็นปัญหาให้ชัดเจน ใช้ทรัพยากรเท่าที่จะเป็นหรือเท่าที่ มีอยู่ในชุมชนให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ก�ำหนดแนวทางหรือทางเลือกและวางแผนการ ด�ำเนินงานที่เป็น รูปธรรม สามารถท�ำได้จริง เพือให้สอดคล้องกับระบบการศึกษาทีเ่ ป็น อยูและสอดคล้อง ่ ่ กับวิถชวตนอกชุมชน รวมทังจะต้องปฏิรปการศึกษา กับการปฏิรปการเมืองไปพร้อมๆ ี ีิ ้ ู ู กัน จึงจะท�ำให้การปฏิรูปการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเจริญ ก้าวหน้าสู่ประชาคมอาเซียนและสากลต่อไป
  • 12. 12 อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน แหล่งเรียนรู้แห่งที่ 3 ของโลก “ศูนย์กลางอบรมการศึกษาผู้ใหญ่จังหวัดอุบลราชธานี ” หรือ “ศ.อ.ศ.อ.” มีชอภาษาอังกฤษว่า TUFEC ซึงย่อมาจาก Thailand UNESCO Fundamental Education ื่ Centre เปิดด�ำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 โดยความร่วมมือ ระหว่างรัฐบาลไทย และองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) มีจดมุงหมายเพือท�ำหน้าทีฝกอบรมเจ้าหน้าทีเ่ กียวกับมูลสารศึกษา และให้ ุ ่ ่ ่ึ ่ ความรู้กับประชาชนในภูมิภาคนี้ ที่ส�ำคัญเป็นแหล่งเรียนรู้แห่งที่ 3 ของโลก ซึ่งรัฐบาล ไทย และ UNESCO ได้สร้างพื้นฐานการศึกษาให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้ และองค์ ความรูสำหรับการประกอบอาชีพให้มคณภาพชีวตทีดี เป็นต�ำนาน และสืบสานการศึกษา ้ � ีุ ิ ่ ตามภารกิจ การศึกษานอกระบบ ..รวมถึงการศึกษาตามอัธยาศัย และเปลี่ยนชื่อใหม่ เป็น สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออกเฉียง เหนือ “ศ.อ.ศ.อ.” สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มีเขตพื้นที่รับผิดชอบในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ 20 จังหวัด คือ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย์ บึงกาฬ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร อ�ำนาจเจริญ ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวล�ำภู อุดรธานี และ อุบลราชธานี ..... เมือสงครามโลกครังที่ 2 สินสุดลง องค์การสหประชาชาติ ได้สำรวจดูประชาชน ่ ้ ้ � ทียงไม่รหนังสือทัวโลก ปรากฏว่ามีมากถึง 1,200 ล้านคน UNESCO พิจารณาเห็นว่า การ ่ ั ู้ ่ ให้การศึกษาผูใหญ่ประเภทหลักมูลสารศึกษานีจะช่วยให้ประชาชนได้รบการศึกษาและ ้ ้ ั มีความรู้พอสมควรในอันที่จะยกระดับฐานะ การครองชีวิตในด้านการประกอบอาชีพ การอนามัย การเกษตร การอุตสาหกรรม การขจัดปัญหาต่างๆ เพื่อให้มีชีวิตร่วมอยู่ด้วย กันในสังคมด้วยดี ปี พ.ศ. 2491 องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ได้เริ่มด�ำเนินงานฝึกเจ้า หน้าที่เกี่ยวกับมูลสารศึกษา โดยส่งผู้เชี่ยวชาญไปช่วยประเทศเฮติ จัดตั้งศูนย์กลางมูล สารศึกษาแห่งชาติ และได้รบผลเป็นทีพงพอใจ การประชุมใหญ่ของ UNESCO ครังที่ 6 ั ่ ึ ้ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรังเศส ในปี พ.ศ.2494 มีบรรดาประเทศทีเ่ ป็นสมาชิก 64 ประเทศ ่
  • 13. อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน 13 ซึ่งมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย (มล.ปิ่น มาลากุล ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นหัวหน้า ผู้แทนประเทศไทย) ได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ให้ตั้งศูนย์กลางหลักมูลสารศึกษาขึ้นประจ�ำ ภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลกขึ้น 6 แห่ง คือ 1. กลุ่มละตินอเมริกัน 1 แห่ง 2. กลุ่มอัฟริกากลาง 1 แห่ง 3. กลุ่มประเทศอินเดีย 1 แห่ง 4. กลุ่มภาคตะวันออกกลาง 1 แห่ง และ 5. กลุ่มประเทศตะวันออกไกล 2 แห่ง ศู น ย์ ก ลางการศึ ก ษาหลั ก มู ล ฐานแห่ ง ที่ 1 ของโลกเรี ย กว่ า CREFAL มีชื่อเต็มว่า Centre Regional Education Fundamental American Latin ตั้งขึ้นที่แพทซ์ คัวโร (Patzcuaro) ประเทศเม็กซิโก (Maxico) เริ่มด�ำเนินงานและเปิดเรียน เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 19 เดือน 6 เดือนแรก เป็นการศึกษาที่ ศูนย์กลาง แล้วออกไปปฏิบัติงานในหมู่บ้านเป็นเวลา 10 เดือน และกลับมาปฏิบัติงาน ที่ศูนย์กลางอีก 3 เดือน รับนักศึกษาจาก 9 ประเทศ โดยใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก และไม่มี ความล�ำบากในเรื่องภาษา เพราะทุกประเทศใช้ภาษาสเปน ศูนย์กลางการศึกษาหลักมูลฐานแห่งที่ 2 ของโลกเรียกว่า ASFEC มีชื่อเต็มคือ Arab State Fundamental Education Centre ตั้งขึ้นที่ซิสซ์-เอล-ลายาน (Sirs-el-Layan) ประเทศอียิปต์ (Egype) เริ่มด�ำเนินงานและเปิดเรียนเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2496 ศูนย์กลางแห่งนี้รับนักศึกษาจากกลุ่มประเทศอาหรับ 6 ประเทศ คือ อียิปต์ จอร์แดน อิรัก เลบานอน อารเบีย และซีเรีย ศูนย์กลางแห่งนี้ไม่มีความล�ำบากในเรื่องภาษา เพราะ ทุกประเทศใช้ภาษาอาหรับ ศูนย์กลางการศึกษาหลักมูลฐานแห่งที่ 3 ของโลก คือ ศ.อ.ศ.อ. หรือ TUFEC ซึง ่ ย่อมาจากค�ำว่า Thailand UNESCO Fundamental Education Centre ที่ตั้งขึ้นในจังหวัด อุบลราชธานี ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางอบรมการศึกษาระหว่างชาติประจ�ำภาคอาเซียน ตะวันออก และประเทศต่างๆ ที่อยู่ใกล้เคียง เช่น ลาว เขมร เวียดนาม
  • 14. 14 อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน ประการส� ำ คั ญ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ บั น ทึ ก ไว้ แ ห่ ง ความทรงจ� ำ ของ ประวัตศาสตร์การศึกษาไทย เมือวันที่ 18 พฤศจิกายน 2498 พระบาทสมเด็พระเจ้าอยูหว ิ ่ ่ ั สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยมศูนย์ ฯ แห่งนี้ ยังความปลื้มต่อเหล่าข้าราชการเจ้าหน้าที่ และผู้เข้าร่วมพิธีโดยทั่วกัน สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคตะวันออก เฉียงเหนือ หรือ “ศ.อ.ศ.อ.” ในปัจจุบัน เป็นสถานศึกษาสังกัด ส�ำนักงานส่งเสริมการ ศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รับผิด ชอบการจัดการศึกษาต่อเนื่องจากภารกิจของ “ศูนย์กลางอบรมการศึกษาผู้ใหญ่จังหวัด อุบลราชธานี” “ศ.อ.ศ.อ.” และ“ สถาบัน กศน.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ซึ่งมีบทบาท หน้าที่เปลี่ยนไปตามยุคตามสมัย คือ ภารกิจในยุคแรก (พ.ศ.2497 - พ.ศ. 2505 ) ได้ผลิตสารนิเทศก์ในสาขาวิชาต่าง ๆ 6 หมวด ได้แก่ หมวดเกษตร หมวดอนามัย หมวดการศึกษา หมวดการเรือน หมวด อุตสาหกรรมในหมู่บ้าน หมวดสวัสดิภาพสังคม รวม 7 รุ่น จ�ำนวน 451 คน และอบรม ตามความต้องการของกระทรวงมหาดไทย อาทิ พัฒนากรที่ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาตรี ต�ำรวจตระเวนชายแดน ปลัดอ�ำเภอ ผูนำท้องถิน ก�ำนัน ผูใหญ่บาน รวมทังสิน 1,552 คน ้ � ่ ้ ้ ้ ้ ยุคที่สอง (พ.ศ. 2505 - พ.ศ. 2519 ) ศ.อ.ศ.อ.ได้ปรับเปลี่ยนบทบาทมาเป็นศูนย์ อบรมครูประจ�ำการระดับประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ ครูใหญ่ ครูประจ�ำชั้น ครูประชาบาลจากเขตล่อแหลม ครูท้องถิ่นกันดาร ครูหัวหน้าหมวดวิชา และครูประจ�ำการที่ไม่มีวุฒิ อบรมผู้ใหญ่ชนบท อบรมหลักสูตรวิชาชีพ กลุ่มสนใจ และอบรมผู้ใหญ่ชนบท มีผู้ผ่านการอบรมกว่า 50,000 คน และยังได้ตั้งโรงเรียนประถม ศ.อ.ศ.อ. ตั้งโรงเรียนผู้ใหญ่ ศ.อ.ศ.อ. เพื่อขยายงานด้านการบริการการศึกษาส�ำหรับ ประชาชนทุกระดับอีกด้วย ยุคที่สาม (พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2550 ) กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศจัดตั้งและ เปลี่ยนชื่อ “ศ.อ.ศ.อ.” เป็นศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนประจ�ำภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2519 และเมื่อมีการสถาปนากรมการศึกษานอกโรงเรียนขึ้นวันที่ 24 มีนาคม 2522 ได้เปลี่ยนชื่อสถาบันแห่งนี้อีกครั้งหนึ่งเป็น ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(ศนอ.) “ศ.อ.ศ.อ.” จังหวัดอุบลราธานี เป็นศูนย์พัฒนาการ
