SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ศ.นพ.ประเวศ วะสี
ที่ปรึกษาสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กระตุกกลไกสมอง
กระตุ้นคลังสมองชาติ
2
“การที่รองนายกรัฐมนตรี สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ให้นโยบายให้สภาพัฒน์สร้างกลไก
สมองของประเทศ ต้องถือเป็นเรื่องสาคัญที่สุดเพราะประเทศไทยเต็มไปด้วยโครงสร้างอานาจ
แต่ขาดโครงสร้างทางสมอง ทาให้ไม่สามารถเผชิญวิกฤตการณ์ของความซับซ้อนได้”
ศ.นพ.ประเวศ วะสี ราษฎรอาวุโส บอกว่า เมื่อจอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์ ตั้งสภาวิจัยแห่งชาติ
เมื่อ พ.ศ.2502 ใช้คาว่า “เพื่อให้เป็นสมองของชาติ” แต่ก็ไม่ได้เป็น เพราะไม่มีใครช่วยคิดว่าการที่จะ
เป็นสมองของชาตินั้นเป็นอย่างไร เรามีมหาวิทยาลัยจานวนมาก แต่มหาวิทยาลัยก็ทาหน้าที่สอน
หนังสือเป็นส่วนใหญ่ไม่สามารถเป็นสมองของชาติได้
ในแผ่นดินจีนในยุคซุนชิวและจ้านกั๋ว ซึ่งกินเวลากว่า 500 ปี เต็มไปด้วยการต่อสู้ระหว่างรัฐต่างๆ เจ้าผู้
ครองรัฐคืออานาจ สิ่งที่เจ้าผู้ครองรัฐแสวงหามากที่สุดคือที่ปรึกษาที่ฉลาดปราดเปรื่อง ถ้ารัฐใด
ปราศจากที่ปรึกษาที่ฉลาดก็จะสูญสลายไป ที่ปรึกษาคือกลไกทางสมองของรัฐ นี่เป็นเหตุว่าทาไมเล่าปี่
จึงไปหาขงเบ้งถึง 3 ครั้ง เพื่อเชิญมาเป็นที่ปรึกษา ท่ามกลางความไม่พอใจของนักรบร่วมสาบาน 2 คน
คือ กวนอูและเตียวหุย
ที่ปรึกษาคือนักคิดที่รอบรู้และฉลาดปราดเปรื่อง มีความเป็นอิสระ ไม่ขึ้นกับการสั่งซ้าย
หันขวาหันโดยผู้มีอานาจ แต่สามารถชี้นาการตัดสินใจให้ผู้มีอานาจได้ ผู้มีอานาจจะเชื่อหรือไม่
เชื่อก็ได้ ถ้าผู้มีอานาจตัดสินใจผิดย่อมนาไปสู่ความพ่ายแพ้ หรือความล่มสลายขององค์กร
“กลไกทางสมองไม่ใช่เอาการวิจัยเป็นตัวตั้ง เพราะการวิจัยมักจะสร้างความรู้แยกย่อยเป็นส่วนๆ แต่
กลไกสมองต้องเป็นการคิดที่มาจากฐานการรอบรู้...การคิดจะต้องนาการวิจัย และใช้การวิจัยเป็น
เครื่องมือจากการคิดไปสู่การปฏิบัติ มหาวิทยาลัยมีนักวิจัยแต่เกือบไม่มีนักคิดเลยจึงเป็นกลไกทาง
สมองไม่ได้”
ยกตัวอย่างว่าถ้ามหาวิทยาลัยตั้งสถาบันเพื่อประชาธิปไตย ถามว่าสถาบันนี้จะทาอะไร จะสอน
รึก็มีคณะต่างๆทาหน้าที่สอน (ซึ่งไม่ค่อยได้ผลอะไร) อยู่แล้ว จะทาวิจัยก็ทาได้ทีละเรื่องสองเรื่องแล้วก็
ไม่รู้จะเอาไปทาอะไร แต่ถ้าสถาบันแห่งนี้เป็น “สานักคิด”…เชิญนักคิดที่รอบรู้ และปราดเปรื่องมา
ช่วยกันคิด คงทาอะไรได้มาก
ศ.นพ.ประเวศ วะสี
ที่ปรึกษาสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
2โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กระตุกกลไกสมอง กระตุ้นคลังสมองชาติ
จากไทยรัฐออนไลน์ http://www.thairath.co.th/content/943753 สืบค้น 18 พ.ค. 2560
3โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
“สานักคิดอาศัยความรู้ทั้งหมด ทั้งที่ได้จากการวิจัยหรือมิใช่และความรู้ในตนที่ได้มาจาก
ประสบการณ์มาเป็นฐานคิด และจากการคิดจะทาให้รู้ว่าต้องการการวิจัยเรื่องอะไรอีก จึงจะเข้าใจ
เรื่องนี้ดีขึ้น การคิดนาไปสู่การตัดสินใจว่าจะทาหรือไม่ทาอะไร ทาอย่างไร และการทานั้นจะได้ผล
จะต้องวิจัยอะไรอีก”
“การคิด”จึงต้องนา “การวิจัย”…กลุ่มนักคิดที่อิสระในเรื่องและระดับต่างๆ คือกลไกสมอง
คราวนี้ก็มาทาความเข้าใจกันก่อนว่า “กลไกสมองไม่ใช่ระบบราชการ” นั่นเพราะระบบ
ราชการเป็นระบบควบคุม มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง หลายแสนฉบับ ที่ใช้
บังคับให้ปฏิบัติ มีบุคลากรจานวนมหาศาลที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎ ระเบียบ โดยไม่มีความรู้ใน
เนื้อหาสาระของงาน หรือสภาวะและความต้องการของสังคมที่เปลี่ยนแปลงและมีความจาเพาะ
ระบบบริหารในระบบราชการจึงเป็นการบริหารกฎระเบียบเป็นส่วนใหญ่ ไม่ใช่การจัดการ
(Management) ซึ่งมุ่งผลสัมฤทธิ์โดยต้องพัฒนาคนและสร้างความรู้
“ระบบราชการจึงขาดประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการทาอะไรๆให้สาเร็จ และไม่สามารถ
พัฒนาคุณภาพคนและสร้างความรู้ใหม่ เนื่องจากเป็นโครงสร้างอานาจที่เน้นการควบคุมดังกล่าว”
ศ.นพ. ประเวศ ย้าว่า การผิดระเบียบเป็นเรื่องร้ายแรงในทางราชการ ข้าราชการจึงมีแรงจูงใจสูงที่
จะทาตามระเบียบไปวันหนึ่งๆ ไม่อยากริเริ่มทาอะไรใหม่ๆ เพราะกลัวผิดระเบียบ ข้าราชการยังถือ
เป็นสิทธิที่จะได้รับเลื่อนไปดารงตาแหน่งบริหารสูงขึ้นไป โดยไม่คานึงถึงว่าจะมีความรู้ความสามารถ
เหมาะสมกับตาแหน่งนั้นๆ หรือไม่
ซึ่งน่าจะเป็นสิทธิของประเทศชาติประชาชนมากกว่าที่จะได้ผู้มีความรู้ความสามารถ
เหมาะสมที่สุดมาดารงตาแหน่ง
ระบบราชการมีโครงสร้างและทรัพยากรอันมหึมา แต่ไม่สามารถเป็นหน่วยสัมฤทธิศาสตร์ได้
และเปลี่ยนแปลงยาก โค่นล้มได้ยาก และไม่ควรคิดเชิงโค่นล้ม แต่ควรคิดเชิงมี “ตัวช่วย”
“ถ้ามีตัวช่วยที่เหมาะสม ระบบราชการสามารถใช้ทุนของตนให้เป็นประโยชน์ได้มาก ตัวช่วย
ต้องมีปัญญาและไม่ทาอะไรเพื่อตนเอง”
ตัวช่วยนี้อาจเรียกชื่อต่างๆกัน เช่น คณะทางานยุทธศาสตร์ สานักคิด กลุ่มคิด คลังสมอง
ฯลฯ ซึ่งก็คือกลไกสมอง กลไกนี้ต้องเป็นอิสระ ไม่มีอานาจ ถ้ามีอานาจก็จะไม่คิด ควรสังเกตว่าใน
