SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
เปิดหน้าต่อไป แนะนำผู้จัดทำ วิทยานิพนธ์ การพัฒนาชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2   A  Development  of  the Mathematics  Learning  Packages  Based on Constructivism  Approach Entitled  Ratio and Percent  for  Mathayom  Suksa 2 Students   คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ดร . มาลี  ศรีพรหม  ประธานกรรมการ อ . ศรีจันทร์  ทานะขันธุ์  กรรมการ
ชื่อ  นางมัณฑณา  นามวิชิต สาขา  หลักสูตรและการสอน  รหัส  492B93123 กลับหน้าแรก ข้อมูลผู้วิจัย เปิดหน้าต่อไป
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เปิดหน้าต่อไป กลับหน้าแรก
ภูมิหลัง  ( ต่อ ) คณิตศาสตร์จัดว่าเป็นศาสตร์ที่สำคัญ และมีบทบาทศาสตร์หนึ่ง  ซึ่งมีประโยชน์ ในแง่การศึกษาและการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน  อีกทั้งยังช่วยพัฒนาคนให้รู้จัก คิดอย่างมีเหตุผล มีระเบียบ มีขั้นตอนในการคิด  ทำให้นักเรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์  มีจินตนาการ  สามารถแก้ปัญหาได้   แต่จากรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น  ของกรมวิชาการ  พบว่าคุณภาพการศึกษาของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นมีคะแนนเฉลี่ยในวิชาคณิตศาสตร์ต่ำกว่าร้อยละ  50  และจากการวัดผล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนประจำปีของโรงเรียนโพนพิทยาคม  ปรากฏว่า นักเรียนขาดความสามารถในการคิดวิเคราะห์  ไม่สามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง   จากเหตุผลดังกล่าวมาข้างต้น  ผู้วิจัยในฐานะเป็นครูผู้รับผิดชอบสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  จึงได้ศึกษาค้นคว้าและพัฒนาชุดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  ขึ้น  เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนากระบวนการเรียน การสอน  ที่จะทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและยังสามารถ สร้างองค์ความรู้นำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาได้ ปัญหาการวิจัย
1.  ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียน  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  มีลักษณะและองค์ประกอบอย่างไร  และ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  75/75  หรือไม่   2.   ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วย  ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียน  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนหรือไม่ 3.  เจตคติของนักเรียนต่อกิจกรรมการเรียนการสอนด้วย ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียน  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  เป็นอย่างไร ความมุ่งหมายของการวิจัย กลับหน้าแรก กลับไปก่อนหน้านี้ ปัญหาการวิจัย
[object Object],[object Object],[object Object],ความมุ่งหมายของการวิจัย สมมติฐานการวิจัย กลับหน้าแรก กลับไปก่อนหน้านี้
ความสำคัญของการวิจัย สมมติฐานการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],กลับหน้าแรก กลับไปก่อนหน้านี้
ความสำคัญของการวิจัย 1.  ได้ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิด การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  75/75  สามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน  เพื่อพัฒนาการสร้างองค์ความรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนได้  2.  เป็นแนวทางการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาชุดการเรียนรู้ในเนื้อหา  และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ในระดับชั้นต่าง  ๆ  ต่อไป ขอบเขตการวิจัย กลับหน้าแรก กลับไปก่อนหน้านี้
ขอบเขตการวิจัย ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ได้แก่  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  ภาคเรียนที่   1  ปีการศึกษา  2551  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร   เขต  1  กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2/1  ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2551  โรงเรียนโพนพิทยาคม  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต  1  ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจง  จำนวน  1  ห้อง จำนวน   30  คน  เนื่องจาก การจัดชั้นเรียนของโรงเรียนโพนพิทยาคม   เป็นการจัดชั้นเรียนแบบคละชั้น  คือแต่ละห้อง  ประกอบด้วยนักเรียน  เก่ง  ปานกลาง  และ  อ่อน ขอบเขตการวิจัย ( ต่อ ) กลับหน้าแรก กลับไปก่อนหน้านี้