  • 15. อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน 15 วิชาการการศึกษานอกโรงเรียน โดยมีจุดเน้นที่ส�ำคัญคือ การวิจัยและพัฒนา การฝึก อบรม การพัฒนาหลักสูตร การผลิตและพัฒนาสื่อ การพัฒนาระบบวัดผลประเมินผล และการพัฒนาเครือข่ายด้านวิชาการ นอกจากความเป็ น มาที่ ที่ ผ ลต่ อ การจั ด การศึ ก ษาและพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ประชาชนดั ง กล่ า วแล้ ว ยั ง มี บุ ค คลส� ำ คั ญ และบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาที่ มี ส ่ ว น ผลั ก ดั น การศึ ก ษาและร่ ว มก่ อ ตั้ ง ศ.อ.ศ.อ. ประกอบด้ ว ย 1. มล.ปิ ่ น มาลากุ ล ผู ้ แ ทนประเทศไทยใน UNESCO และประธานคณะกรรมการบริ ห าร ศ.อ.ศ.อ. 2. นายอภั ย จั น ทวิ ม ล ผอ.ศ.อ.ศ.อ. คนแรก 3. นายเกรี ย ง เอี่ ย มสกุ ล 4. นายประสงค์ รังสิวัฒนะ 5. นายสนิท สุวรรณฑัต 6. นายพินิจ กาญจนะวงศ์ 7. นายเฉลิ ม สุ ข เสริ ม 8. นายประมู ล พลโกษฐ์ 9. นายบุ ญ ทั น ฉลวยศรี 10. นายสงัด สันตะพันธุ์ 11. นายสถาน สุวรรณราช 12. ว่าที่ ร.ต.ณรงศักดิ์ กุลจินต์ 13. ว่าที่ ร.ต.สิน รองโสภา 14. นายจรูญพงษ์ จีระมะกร 15. นายนิคม ทองพิทักษ์ และ 16. นายวราวุธ พยัคฆพงษ์ เป็นผู้อ�ำนวยการสถาบัน ฯ คนปัจจุบัน ส�ำหรับบุคคลที่มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนภารกิจการศึกษาทั้งในระบบ และ นอกระบบ คือ คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา อดีตเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา ขันพืนฐาน (สพฐ.) และเคยด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญ ๆในกระทรวงศึกษาธิการหลายต�ำแหน่ง ้ ้ นอกจากนี้ยังมีผู้เชี่ยวชาญจาก UNESCO และนักวิชาการในประเทศไทย ได้ร่วมด�ำเนิน งานจนภารกิจของ ศ.อ.ศ.อ.บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป็นแหล่งเรียนรู้ของประชาชน ทั้งในประเทศไทยและประเทศต่างๆ มากมาย บัดนี้ ความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ท�ำให้ ศ.อ.ศ.อ.เปลี่ยนไป แต่ไม่ท�ำให้ความมุ่งมั่นตั้งใจของผู้รับผิดชอบการศึกษาของ หยุดนิงอยูกบที่ และยิงมีพลังในการสืบสานพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประชาชนให้มี ่ ่ั ่ ความรู้ คู่คุณธรรม และน�ำประสบการณ์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนสังคมประเทศ ชาติให้เจริญก้าวหน้าต่อไป.
  • 16. ชีวิตครู อรพินท์ ไชยกาล สู่ ... ส.ส.หญิงคนแรกของประเทศไทย
  • 17. อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน 17 ชีวิตครูสู่ ส.ส.หญิงคนแรกของประเทศไทย การเมืองการปกครองของประเทศไทย มีเหตุการณ์ที่ควรจดจ�ำและยกเป็นแบบ อย่างหลังมีการเลือกตัง ส.ส. และบทบาทโดดเด่นทีสดในยุคประชาธิปไตย คือ ผูหญิงเก่ง ดี ้ ่ ุ ้ มีความสามารถ ชาวอุบลราชธานี ได้รับเลือกตั้งให้เป็น ส.ส. และเป็น ส.ส.หญิงคนแรก ของจังหวัดอุบลราชธานี เป็น ส.ส.หญิงคนแรกของประเทศไทย ได้รับเลือกตั้งให้เป็น ส.ส.อุบลราชธานี มีคะแนนสูงสุดระดับประเทศ และได้เป็นส.ส. ถึง 3 สมัย ส.ส. อรพินท์ ไชยกาล เป็นผูหญิงคนเดียวคนแรกในยุคมีการเลือกตัง และได้เป็น ้ ้ ส.ส.นับเป็นเกียรติประวัตสำคัญของการเมืองไทยให้สตรีไทยได้เรียนรู้ และมีผหญิงไทย ิ � ู้ หลายคนได้เจริญรอยตามสร้างบทบาทให้สตรีไทยได้กาวสูสภา และได้รบการยอมรับให้ ้ ่ ั ท�ำหน้าที่ฝ่ายบริหารได้เป็นรัฐมนตรี หลายกระทรวงในคณะรัฐบาลชุดต่างๆ ความภาคภูมิใจของชาวอุบลราชธานี และคุณูปการที่ ส.ส. อรพินท์ ไชยกาล ได้ ท�ำหน้าทีกอนเป็น ส.ส. และการเป็น ส.ส.อุบลราชธานี นักการเมือง และประชาชนชาว ่่ อุบลราชธานี สมควรทีอนุชนรุนหลังจะได้เรียนรูและน�ำไปเป็นแบบอย่าง จึงขออนุญาต ่ ่ ้ น�ำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องและสาระส�ำคัญในการท�ำหน้าที่ ส.ส.ของ อรพินท์ ไชยกาล เพื่อทราบโดยสังเขป ดังนี้ ส.