ประเทศของเรา เมื่อตั้งองค์กรใหม่ๆขึ้น มักจะต้องการมีอานาจ แล้วก็ไม่สาเร็จเพราะสิ่งที่ขาดแคลน
ไม่ใช่อานาจ แต่คือ “ปัญญา”
4โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เนื่องจากสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์) เป็น
หน่วยงานในระบบราชการ แต่ควรจะตั้งขึ้นโดยกฎหมายให้เป็นองค์กรอิสระ อาจเรียกว่า สถาบัน
คลังสมองแห่งชาติ
จุดเริ่มต้นที่สาคัญคือ แสวงหานักคิดที่รอบรู้ปราดเปรื่องที่สุด ที่ไม่ทาอะไรเพื่อตนเองให้
ได้สัก 7-8 คน มาประกอบกันเป็นสานักคิด เพื่อคิดเรื่องที่สาคัญๆของประเทศ...โดยที่สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สภาวิจัยฯ และ สกว. เป็นเลขานุการ เพื่อเป็น
ฐานข้อมูลและการสร้างความรู้ที่จาเป็น
กลไกสมองควรมีในทุกส่วนของประเทศ...ตามพื้นที่ เช่น ชุมชน ท้องถิ่น...ในองค์กร เช่น
กระทรวง กรม มหาวิทยาลัย พรรคการเมือง ...ในเรื่องต่างๆ ที่สาคัญๆ เช่น กลุ่มวิจัยยุทธศาสตร์
ชาติ กลุ่มยุทธศาสตร์อาหาร กลุ่มยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว กลุ่มยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษา
สถาบันคลังสมองแห่งชาติที่สภาพัฒน์จะช่วยส่งเสริมให้เกิดกลไกสมองในพื้นที่ ในองค์กร
และในเรื่องที่สาคัญต่างๆ และเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายคลังสมองของประเทศ เครือข่าย
เหล่านี้จะเรียนรู้จากกันและกัน เสริมให้ปัญญาของชาติสมบูรณ์และแข็งแรงขึ้น
ผลจากการคิดของเครือข่ายคลังสมองของประเทศ นาไปสู่ความเข้าใจของสาธารณะ สู่ผู้
ปฏิบัติในระดับต่างๆ และสู่ผู้กาหนดนโยบาย ปฏิสัมพันธ์ทางปัญญาระหว่าง “สาธารณะ”…“ผู้
ปฏิบัติ”…“ผู้กาหนดนโยบาย” ที่มีเครือข่ายคลังสมองของชาติเป็นตัวช่วย จะทาให้เกิดสังคมอุดม
ปัญญา
“สังคมอุดมปัญญา” จึงจะเป็น “สังคมสันติสุข”ได้
อนึ่ง ภาคธุรกิจมีคนเก่งๆ มากที่สุด มีทรัพยากรและมีความคล่องตัว รัฐบาลควรมีนโยบาย
ชักชวนให้ภาคธุรกิจรวมตัวกันสร้าง เครือข่ายคลังสมองภาคธุรกิจเพื่อพัฒนาประเทศไทย โดย
ทางานเช่นเดียวกับสถาบันคลังสมองแห่งชาติของสภาพัฒน์ ทั้งอิสระและโดยร่วมมือกัน
ที่เสนอมานี้เป็นความเห็นอย่างหนึ่ง ถ้า “ผู้รู้” ช่วยกันระดมความคิดในการสร้างคลังสมองของ
ประเทศที่สามารถทางานได้อย่างมีคุณภาพและยั่งยืน และรัฐบาลสนองตอบ ก็เป็นโอกาสของ
ประเทศไทยที่จะมี “สมองของประเทศ” ที่เคยหวังไว้เมื่อตั้งสภาวิจัยแห่งชาติเมื่อ พ.ศ.2502
ทักท้วง ทวงถามถึงเรื่องนี้ก็เพราะว่า...วันเวลาผ่านมาถึงวันนี้เนิ่นนานมาเกือบ 60 ปี...
ประเทศก็ยังออกจากสภาวะวิกฤติไม่ได้.