ขอบเขตการวิจัย เนื้อหา   เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้  คือ  เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์  ค  3210 1   ปีที่  2  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2551 ระยะเวลา  ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ  ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2551  ใช้เวลาจำนวนทั้งสิ้น  6  สัปดาห์   ๆ ละ  3   ชั่วโมง ตัวแปรที่ศึกษา   ตัวแปรอิสระ ได้แก่  ชุดการเรียนรู้   ตัวแปรตาม  ได้แก่  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  และเจตคติของนักเรียน   กลับหน้าแรก สถิติที่ใช้ในการวิจัย กลับไปก่อนหน้านี้
สถิติที่ใช้ในการวิจัย กลับหน้าแรก แบบแผนของการวิจัย กลับไปก่อนหน้านี้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้หาคุณภาพเครื่องมือ 1 .  สถิติพื้นฐาน  -  ค่าเฉลี่ย  -  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ( S.D. ) -  ร้อยละ  (Percent) 2.  สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน  เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียนใช้ค่าสถิติ  t-test  ( Dependent Samples )   1.  หาค่าความเที่ยงตรง  ( Validity )  ของแบบทดสอบวัดผล  สัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยวิธี  IOC  2.  หาค่าความยากง่าย  ( Difficulty )  และค่าอำนาจจำแนก ( Discrimination )  ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 3.  หาความเชื่อมั่น  ( Reliability )  ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ โดยใช้วิธี  KR 20  โดยวิธีของ  Kuder - Richardson
กลับหน้าแรก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย กลับไปก่อนหน้านี้ ทดลองแบบ  One Group Pretest-Posttest  Design   แบบแผนที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี  4   ประเภท คือ 1.  แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ 2.  ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2 3.  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.  แบบวัดเจตคติต่อกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยชุดการเรียนรู้ กลับหน้าแรก วิธีการดำเนินการวิจัย กลับไปก่อนหน้านี้
ตอนที่  1  ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน   ตอนที่  2  การสร้างเครื่องมือในการวิจัย ตอนที่  3  การดำเนินการทดลองใช้ชุดการเรียนรู้ ตอนที่  4   การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล   มีขั้นตอนการดำเนินการวิจัย  4   ขั้น ตอนดังนี้ วิธีการดำเนินการวิจัย กลับหน้าแรก ผลการวิเคราะห์ข้อมูล กลับไปก่อนหน้านี้
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล กลับหน้าแรก กลับไปก่อนหน้านี้ ตอนที่  1  วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้   ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถสรุปเป็น  3   ตอนดังนี้ ตอนที่  2  การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน   ตอนที่  3  วิเคราะห์เจตคติของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยชุดการเรียนรู้
ตอนที่  1  วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้   ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิด การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  มีประสิทธิภาพเท่ากับ   79.93 / 81.24  สูงกว่าเกณฑ์  75 / 75   ที่กำหนด กลับหน้าแรก หน้าต่อไป กลับไปก่อนหน้านี้ สรุปผลการวิจัย
ตอนที่  2  การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน   ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2   หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ  .01 กลับหน้าแรก สรุปผลการวิจัย หน้าต่อไป กลับไปก่อนหน้านี้
สรุปผลการวิจัย เจตคติของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยชุดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  มีค่าเฉลี่ยรวม   เท่ากับ  4. 55   และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ  0. 50   ซึ่งหมายความว่านักเรียนมีเจตคติต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยชุดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับดีมาก  ซึ่งสูงกว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้   กลับหน้าแรก ตอนที่  3  วิเคราะห์เจตคติของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยชุดการเรียนรู้   หน้าต่อไป กลับไปก่อนหน้านี้
อภิปรายผล กลับหน้าแรก กลับไปก่อนหน้านี้ ตอนที่  1  ผลวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้   การอภิปรายผล  สามารถสรุปเป็น  3   ตอนดังนี้ ตอนที่  2  ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน   ตอนที่  3  ผลวิเคราะห์เจตคติของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้
