SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ฉบับที่ 1 / 2560
Policy Brief
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ในฐานะตัวแสดงระหว่าง
ประเทศ :
ขบวนการรัฐอิสลาม
(Islamic State; IS)
เอนก เหล่าธรรมทัศน์
1สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
"ที่ตั้ง" ประเทศไทย
ประเทศไทยนั้นมีอะไรดีบ้าง? คงมีดีหลายอย่างครับ แต่ที่ดีที่สุดอย่างหนึ่งในขณะนี้ คือมีทาเล
ที่ตั้งที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งในอาเซียน ในเอเชีย และอาจจะในโลกเอาเสียด้วย
ประการแรก เราเป็นประเทศรวยทะเล-รวยมหาสมุทร ประเทศที่เล็กกว่าจีนยี่สิบเท่าแต่มีสอง
ทะเล-สองมหาสมุทร คือ แปซิฟิก (อ่าวไทย) และ อินเดีย (อันดามัน) ฝั่งทะเลของเรายาวกว่าของ
พม่าเสียอีก ยาวแพ้เวียดนามไม่มาก มีจังหวัดที่อยู่ติดทะเลถึง 23 จังหวัด พูดง่ายๆ ว่า ทุกๆ 4
จังหวัดของไทย ติดทะเลหนึ่งจังหวัด น่าทึ่ง
ประเทศไทยนั้น ขอขยายความ ความจริงเป็นประเทศกึ่งบก-กึ่งทะเลเลย ไม่ใช่เป็นประเทศทาง
บกที่มีเพียงชายหาดสวยงามเท่านั้น ต้องคิดใหม่ว่าเรามีศักยภาพเป็นชาติอานาจทางทะเลได้ด้วย หลาย
ประเทศนั้นไม่มีทะเล ต้องรบเพื่อเปิดทางออกทะเล จีนนั้นแม้จะมีมหาสมุทรแปซิฟิก ก็ยังพยายามสุด
ความสามารถที่จะมุ่งลงใต้ไปลงทะเลที่มหาสมุทรอินเดียให้ได้
2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ใกล้กับภาคใต้ของเราคือ "ช่องแคบมะลักกา" ที่ปัจจุบันนี้ เป็นช่องทางเดินเรือทะเลสาคัญ
ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยปริมาณสินค้า น้ามัน และแก๊ส ที่ลาเลียงผ่านช่องแคบนี้มีเป็นสามเท่าของ
ที่ผ่านทางคลองสุเอซและคลองปานามา โลกทุกวันนี้มีช่องแคบมะลักกาเป็นเส้นทางเดินเรือที่สาคัญ
ที่สุดแล้ว หากดูแผนที่ให้ดีจะเห็นว่ามีจังหวัดหนึ่งของไทยที่ถือเป็น "ปากทางเข้า" ช่องแคบนี้ทีเดียว
จังหวัดสตูล ไงครับ ช่องแคบมะลักกานั้นส่วนใหญ่อยู่ระหว่างคาบสมุทรมลายูและเกาะสุมาตรา แต่
สตูลนั้นถือเป็นส่วนบนสุดทางขวามือของช่องแคบได้ เราเป็น "เจ้าของ" ช่องแคบมะลักกานิดหน่อย
ช่องแคบมะลักกานั้นมีความสาคัญต่อจีน ญี่ปุ่น เกาหลี อาเซียน อินเดีย อ่าวเปอร์เซีย อาหรับ
และยุโรปเป็นล้นพ้น มีความจาเป็นที่จะต้องมีทางเลี่ยงหรือทางเบี่ยงที่จะลดความเสี่ยงจากความล่าช้า
ติดขัด หรือปิดตัวลงของทางเดินเรือในช่องแคบด้วยสาเหตุนานาประการ
คาบสมุทรภาคใต้ของไทยมีศักยภาพสูงที่จะเป็นทางเบี่ยงหรือทางเลี่ยงนั้น ไม่ว่าจะทาในรูป
ของคลองกระ (เชื่อมจังหวัดระนอง-ชุมพร) หรือคลองไทย (เชื่อมตรัง-นครศรีธรรมราช) หรือทา
เป็น "แลนด์บริดจ์" (เชื่อมสองฝั่งสองมหาสมุทรด้วยรถไฟและทางหลวงขนาดใหญ่)
คู่ขนานกันไป จะมีโครงการตัดทางหลวงหรือทารถไฟความเร็วปานกลาง-สูง ที่จะเชื่อม
อินเดีย จีน และอาเซียนภาคพื้นทวีปเข้ากับมาเลเซีย สิงคโปร์ สุมาตรา ชวา ซึ่งโดยทาเลของไทยเป็น
เหตุ เส้นทางเหล่านั้นจะต้องผ่านหลายภาคของไทย ผ่านกรุงเทพฯ และผ่านภาคใต้อย่างหลีกเลี่ยง
ไม่ได้ ไทยมีศักยภาพที่จะเป็นชาติอานาจทางลอจิสติกส์ จะเป็นศูนย์กลางของเส้นทางคมนาคมที่
เชื่อมร้อยตลาดจีน อินเดีย และตลาดอาเซียนเข้าด้วยกัน