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต
อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
5
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
อ้างอิงภาพหน้าปก
ที่มา
http://www.thairath.co.th/content/943753
ประธานสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
จัดรูปเล่ม : นายอุสมาน วาจิ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com

More Related Content

More from Klangpanya

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชKlangpanya
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีKlangpanya
 
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdfการบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
การบรรยายเรื่อง ความรู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ .pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิชประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำไปสู่การสร้างปัญญา ศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุลใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
ใช้ปัญญาอย่างไรให้พอแล้วดี ดร. ศิริกุล เลากัยกุล
 

กระตุกกลไกสมอง กระตุ้นคลังสมองชาติ

  • 2. 2 “การที่รองนายกรัฐมนตรี สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ให้นโยบายให้สภาพัฒน์สร้างกลไก สมองของประเทศ ต้องถือเป็นเรื่องสาคัญที่สุดเพราะประเทศไทยเต็มไปด้วยโครงสร้างอานาจ แต่ขาดโครงสร้างทางสมอง ทาให้ไม่สามารถเผชิญวิกฤตการณ์ของความซับซ้อนได้” ศ.นพ.ประเวศ วะสี ราษฎรอาวุโส บอกว่า เมื่อจอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์ ตั้งสภาวิจัยแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ.2502 ใช้คาว่า “เพื่อให้เป็นสมองของชาติ” แต่ก็ไม่ได้เป็น เพราะไม่มีใครช่วยคิดว่าการที่จะ เป็นสมองของชาตินั้นเป็นอย่างไร เรามีมหาวิทยาลัยจานวนมาก แต่มหาวิทยาลัยก็ทาหน้าที่สอน หนังสือเป็นส่วนใหญ่ไม่สามารถเป็นสมองของชาติได้ ในแผ่นดินจีนในยุคซุนชิวและจ้านกั๋ว ซึ่งกินเวลากว่า 500 ปี เต็มไปด้วยการต่อสู้ระหว่างรัฐต่างๆ เจ้าผู้ ครองรัฐคืออานาจ สิ่งที่เจ้าผู้ครองรัฐแสวงหามากที่สุดคือที่ปรึกษาที่ฉลาดปราดเปรื่อง ถ้ารัฐใด ปราศจากที่ปรึกษาที่ฉลาดก็จะสูญสลายไป ที่ปรึกษาคือกลไกทางสมองของรัฐ นี่เป็นเหตุว่าทาไมเล่าปี่ จึงไปหาขงเบ้งถึง 3 ครั้ง เพื่อเชิญมาเป็นที่ปรึกษา ท่ามกลางความไม่พอใจของนักรบร่วมสาบาน 2 คน คือ กวนอูและเตียวหุย ที่ปรึกษาคือนักคิดที่รอบรู้และฉลาดปราดเปรื่อง มีความเป็นอิสระ ไม่ขึ้นกับการสั่งซ้าย หันขวาหันโดยผู้มีอานาจ แต่สามารถชี้นาการตัดสินใจให้ผู้มีอานาจได้ ผู้มีอานาจจะเชื่อหรือไม่ เชื่อก็ได้ ถ้าผู้มีอานาจตัดสินใจผิดย่อมนาไปสู่ความพ่ายแพ้ หรือความล่มสลายขององค์กร “กลไกทางสมองไม่ใช่เอาการวิจัยเป็นตัวตั้ง เพราะการวิจัยมักจะสร้างความรู้แยกย่อยเป็นส่วนๆ แต่ กลไกสมองต้องเป็นการคิดที่มาจากฐานการรอบรู้...