ตอนที่  1  วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  ตามเกณฑ์  75/75   ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  มีประสิทธิภาพ  79.93 / 81.24  หมายความว่า นักเรียนได้คะแนนจากการประเมินผลระหว่างการเรียนรู้จากการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้ ในแต่ละชุดการเรียนรู้  ทั้ง  5   ชุด  คิดเป็นร้อยละ  79.93  และนักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยจาก การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนคิดเป็นร้อยละ  81.24  แสดงว่า ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2   ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ สูงกว่าเกณฑ์  75 / 75   อภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูล กลับหน้าแรก หน้าต่อไป กลับไปก่อนหน้านี้
ตอนที่  2  การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียนด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง   สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2   มีคะแนนเฉลี่ย  เท่ากับ  16.90  จากคะแนนเต็ม  35   คะแนน  และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ  28.43  จากคะแนนเต็ม  35   คะแนน แสดงให้เห็นว่านักเรียนที่เรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง   สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ กลับหน้าแรก อภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูล หน้าต่อไป กลับไปก่อนหน้านี้
ตอนที่  3  การวิเคราะห์เจตคติของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิด การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2  เจตคติของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง   สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2   ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ และด้านชุดการเรียนรู้  มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ  4. 55   ซึ่งหมายความว่านักเรียนมีเจตคติต่อการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2   อยู่ในระดับดีมาก  สูงกว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้  กลับหน้าแรก อภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูล หน้าต่อไป กลับไปก่อนหน้านี้
ข้อเสนอแนะ 1.  ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้   2.   ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ  2   ข้อ ดังนี้
1.  ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1.1  ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2   สามารถนำชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ  ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2   ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ซึ่งสามารถอำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและส่งผลให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ  1.2   ผู้สนใจที่จะนำชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง  อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2   ไปใช้ ควรศึกษารูปแบบการสอนเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเพื่อประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 1.3   การนำชุดการเรียนรู้ไปใช้ต้องสร้างให้ครบกับจำนวนนักเรียน  มีทั้งการทำ กิจกรรมกลุ่ม  และรายบุคคล  นักเรียนต้องมีทักษะคณิตศาสตร์  นักเรียนที่เรียนช้า จะมีปัญหาในการเรียนรู้  เรียนไม่ทันเพื่อน  ครูผู้สอนต้องให้คำแนะนำช่วยเหลือ อย่างใกล้ชิด กลับไปก่อนหน้านี้
2.   ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1   ควรจัดลำดับเนื้อหากิจกรรมให้ต่อเนื่องโดยการฝึกกิจกรรมจากง่ายไปหายาก และมีกิจกรรมที่หลากหลาย  เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมแล้วเกิดการเรียนรู้ อย่างมีความสุข 2.2   ควรทำการศึกษาค้นคว้าและสร้างเป็นแบบฝึกทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในชั้นอื่น  ๆ ต่อไป 2.3  ควรทำการศึกษาค้นคว้าและสร้างชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่น ๆ  และในช่วงชั้นอื่น ๆ ต่อไป กลับหน้าแรก หน้าต่อไป
คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ทุกท่าน ที่กรุณาให้คำแนะนำและข้อเสนอแนะในประเด็นต่างๆ ซึ่งจะนำไปสู่ความสำเร็จของงานวิจัยครั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพต่อไป ขอขอบพระคุณ มัณฑณา  นามวิชิต