ส. อรพินท์ ไชยกาล เกิดวันศุกร์ที่ ๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๔๗ เป็นบุตรของคุณ พ่อแก้ว และคุณแม่คูณ คุณิตะสิน คหบดีคุ้มบ้านเหนือ ในเมืองอุบลราชธานี จบการศึกษาชันมัธยมปีที่ ๖ จากโรงเรียนนารีนกล จบประกาศนียบัตรครูประถม ้ ุู (ปป) โรงเรียนฝึกหัดครูสตรีเบญจมราชาลัย กรุงเทพฯ ซึงเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูสตรีแห่ง ่ แรกของประเทศไทย เป็นนักเรียนทุนมณฑลอุบล นางสาวอรพินท์ คุณิตะสิน ได้สมรสกับ นายเลียง ไชยกาล และเป็นสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี การรับราชการ หลังจบการศึกษาประกาศนียบัตรครูประถมแล้ว บรรจุเป็น ครูโรงเรียนนารีนุกูล ปี ๒๔๖๗ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นครูใหญ่โรงเรียนนารีนุกูลในปี
  • 18. 18 อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน เดียวกัน เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดครู (สตรี) อุบลราชธานี เมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๙ นางอรพินท์ ไชยกาล ได้รับความไว้วางใจให้ด�ำรงต�ำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครู สตรีคนแรกอีกด้วย ภายหลังโรงเรียนฝึกหัดครูสตรีได้ยุบรวมกับโรงเรียนฝึกหัดครูชาย เมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๙ ในปี พ.ศ.๒๔๙๒ นางอรพินท์ ไชยกาล ได้รบเลือกตังเป็นสภาผูแทนราษฎร (สส.) ั ้ ้ จังหวัดอุบลราชธานีนับเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของประเทศไทย ได้ รับเป็นคะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ และได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้ แทนราษฎร ๓ สมัย เป็นสตรีเก่งและดี มีความพร้อม มีความเมตตา เสียสละ ได้รบความ ั ไว้วางใจให้เป็นเป็นกรรมการอ�ำนวยการสตรีแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๐๔-๒๕๐๖ เป็นนายก สมาคมเบญจมราชาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ และได้ชวยเหลืองานสังคมสงเคราะห์และ ่ งานสาธารณกุศลต่างๆ มากมาย มีอุดมคติประจ�ำใจ ๓ ข้อ คือ มีความเมตตา มีความเสียสละ และมีความบริสุทธิ์ ใจ และปฏิบตตามอมตพจน์ของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสโส) องค์ปฐมสังฆนายก ัิ ฺ แห่งประเทศไทย ที่ว่า “โง่ไม่เป็น เป็นใหญ่ยาก” สมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้ เป็นผูหญิงเก่งในศตวรรษของชาวอุบลราชธานี และ ต้นแบบ ส.ส.หญิงแห่งประเทศไทย ้
  • 20. 20 อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน ต้นแบบแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต จังหวัดอุบลราชธานี จัดงาน ประเพณีแห่เทียนพรรษา สืบสาน ภูมปญญา มรดก ิ ั ล�้ำค่าของเมืองอุบลฯ โดยการหลอมใจ หลอมบุญ และหลอมเทียน ถวายเป็นพุทธบูชา และ มีพิธีอัญเชิญเทียนพระราชทานที่ยิ่งใหญ่ การจัดงานประเพณีในเทศกาลเข้าพรรษา มีกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวได้ร่วม ชื่นชม ซึ่งจังหวัดอุบลราชธานีร่วมกับทุกภาคส่วนจัดงานประเพณีที่ส�ำคัญของจังหวัด มีการประชาสัมพันธ์ให้นักท่องเที่ยวทั่วโลก ได้มาเที่ยวชมความงดงามของประเพณี วัฒนธรรมในงานแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี นอกจากจะได้ชมความสวยงาม ในงานประเพณีแห่เทียนพรรษาแล้ว จังหวัดอุบลราชธานี ยังมีแหล่งท่องเที่ยว สถานที่ ส�ำคัญทั้งด้านธรรมชาติ และธรรมะให้ประชาชนที่มาเที่ยวงานได้เยี่ยมชม และยังได้จัด อ�ำนวยความสะดวกเรื่องที่พัก อาหาร ของที่ระลึก และความปลอดภัยในการเดินทางสู่ อุบลราชธานี ความส�ำคัญที่ประชาชนชาวไทย และชาวอุบลราชธานี มีความภาคภูมิใจยิ่ง คือ เทียนพรรษาพระราชทาน นับตังแต่ ปี พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา จังหวัดอุบลราชธานี ได้กราบ ้ บังคมทูลขอพระราชทานเทียนพรรษา และก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน ตลอดมา ซึ่งเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุด มิได้และเป็นทีปลาบปลืมปิตของหมูพสกนิกรชาวอุบลราชธานีอย่างยิง งานประเพณีแห่ ่ ้ ิ ่ ่ เทียนพรรษาอุบลราชธานี ด�ำเนินงานแบบมีสวนร่วมมาตลอด จะเห็นได้วาองค์กรด�ำเนิน ่ ่ การหลักๆ ประกอบด้วยภาครัฐอันได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี ส่วนราชการสถาบันการ ศึกษาต่างๆ และรัฐวิสาหกิจการท่องเทียวแห่งประเทศไทย และภาคเอกชน คุมวัดต่างๆ ่ ้ หอการค้าจังหวัด ชมรม มูลนิธิ สมาคม และธุรกิจต่างๆ ยึดหลัก การมีสวนในการปฏิบติ ่ ั งานร่วมกันในลักษณะเครือข่ายเครือญาติทางวัฒนธรรม โดยการหลอมเทียน หลอมใจ และหลอมบุญ เปรียบเสมือนการหลอมจิตใจของคนในชุมชนให้เป็นหนึ่งเดียว ยึดมั่น และศรัทธาในพระพุทธศาสนา ซึ่งน�ำมาซึ่งความมั่นคงของชาติสืบไป
  • 21. อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน 21 ในเทศกาลงานบุญเข้าพรรษา ตามหลักของศาสนาพุทธ นับตั้งแต่วันแรม 1 ค�่ำ เดือน 8 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 11 รวมระยะเวลา 3 เดือนเต็ม ที่พระสงฆ์สาวก ของพระพุทธเจ้าจะต้องหยุดจาริกแสวงบุญ เพื่อจะได้ไม่ไปเหยียบข้าวกล้าในนาของ ชาวบ้านให้เกิดความเสียหาย จึงได้มีพุทธบัญญัติให้พระสงฆ์ ท�ำพิธีปวารณาเข้าอยู่จ�ำ พรรษา ณ อาวาส แห่งใดแห่งหนึ่งตลอดไตรมาสและในโอกาสนี้นี่เองพุทธศาสนิกชน ต่างก็จัดหาดอกไม้ ธูปเทียน ผ้าอาบน�้ำฝน ตลอดจนเครื่องปัจจัยไทยทานน�ำไปถวาย พระภิกษุสามเณร ที่ตั้งมั่นจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดใกล้บ้านของตน ในสิ่งที่ขาดไม่ได้กับการ จ�ำพรรษาของพระสงฆ์ คือ “เทียน” เพราะเทียนมีประโยชน์ส�ำหรับจุดไฟให้เกิดแสง สว่าง และสิงส�ำคัญ คือ พระสงฆ์จะใช้เทียนจุดบูชาพระพุทธรูป อันเป็นสัญลักษณ์แทน ่ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และใช้แสงสว่างเพื่อการบ�ำเพ็ญเพียรการศึกษาหาความรู้ การจัดงานประเพณีแห่เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี เป็นการแสดงออกทาง วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของชาวพุทธศาสนิกชนคนไทยทุกหมู่เหล่า มีการสืบสาน งานบุญให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ทางศิลปะ โดยการแกะสลักหรือติดพิมพ์เป็นลวดลายที่งดงามลงในต้นเทียน รวมทั้ง การแสดงร่ายร�ำในขบวนแห่ของชาวคุมวัดต่างๆ ด้วยความรัก ความสามัคคีและเป็นการ ้ หลอมรวมดวงใจในการสร้างเทียนพรรษาเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาอย่างต่อเนื่องทุกปี นั บ ว่ า เป็ น ประเพณี ส� ำ คั ญ และเป็ น มรดกที่ ล�้ ำ ค่ า ของชาวอุ บ ลราชธานี ที่ สื บ สาน วิวัฒนาการให้เจริญก้าวหน้าได้ยั่งยืนอย่างแท้จริง
  • 23. อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน 23 ภูมิพลัง.....สร้างคนเมืองอุบล ชาวอุบลราชธานี และศิษย์เก่าโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช รวมทังประชาชนและ ้ ผูเ้ กียวข้องทุกภาคส่วนต่างมีความชืนชมยินดีในโอกาสที่ มรดกล�ำค่าของชาติ คือ อาคาร ่ ่ ้ เรียนโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชหลังที่ 2 ได้รบรางวัลอนุรกษ์ศลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น ั ั ิ ประจ�ำปี พ.ศ.2554 จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในงานสถาปนิก สยาม 54 ระหว่างวันที่ 8 - 13 กุมภาพันธ์ 2554 รางวัล ประเภท อาคารสถาบันและอาคาร สาธารณะ อาคารพาณิชย์ ทีตง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สถาปนิก/ ่ ั้ ผูออกแบบ พระสาโรจน์รตนนิมมาน สถาปนิกประจ�ำกระทรวงศึกษาธิการ ผูครอบครอง ้ ั ้ ส�ำนักงานจังหวัดอุบลราชธานี ปีที่สร้าง พ.ศ. 2476 -2477 ประวัติและความเป็นมา โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เป็นโรงเรียนที่แยกมาจาก โรงเรียนอุบลวิทยาคม ในปี พ.ศ. 2458 เนื่องจากโรงเรียนอุบลวิทยาคมซึ่งก่อตั้งขึ้น ในปี พ.ศ. 2439 โดยเปิดการเรียน การสอน ณ วัดสุปัฏนารามวรวิหาร มีจ�ำนวนนักเรียน มากขึ้นท�ำให้โรงเรียนคับแคบและช�ำรุดทรุดโทรม โรงเรียนใหม่นี้ตั้งอยู่ ณ บริเวณมุม ทุ่งศรีเมืองด้านตะวันออก และได้รับประทานนามโรงเรียนจากกรมหลวงพิษณุโลก