การคิดจะต้องนาการวิจัย และใช้การวิจัยเป็น เครื่องมือจากการคิดไปสู่การปฏิบัติ มหาวิทยาลัยมีนักวิจัยแต่เกือบไม่มีนักคิดเลยจึงเป็นกลไกทาง สมองไม่ได้” ยกตัวอย่างว่าถ้ามหาวิทยาลัยตั้งสถาบันเพื่อประชาธิปไตย ถามว่าสถาบันนี้จะทาอะไร จะสอน รึก็มีคณะต่างๆทาหน้าที่สอน (ซึ่งไม่ค่อยได้ผลอะไร) อยู่แล้ว จะทาวิจัยก็ทาได้ทีละเรื่องสองเรื่องแล้วก็ ไม่รู้จะเอาไปทาอะไร แต่ถ้าสถาบันแห่งนี้เป็น “สานักคิด”…เชิญนักคิดที่รอบรู้ และปราดเปรื่องมา ช่วยกันคิด คงทาอะไรได้มาก ศ.นพ.ประเวศ วะสี ที่ปรึกษาสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 2โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต กระตุกกลไกสมอง กระตุ้นคลังสมองชาติ จากไทยรัฐออนไลน์ http://www.thairath.co.th/content/943753 สืบค้น 18 พ.ค. 2560
  • 3. 3โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต “สานักคิดอาศัยความรู้ทั้งหมด ทั้งที่ได้จากการวิจัยหรือมิใช่และความรู้ในตนที่ได้มาจาก ประสบการณ์มาเป็นฐานคิด และจากการคิดจะทาให้รู้ว่าต้องการการวิจัยเรื่องอะไรอีก จึงจะเข้าใจ เรื่องนี้ดีขึ้น การคิดนาไปสู่การตัดสินใจว่าจะทาหรือไม่ทาอะไร ทาอย่างไร และการทานั้นจะได้ผล จะต้องวิจัยอะไรอีก” “การคิด”จึงต้องนา “การวิจัย”…กลุ่มนักคิดที่อิสระในเรื่องและระดับต่างๆ คือกลไกสมอง คราวนี้ก็มาทาความเข้าใจกันก่อนว่า “กลไกสมองไม่ใช่ระบบราชการ” นั่นเพราะระบบ ราชการเป็นระบบควบคุม มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง หลายแสนฉบับ ที่ใช้ บังคับให้ปฏิบัติ มีบุคลากรจานวนมหาศาลที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎ ระเบียบ โดยไม่มีความรู้ใน เนื้อหาสาระของงาน หรือสภาวะและความต้องการของสังคมที่เปลี่ยนแปลงและมีความจาเพาะ ระบบบริหารในระบบราชการจึงเป็นการบริหารกฎระเบียบเป็นส่วนใหญ่ ไม่ใช่การจัดการ (Management) ซึ่งมุ่งผลสัมฤทธิ์โดยต้องพัฒนาคนและสร้างความรู้ “ระบบราชการจึงขาดประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการทาอะไรๆให้สาเร็จ และไม่สามารถ พัฒนาคุณภาพคนและสร้างความรู้ใหม่ เนื่องจากเป็นโครงสร้างอานาจที่เน้นการควบคุมดังกล่าว” ศ.นพ. ประเวศ ย้าว่า การผิดระเบียบเป็นเรื่องร้ายแรงในทางราชการ ข้าราชการจึงมีแรงจูงใจสูงที่ จะทาตามระเบียบไปวันหนึ่งๆ ไม่อยากริเริ่มทาอะไรใหม่ๆ เพราะกลัวผิดระเบียบ ข้าราชการยังถือ เป็นสิทธิที่จะได้รับเลื่อนไปดารงตาแหน่งบริหารสูงขึ้นไป โดยไม่คานึงถึงว่าจะมีความรู้ความสามารถ เหมาะสมกับตาแหน่งนั้นๆ หรือไม่ ซึ่งน่าจะเป็นสิทธิของประเทศชาติประชาชนมากกว่าที่จะได้ผู้มีความรู้ความสามารถ เหมาะสมที่สุดมาดารงตาแหน่ง ระบบราชการมีโครงสร้างและทรัพยากรอันมหึมา แต่ไม่สามารถเป็นหน่วยสัมฤทธิศาสตร์ได้ และเปลี่ยนแปลงยาก โค่นล้มได้ยาก และไม่ควรคิดเชิงโค่นล้ม แต่ควรคิดเชิงมี “ตัวช่วย” “ถ้ามีตัวช่วยที่เหมาะสม ระบบราชการสามารถใช้ทุนของตนให้เป็นประโยชน์ได้มาก ตัวช่วย ต้องมีปัญญาและไม่ทาอะไรเพื่อตนเอง” ตัวช่วยนี้อาจเรียกชื่อต่างๆกัน เช่น คณะทางานยุทธศาสตร์ สานักคิด กลุ่มคิด คลังสมอง ฯลฯ ซึ่งก็คือกลไกสมอง กลไกนี้ต้องเป็นอิสระ ไม่มีอานาจ ถ้ามีอานาจก็จะไม่คิด ควรสังเกตว่าใน ประเทศของเรา เมื่อตั้งองค์กรใหม่ๆขึ้น มักจะต้องการมีอานาจ แล้วก็ไม่สาเร็จเพราะสิ่งที่ขาดแคลน ไม่ใช่อานาจ แต่คือ “ปัญญา”