More Related Content

What's hot

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]Apichaya Savetvijit
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา Mana Suksa
 
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์krophut
 
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยเครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยRachunt Boonlha
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Rujroad Kaewurai
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยบีน้อย สุชาดา
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้Thotsaphon M'Max
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 

What's hot (19)

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]รายงานบทที่+1[1 5]
รายงานบทที่+1[1 5]
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
การคิดและการให้เหตุผลอย่างคณิตศาสตร์
 
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยเครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving Math camp activity for development solving
Math camp activity for development solving
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 

Similar to ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare

วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนUraiwan Bunnuang
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act pptapiwat97
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...apiwat97
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.Kaisorn Sripuwong
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
2.a1 บทคัดย่อ
2.a1 บทคัดย่อ2.a1 บทคัดย่อ
2.a1 บทคัดย่อkai kk
 

Similar to ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare (20)

Bee k
Bee kBee k
Bee k
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
Pptวิชาเทคโน
PptวิชาเทคโนPptวิชาเทคโน
Pptวิชาเทคโน
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
R nattapong
R nattapongR nattapong
R nattapong
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
2.a1 บทคัดย่อ
2.a1 บทคัดย่อ2.a1 บทคัดย่อ
2.a1 บทคัดย่อ
 
Abstarct
AbstarctAbstarct
Abstarct
 

ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare

  • 1. เปิดหน้าต่อไป แนะนำผู้จัดทำ วิทยานิพนธ์ การพัฒนาชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 A Development of the Mathematics Learning Packages Based on Constructivism Approach Entitled Ratio and Percent for Mathayom Suksa 2 Students คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ดร . มาลี ศรีพรหม ประธานกรรมการ อ . ศรีจันทร์ ทานะขันธุ์ กรรมการ
  • 2. ชื่อ นางมัณฑณา นามวิชิต สาขา หลักสูตรและการสอน รหัส 492B93123 กลับหน้าแรก ข้อมูลผู้วิจัย เปิดหน้าต่อไป
  • 3.
  • 4. ภูมิหลัง ( ต่อ ) คณิตศาสตร์จัดว่าเป็นศาสตร์ที่สำคัญ และมีบทบาทศาสตร์หนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์ ในแง่การศึกษาและการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน อีกทั้งยังช่วยพัฒนาคนให้รู้จัก คิดอย่างมีเหตุผล มีระเบียบ มีขั้นตอนในการคิด ทำให้นักเรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ มีจินตนาการ สามารถแก้ปัญหาได้ แต่จากรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ของกรมวิชาการ พบว่าคุณภาพการศึกษาของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นมีคะแนนเฉลี่ยในวิชาคณิตศาสตร์ต่ำกว่าร้อยละ 50 และจากการวัดผล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนประจำปีของโรงเรียนโพนพิทยาคม ปรากฏว่า นักเรียนขาดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ไม่สามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง จากเหตุผลดังกล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยในฐานะเป็นครูผู้รับผิดชอบสอน วิชาคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จึงได้ศึกษาค้นคว้าและพัฒนาชุดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ขึ้น เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนากระบวนการเรียน การสอน ที่จะทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและยังสามารถ สร้างองค์ความรู้นำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาได้ ปัญหาการวิจัย
  • 5. 1. ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีลักษณะและองค์ประกอบอย่างไร และ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 หรือไม่ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วย ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนหรือไม่ 3. เจตคติของนักเรียนต่อกิจกรรมการเรียนการสอนด้วย ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นอย่างไร ความมุ่งหมายของการวิจัย กลับหน้าแรก กลับไปก่อนหน้านี้ ปัญหาการวิจัย
  • 6.
  • 7.
  • 8. ความสำคัญของการวิจัย 1. ได้ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิด การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 สามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน เพื่อพัฒนาการสร้างองค์ความรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนได้ 2. เป็นแนวทางการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาชุดการเรียนรู้ในเนื้อหา และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ในระดับชั้นต่าง ๆ ต่อไป ขอบเขตการวิจัย กลับหน้าแรก กลับไปก่อนหน้านี้
  • 9. ขอบเขตการวิจัย ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนโพนพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างเลือกแบบเจาะจง จำนวน 1 ห้อง จำนวน 30 คน เนื่องจาก การจัดชั้นเรียนของโรงเรียนโพนพิทยาคม เป็นการจัดชั้นเรียนแบบคละชั้น คือแต่ละห้อง ประกอบด้วยนักเรียน เก่ง ปานกลาง และ อ่อน ขอบเขตการวิจัย ( ต่อ ) กลับหน้าแรก กลับไปก่อนหน้านี้
  • 10. ขอบเขตการวิจัย เนื้อหา เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ค 3210 1 ปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 ระยะเวลา ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 ใช้เวลาจำนวนทั้งสิ้น 6 สัปดาห์ ๆ ละ 3 ชั่วโมง ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ชุดการเรียนรู้ ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติของนักเรียน กลับหน้าแรก สถิติที่ใช้ในการวิจัย กลับไปก่อนหน้านี้