  • 24. 24 อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน ประชานาถ ว่า “โรงเรียนตัวอย่างประจ�ำมณฑลอุบลราชธานีเบ็ญจะมะมหาราช” เพื่อเป็นอนุสรณ์ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยได้ ทรงออกใบประกาศตั้งนามโรงเรียนให้ไว้เป็นส�ำคัญ ซึ่งโรงเรียนได้ใส่กรอบเก็บรักษา ไว้จนกระทั่งบัดนี้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2476 ทางจังหวัดได้รับงบประมาณ 4 หมื่นเศษ เพือสร้างอาคารเรียนโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชหลังที2 ขึน ในบริเวณทิศตะวันตกของ ่ ่ ้ ทุงศรีเมือง เนืองจากอาคารเรียนหลังแรกของโรงเรียนไม่สามารถรองรับจ�ำนวนนักเรียน ่ ่ ทีเ่ พิมมากขึนได้ โดยอาคารหลังนีกอสร้างเป็นอาคารไม้สองชันจ�ำนวน 20 ห้อง ประกอบ ่ ้ ้่ ้ พิธีเปิดอาคารเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2478 อาคารเรียนโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชหลังที่ 2 เป็นอาคารสองชั้นทรงมะนิลา มีพื้นที่ใช้สอย 2,376 ตารางเมตร หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ตั้งอยู่บนฐานที่ก่อ ด้วยซีเมนต์ ด้านหน้ามีมุข 3 มุข เรียงกัน หลังคามุงด้วยกระเบื้อง อาคารหลังนี้สร้าง ด้วยไม้สักทั้งหลัง ทั้งพื้นเข้าลิ้น เพดาน ฝาผนัง ประตู หน้าต่าง ชั้นล่างประกอบด้วย ห้องพักครู ห้องครูใหญ่ ห้องธุรการ และห้องเรียน ส่วนชันบนประกอบด้วย ห้องประชุม ้ ห้องสมุด และห้องเรียน หลังจากที่โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชได้ย้ายโรงเรียนไปตั้งอยู่ ณ บ้านท่าวังหิน ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงเรียนในปัจจุบัน ในปี พ.ศ.2513 อาคารเรียนหลังนี้ ได้มีการใช้งานมาอย่างต่อเนื่องโดยส่วนราชการต่างๆ ของจังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่ สัสดีจังหวัด ส�ำนักงานธนารักษ์จังหวัด ส�ำนักงานสถิติจังหวัด และส�ำนักงานพัฒนา อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จนกระทังในปี พ.ศ. 2543 ได้มการย้ายส่วนราชการออกทังหมด ่ ี ้ โดยบางส่วนของอาคารยังคงใช้เป็นสถานทีเ่ ก็บพัสดุ ปัจจุบนอยูในความรับผิดชอบดูแล ั ่ โดยส�ำนักงานจังหวัดอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2545 กรมศิลปากรได้ประกาศให้อาคาร หลังนี้เป็นโบราณสถาน ต่อมาเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2545 คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดระบบ ศูนย์ราชการได้มีมติเห็นชอบให้ใช้แผนการใช้ที่ดินของหน่วยงานของรัฐซึ่งก�ำหนดให้ ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารและให้เป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์ด้านชาติพันธุ์และวัฒนธรรม ท้องถิ่น โดยต้องใช้หลักการซ่อมแซมบูรณะในแนวทางอนุรักษ์สถาปัตยกรรมที่ ถูกต้อง ทางจังหวัดโดย นายสุธี มากบุญ ผู้ว่าราชการจังหวัดในขณะนั้น และสมาคม ศิ ษ ย์ เ ก่ า โรงเรี ย นเบ็ ญ จะมะมหาราชจึ ง ได้ พิ จ ารณาเห็ น คุ ณ ค่ า ของอาคารเรี ย น
  • 25. อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน 25 โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชหลังที่ ๒ และขออนุญาตกรมศิลปากรให้ด�ำเนินการบูรณะ ตามหนังสือจากศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี ลงวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2549 โดย กรมศิลปากรได้เริ่มด�ำเนินการบูรณะอาคารในปี พ.ศ.2551 แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2553 ปัจจุบันอาคารหลังนี้ก�ำลังอยู่ในระหว่างการด�ำเนินการ เพื่อจัดตั้งเป็น พิพิธภัณฑ์เมือง อุบลราชธานี โดยกรมศิลปากร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เบ็ญจะมะมหาราชสมาคม และภูมิพลังเมืองอุบลราชธานี หมายเหตุ ขอขอบคุณนายสุวชช คูณผล ปราชญ์เมืองอุบล ผูเ้ กียวข้อง อนุเคราะห์ ิ ่ ประวัติและข้อมูล ครูประพัฒน์ สิงห์สุทธิ์ อนุเคราะห์ภาพอาคารเก่า