  • 4. 4โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องจากสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์) เป็น หน่วยงานในระบบราชการ แต่ควรจะตั้งขึ้นโดยกฎหมายให้เป็นองค์กรอิสระ อาจเรียกว่า สถาบัน คลังสมองแห่งชาติ จุดเริ่มต้นที่สาคัญคือ แสวงหานักคิดที่รอบรู้ปราดเปรื่องที่สุด ที่ไม่ทาอะไรเพื่อตนเองให้ ได้สัก 7-8 คน มาประกอบกันเป็นสานักคิด เพื่อคิดเรื่องที่สาคัญๆของประเทศ...โดยที่สานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สภาวิจัยฯ และ สกว. เป็นเลขานุการ เพื่อเป็น ฐานข้อมูลและการสร้างความรู้ที่จาเป็น กลไกสมองควรมีในทุกส่วนของประเทศ...ตามพื้นที่ เช่น ชุมชน ท้องถิ่น...ในองค์กร เช่น กระทรวง กรม มหาวิทยาลัย พรรคการเมือง ...ในเรื่องต่างๆ ที่สาคัญๆ เช่น กลุ่มวิจัยยุทธศาสตร์ ชาติ กลุ่มยุทธศาสตร์อาหาร กลุ่มยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว กลุ่มยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษา สถาบันคลังสมองแห่งชาติที่สภาพัฒน์จะช่วยส่งเสริมให้เกิดกลไกสมองในพื้นที่ ในองค์กร และในเรื่องที่สาคัญต่างๆ และเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายคลังสมองของประเทศ เครือข่าย เหล่านี้จะเรียนรู้จากกันและกัน เสริมให้ปัญญาของชาติสมบูรณ์และแข็งแรงขึ้น ผลจากการคิดของเครือข่ายคลังสมองของประเทศ นาไปสู่ความเข้าใจของสาธารณะ สู่ผู้ ปฏิบัติในระดับต่างๆ และสู่ผู้กาหนดนโยบาย ปฏิสัมพันธ์ทางปัญญาระหว่าง “สาธารณะ”…“ผู้ ปฏิบัติ”…“ผู้กาหนดนโยบาย” ที่มีเครือข่ายคลังสมองของชาติเป็นตัวช่วย จะทาให้เกิดสังคมอุดม ปัญญา “สังคมอุดมปัญญา” จึงจะเป็น “สังคมสันติสุข”ได้ อนึ่ง ภาคธุรกิจมีคนเก่งๆ มากที่สุด มีทรัพยากรและมีความคล่องตัว รัฐบาลควรมีนโยบาย ชักชวนให้ภาคธุรกิจรวมตัวกันสร้าง เครือข่ายคลังสมองภาคธุรกิจเพื่อพัฒนาประเทศไทย โดย ทางานเช่นเดียวกับสถาบันคลังสมองแห่งชาติของสภาพัฒน์ ทั้งอิสระและโดยร่วมมือกัน ที่เสนอมานี้เป็นความเห็นอย่างหนึ่ง ถ้า “ผู้รู้” ช่วยกันระดมความคิดในการสร้างคลังสมองของ ประเทศที่สามารถทางานได้อย่างมีคุณภาพและยั่งยืน และรัฐบาลสนองตอบ ก็เป็นโอกาสของ ประเทศไทยที่จะมี “สมองของประเทศ” ที่เคยหวังไว้เมื่อตั้งสภาวิจัยแห่งชาติเมื่อ พ.ศ.2502 ทักท้วง ทวงถามถึงเรื่องนี้ก็เพราะว่า...วันเวลาผ่านมาถึงวันนี้เนิ่นนานมาเกือบ 60 ปี... ประเทศก็ยังออกจากสภาวะวิกฤติไม่ได้.
  • 5. ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 5 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต อ้างอิงภาพหน้าปก ที่มา http://www.thairath.co.th/content/943753 ประธานสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล จัดรูปเล่ม : นายอุสมาน วาจิ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com