  • 11. สถิติที่ใช้ในการวิจัย กลับหน้าแรก แบบแผนของการวิจัย กลับไปก่อนหน้านี้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้หาคุณภาพเครื่องมือ 1 . สถิติพื้นฐาน - ค่าเฉลี่ย - ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. ) - ร้อยละ (Percent) 2. สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียนใช้ค่าสถิติ t-test ( Dependent Samples ) 1. หาค่าความเที่ยงตรง ( Validity ) ของแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยวิธี IOC 2. หาค่าความยากง่าย ( Difficulty ) และค่าอำนาจจำแนก ( Discrimination ) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 3. หาความเชื่อมั่น ( Reliability ) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ โดยใช้วิธี KR 20 โดยวิธีของ Kuder - Richardson
  • 12. กลับหน้าแรก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย กลับไปก่อนหน้านี้ ทดลองแบบ One Group Pretest-Posttest Design แบบแผนที่ใช้ในการวิจัย
  • 13. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 4 ประเภท คือ 1. แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ 2. ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. แบบวัดเจตคติต่อกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยชุดการเรียนรู้ กลับหน้าแรก วิธีการดำเนินการวิจัย กลับไปก่อนหน้านี้
  • 14. ตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ตอนที่ 2 การสร้างเครื่องมือในการวิจัย ตอนที่ 3 การดำเนินการทดลองใช้ชุดการเรียนรู้ ตอนที่ 4 การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล มีขั้นตอนการดำเนินการวิจัย 4 ขั้น ตอนดังนี้ วิธีการดำเนินการวิจัย กลับหน้าแรก ผลการวิเคราะห์ข้อมูล กลับไปก่อนหน้านี้
  • 15. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล กลับหน้าแรก กลับไปก่อนหน้านี้ ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สามารถสรุปเป็น 3 ตอนดังนี้ ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ตอนที่ 3 วิเคราะห์เจตคติของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยชุดการเรียนรู้
  • 16. ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้ ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิด การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 79.93 / 81.24 สูงกว่าเกณฑ์ 75 / 75 ที่กำหนด กลับหน้าแรก หน้าต่อไป กลับไปก่อนหน้านี้ สรุปผลการวิจัย
  • 17. ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 กลับหน้าแรก สรุปผลการวิจัย หน้าต่อไป กลับไปก่อนหน้านี้
  • 18. สรุปผลการวิจัย เจตคติของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยชุดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยรวม เท่ากับ 4. 55 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0. 50 ซึ่งหมายความว่านักเรียนมีเจตคติต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยชุดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับดีมาก ซึ่งสูงกว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้ กลับหน้าแรก ตอนที่ 3 วิเคราะห์เจตคติของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยชุดการเรียนรู้ หน้าต่อไป กลับไปก่อนหน้านี้
  • 19. อภิปรายผล กลับหน้าแรก กลับไปก่อนหน้านี้ ตอนที่ 1 ผลวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้ การอภิปรายผล สามารถสรุปเป็น 3 ตอนดังนี้ ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ตอนที่ 3 ผลวิเคราะห์เจตคติของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้
  • 20. ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามเกณฑ์ 75/75 ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ 79.93 / 81.24 หมายความว่า นักเรียนได้คะแนนจากการประเมินผลระหว่างการเรียนรู้จากการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้ ในแต่ละชุดการเรียนรู้ ทั้ง 5 ชุด คิดเป็นร้อยละ 79.93 และนักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยจาก การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนคิดเป็นร้อยละ 81.24 แสดงว่า ชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ สูงกว่าเกณฑ์ 75 / 75 อภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูล กลับหน้าแรก หน้าต่อไป กลับไปก่อนหน้านี้
  • 21. ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียนด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 16.90 จากคะแนนเต็ม 35 คะแนน และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 28.43 จากคะแนนเต็ม 35 คะแนน แสดงให้เห็นว่านักเรียนที่เรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ กลับหน้าแรก อภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูล หน้าต่อไป กลับไปก่อนหน้านี้
  • 22. ตอนที่ 3 การวิเคราะห์เจตคติของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิด การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เจตคติของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ และด้านชุดการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4. 55 ซึ่งหมายความว่านักเรียนมีเจตคติต่อการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในระดับดีมาก สูงกว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้ กลับหน้าแรก อภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูล หน้าต่อไป กลับไปก่อนหน้านี้
  • 23. ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ 2 ข้อ ดังนี้
  • 24. 1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1.1 ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สามารถนำชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ซึ่งสามารถอำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและส่งผลให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.2 ผู้สนใจที่จะนำชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ไปใช้ ควรศึกษารูปแบบการสอนเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์เพิ่มเติมเพื่อประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 1.3 การนำชุดการเรียนรู้ไปใช้ต้องสร้างให้ครบกับจำนวนนักเรียน มีทั้งการทำ กิจกรรมกลุ่ม และรายบุคคล นักเรียนต้องมีทักษะคณิตศาสตร์ นักเรียนที่เรียนช้า จะมีปัญหาในการเรียนรู้ เรียนไม่ทันเพื่อน ครูผู้สอนต้องให้คำแนะนำช่วยเหลือ อย่างใกล้ชิด กลับไปก่อนหน้านี้
  • 25. 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรจัดลำดับเนื้อหากิจกรรมให้ต่อเนื่องโดยการฝึกกิจกรรมจากง่ายไปหายาก และมีกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมแล้วเกิดการเรียนรู้ อย่างมีความสุข 2.2 ควรทำการศึกษาค้นคว้าและสร้างเป็นแบบฝึกทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในชั้นอื่น ๆ ต่อไป 2.3 ควรทำการศึกษาค้นคว้าและสร้างชุดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่น ๆ และในช่วงชั้นอื่น ๆ ต่อไป กลับหน้าแรก หน้าต่อไป
  • 26. คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ทุกท่าน ที่กรุณาให้คำแนะนำและข้อเสนอแนะในประเด็นต่างๆ ซึ่งจะนำไปสู่ความสำเร็จของงานวิจัยครั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพต่อไป ขอขอบพระคุณ มัณฑณา นามวิชิต