  • 27. อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน 27 อุบลราชธานี เมืองประวัติศาสตร์....สู่มรดกโลก จังหวัดอุบลราชธานีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดประชุมสัมมนาเสนอ หลักฐานทางประวัติศาสตร์เพื่อจัดท�ำทะเบียนเอกสารมรดกแห่งความทรงจ�ำแห่งชาติ น�ำโดยศาสตราจารย์ ดร.ประเสิฐ ณ นคร ศาสตราจารย์แม้นมาศ ชวลิต ประธาน คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยแผนงานความทรงจ�ำแห่งโลก ดร.ม.ร.ว.รุจยา อาภากร ดร.ประจั ก ษ์ วั ฒ นานุ ศิ ษ ย์ นางสาวิ ต รี สุ ว รรณสถิ ต นายอวยชั ย เกิ ด ช่ ว ย นางกนิ ศ ฐา กสิ ณ อุ บ ล นายช� ำ นาญ ภู ม ลี นายมนั ส สุ ข สาย รศ.วุ ฒิ ชั ย มู ล ศิ ล ป์ นายวิมล ปิงเมืองเหล็ก นายหมิว ศาลางาม นางก่องแก้ว วีระประจักษ์ ร่วมเสวนา โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิในจังหวัดอุบลราชธานี คือ นายระลึก ธานี ได้บรรยาย เรื่องเมืองอุบล ความเป็ น ทาทางประวั ติ ส าสตร์ และได้ รั บ เกี ย รติ จ ากศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ เช่ น นางฉวี ว รรณ ด� ำ เนิ น ป.ฉลาดน้ อ ย ส่ ง เสริ ม นภดล ดวงพร ทองใส ทั บ ถนน ร่วมประชุมพร้อมหัวหน้าส่วนราชการ และนักประวัติศาสตร์ภูมิพลังเมืองอุบล ฯ ซึ่งมี นายสุรพล สายพันธ์ ผวจ.อุบลราชธานี ร่วมสืบสานงานส�ำคัญครังนี้ นอกจากการสัมมนา ้
  • 28. 28 อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน และเสนอข้อมูลเพื่อขึ้นทะเบียนแล้ว ยังได้น�ำคณะศึกษาดูงานแหล่งประวัติศาสตร์ที่ วัดทุ่งศรีเมือง วัดสุปัฏนารามวรวิหาร และบ้านค�ำผ่อง สุขสาย เพื่อเป็นการสืบค้นและ ประกอบในการขึนทะเบียนเอกสารมรดกความทรงจ�ำแห่งชาติ และแห่งโลกตามล�ำดับ ้ ส� ำ หรั บ สาระส� ำ คั ญ และความเป็ น มา ขอน� ำ เรี ย นเพื่ อ ทราบโดยย่ อ ดั ง นี้ มรดกความทรงจ�ำแห่งโลก (Memory of the World) ประเทศไทย องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก พิจารณาเห็นควรว่าความรู้ ความคิด ประสบการณ์ จินตนาการ เรืองราว ของมนุษย์ทมเี ชือชาติ ภาษา ขนบธรรมเนียม ่ ี่ ้ ประเพณี แ ตกต่ า งกั น กระจายอยู ่ ใ นดิ น แดนต่ า งๆ ทั่ ว โลก ที่ ม นุ ษ ย์ ไ ด้ ร ่ ว มกั น โดยมิได้ตั้งใจสร้างสรรค์ภูมิปัญญาให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรมด้วยการบันทึกเป็นภาพ ลายลักษณ์อักษร เสียง ลงในวัสดุต่างๆ เพื่อกันลืม และเพื่อถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้รับทราบ สืบต่อกันไป เช่นหนังสือทีเ่ ขียนด้วยมือบนกระดาษ ใบไม้ สกัดอักษรลงบนโสตทัศน์วสดุ ั บนแผ่นฟิล์มและแถบเสียง วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ดิสเก็ต ซีดีรอม มัลติมิเดียและ ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ รวมกันเป็นเอกสารมรดกความทรงจ�ำ เป็นเครื่องบ่งชี้ให้ทราบ ถึงอารยธรรมของมนุษยชาติ แต่วัสดุเหล่านี้ส่วนมากแล้วไม่ทนต่อสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ เหตุการณ์ทางธรรมชาติเช่นแผ่นดินไหว น�้ำท่วม ความชื้น ฝุ่นละออง แสงแดด หนู ปลวก มอด แมลง และฝีมือมนุษย์ที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ ฯลฯ จึงท�ำให้ อารยธรรมด้นเอกสารมรดกความทรงจ�ำของมนุษย์จึงถูกท�ำลายลงอย่างมากสมควรที่ ประเทศต่างๆ ต้องร่วมมือกันปกป้องรักษาเอกสารมรดกที่เหลืออยู่ในปัจจุบันทั้งวัสดุ บันทึกและเนื้อหาอย่างยิ่งยืนยาวนานตั้งแต่ปัจจุบันจนถึงอนาคต ส่วนที่เป็นเนื้อหา ก็ควรเผยแพร่ให้ทราบและใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ที่ประชุมสมัยสามัญประจ�ำปี พ.ศ.2535 ของยูเนสโก จึงมีมติให้จัดตั้งแผนงานความทรงจ�ำแห่งโลก (Memory of the World Program) หรือมีช่อย่อว่า MOW ขึ้นภายใต้โครงการใหญ่ด้านสื่อสารมวลชน หรือ Communication and Information ที่ประเทศไทยส่วนร่วมในการด�ำเนินงาน มาตั้งแต่ต้น กล่าวคือเมื่อปี พ.ศ.2538 คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษาวิทยา ศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ของประเทศไทยจึงได้เสนอให้ศาสตราจารย์ พิเศษคุณหญิงแม้นมาส ชวลิต เป็นกรรมการที่ปรึกษาระหว่างประเทศว่าด้วยแผนงาน ความทรงจ�ำแห่งโลก โดยเป็นกรรมการสองวาระ คือ พ.ศ.2538-2539 และ พ.ศ.2540-
  • 29. อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน 29 2541 ได้เดินทางไปร่วมประชุมที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส หนึ่งครั้ง ที่เมือง แดนซ์ ประเทศโปแลนด์ หนึ่งครั้ง หลักฐานส�ำคัญในจังหวัดอุบลราชธานี ที่เสนอขึ้นทะเบียน คือ จารึกจังหวัด อุบลราชธานี กล่าว ว่า จังหวัดอุบลราชธานีอยูในแหล่งทีมความส�ำคัญทางประวัตศาสตร์ ่ ่ ี ิ มาตั้งแต่สมัยโบราณ สมัยก่อนประวัติศาสตร์มีหลักฐานให้เห็นว่ามีผู้คนอาศัยอยู่ ในยุค เป็นสังคมผู้ล่าสัตว์ ต่อมาจนถึงสมัยที่ผู้คนมีอาชีพทางเกษตรกรรม ในพุทธศตวรรษ ที่ 12-13 พื้นที่บางส่วนของจังหวัดอยู่ภายใต้อิทธิพล ของอาณาจักรเจนละดังปรากฏ ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรร่ ว มสมั ย ของอาณาจั ก รเจนละซึ่ ง แสดงว่ า เจ้ า ของพื้ น ที่ ดั้ ง เดิ ม เป็นกลุ่มคนที่พูดภาษามอญ เขมร และเป็นชุมชนเกษตรกรรม อาศัยความคิดทางการ เมือง และปรัชญาของอินเดีย ต่อมาปลายพุทธศตวรรษ ที่ 12-13 ภายใต้วฒนธรรมของทวารวดี ซึงมีวฒนธรรม ั ่ ั ทางพระพุทธ-ศาสนาของอินเดีย เป็นพื้นฐาน ดังปรากฏหลักฐานเป็นพระพุทธรูปและ ใบเสมา ภายใต้วัฒนธรรมเจนละสมัยเมืองพระนคร ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15-18 ปรากฏจารึกหลายหลักในจังหวัดอุบลราชธานี นอกจากนีภาพถ่ายทางอากาศยังแสดงถึง ้ ร่องรอยของชุมชนโบราณทางตอนเหนือ ของจังหวัดอุบลราชธานี เช่น การสร้างนาราย และคูนำคันดินต่อมาชุมชนทีพดภาษาตระกูลไทยลาวจึงครองอ�ำนาจเหนือพืนทีบริเวณ �้ ่ ู ้ ่ นี้ สมัยรัตนโกสินทร์ต่อเนื่องมาจากสมัยกรุงธนบุรีพระวอ พระตา ขัดแย้งกับ กษัตริยประเทศลาว มาขอความช่วยเหลือจากพระเจ้าตาก และได้สถาปนาเมืองอุบลขึน ์ ้ แต่หลักฐานมีน้อยและขัดแย้งกันอยู่ เช่น พระวอ พระตาเป็นเจ้านายหรือคนธรรมดา สองคนนี้เป็นพี่น้องกันหรือว่าพระวอ พระตาเป็นบุตรของพระตา เรื่องนี้ น�ำมาจากหนังสือ “วัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดอุบลราชธานี” ซึ่งจังหวัดอุบลราชธานีได้จัดท�ำขึ้นโดยคณะ กรรมการฝ่ายประมวล เอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอ�ำนวยการอ�ำนวย การจังหวัด งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ 5 ธันวาคม 2542 สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม 15 ได้ก�ำหนดเวลาครองเมือง ของ เจ้าเมืองอุบลราชธานีไว้ตามหลักฐานจดหมายเหตุทางราชการ ที่ปรากฏอยู่ดังนี้
  • 30. 30 อุบลราชธานีเมืองแห่งการเรียนรู้สู่เด็กและเยาวชน 1. พระปทุมวรราชสุริยวงษ์ (ค�ำผง) ผู้สร้างเมืองอุบลคนแรก พ.ศ.2321-2338 ครองอุบลวันจันทร์ เดือน 8 แรม13 ค�่ำ ตรงกับ 12 กรกฎาคม พ.ศ.2335 ถึง 2338 2. พระพรหมราชสุริวงศา (ท้าวทิดพรหม) พ.ศ.2338-2338 เมืองสร้างไป 5 ปี 3. สุ่ย ลูกของพระพรหมราชสุริวงศา ครองเมือง 7 วัน ตาย 4. พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (กุทอง) พ.ศ.2388-2403 5. เจ้าพระยาเทวานะเคราะห์ พ.ศ.2406-2429 หลักฐานเอกสารในจังหวัดอุบลราชธานี ก�ำลังได้รับการขับเคลื่อนให้เป็นความ รู้ระดับโลก ขอขอบคุณหอจดหมายเหตุแห่งชาติฯ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวง ศึกษาธิการ และนักประวัติศาสตร์ทุกท่าน ที่จัดประชุมสัมมนา รวมไปถึงนักปราชญ์ เมืองอุบลราชธานี ที่ได้ด�ำเนินการสืบสานมรดกล�้ำค่าในจังหวัดอุบลราชธานี และใน ภูมภาคนีให้อนุชนรุนหลังได้มความเข้าใจ และเป็นองค์ความรูทจะน�ำไปขยายผลให้เกิด ิ ้ ่ ี ้ ี่ ความภาคภูมิใจของความเป็นชาติต่อไป