จะชอบหรือไม่ จะเต็มใจหรือไม่ ไทยมี "ทาเลทอง" ที่เป็นศูนย์กลางของอาเซียน เป็น "สะพาน
ทอง" เชื่อมยึดจีนและอินเดีย สองยักษ์ใหญ่ของเศรษฐกิจโลก เข้ากับเออีซี
ทาเลที่ดีของเราจะไม่เอื้อประโยชน์เฉพาะแต่กรุงเทพฯ และภาคใต้เท่านั้นครับ ภาคเหนือของ
ไทยจะเชื่อมโยงกับนครและเมืองใหญ่ของจีนตอนใต้ (เชียงรุ้ง คุนหมิง ฉงชิ่ง เฉิงตู) ลาว (หลวงพระ
บาง เวียงจันทน์) และที่ขอย้าเป็นพิเศษเพราะเรามักจะคิดไม่ถึง คือ พม่า (กรุงเนปิดอว์ พุกาม
มัณฑะเลย์ ตองอู อังวะ)
โปรดทราบนะครับว่า "พม่าแท้ๆ" นั้นใกล้แม่ฮ่องสอนและเชียงใหม่มาก เนปิดอว์นั้นอยู่ใกล้
เกือบชิดแม่ฮ่องสอน ข้ามรัฐฉานจากแม่ฮ่องสอนไปนิดเดียวก็จะเจอกรุงเนปิดอว์เลย แม้แต่ย่างกุ้ง
เมืองใหญ่ที่สุดของพม่าก็ใกล้แม่ฮ่องสอน ตาก และเชียงใหม่มาก
3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ลาวและเวียดนามก็ใกล้เชียงรายและน่านมาก จากเชียงรายบินไปหลวงพระบาง เวียงจันทน์
ใกล้มาก ใช้เวลาเท่าๆ กับบินไปเชียงรุ้งและคุนหมิง และน่านนั้นยังพิเศษสุดที่อยู่ค่อนข้างใกล้ฮานอย
ด้วย เวลาบินน่าจะไม่ถึงชั่วโมง
นานมากแล้วที่เราคิดว่าแม่ฮ่องสอน ตาก และน่านเป็น "หลังเขา" เพราะเราเอากรุงเทพฯ เป็น
ศูนย์กลาง แต่ในยุคบูรพาภิวัตน์นั้น ในขณะนี้ลาว พม่าล้วนโตเร็วกว่าไทยมาก ลาวโตมากกว่า 7
เปอร์เซ็นต์ต่อปีมาเป็นทศวรรษแล้ว พม่าเติบโตปีละ 12.5 เปอร์เซ็นต์มาในช่วงเวลาเดียวกัน
ภาคเหนือของไทยมีศักยภาพและพร้อมที่จะเติบโตทางเศรษฐกิจสูงมากตามเพื่อนบ้านได้ โดยเฉพาะ
หากได้เชื่อมโยงทางคมนาคมเข้ากับจีนตอนใต้ พม่าทางตอนเหนือที่เป็นพม่าแท้ๆ ลาว และ
เวียดนามทางตอนเหนือ
อีสานของไทยก็จะได้ประโยชน์จากบูรพาภิวัตน์แน่นอน คนไทยมักไม่ทราบว่าภาคที่ใกล้กับ
ประเทศจีนที่สุดโดยการบินนั้นคืออีสานนะครับ ไม่ใช่ภาคเหนืออย่างที่เรามักคิด เนื่องจากนครใหญ่
ของจีนนั้นอยู่ทางด้านตะวันออกของประเทศเกือบทั้งหมด จากจีนบินมาไทยจาต้องผ่านอีสานก่อน
ทั้งสิ้น จะเห็นว่าเกาะไหหลานั้นใกล้อีสานมาก ถ้าบินจากฮ่องกง มาเก๊า กว่างเจา เซี่ยงไฮ้ ปักกิ่ง หาก
ลงไทยที่หนองคาย บึงกาฬ หรืออุดร แทนที่จะลงกรุงเทพฯ จะลดเวลาบินลงถึงหนึ่งชั่วโมงได้
ในยุคบูรพาภิวัตน์ ด้วยที่ตั้งประเทศที่เป็นเยี่ยมอย่างนี้ ภาคอีสานและภาคเหนือจะต้องสร้าง
หรือขยายสนามบินนานาชาติให้ยิ่งใหญ่ไปเลย อย่ามัวทาอะไรเล่นๆ สร้างการท่องเที่ยวขนาดใหญ่ที่มี
คุณภาพที่อีสานด้วยเพื่อดึงนักท่องเที่ยวจากเวียดนามและจีนมาให้มากขึ้น
อีสานตอนใต้จะได้ประโยชน์มากจากกัมพูชาซึ่งเติบโตปีละ 8.5 เปอร์เซ็นต์ติดต่อกันมาสิบปี
แล้ว เสียมเรียบที่อยู่ใกล้กันคือเมืองท่องเที่ยวระดับโลก พนมเปญคือเมืองใหญ่ที่สุดบนฝั่งแม่น้าโขง
ทั้งหมด คนเจ็ดแปดล้านคน เติบโตสูงกว่า 8.5 เปอร์เซ็นต์ต่อปีแน่ๆ น่าจะโตไม่น้อยกว่าปีละ 15-
20 เปอร์เซ็นต์ เท่าที่ประเมินเองอย่างคร่าวๆ อีสานเป็นภาคที่ยึดโยงกับทั้งลาวและกัมพูชา "โคราช"
ของเราคือมหานครที่เชื่อมยึดและโยงใยกับสองประเทศนั้นไปพร้อมๆ กันได้เลย
ภาคตะวันตกจะได้ประโยชน์จากการเชื่อมพม่าส่วนที่เป็นดินแดนมอญและกะเหรี่ยงเป็นหลัก
เข้ากับไทย และจะเลยไปถึงอินเดียและบังกลาเทศในอนาคตไม่ไกล ส่วนภาคตะวันออกจะเชื่อมชลบุรี
ระยอง จันทบุรีและตราดเข้ากับกัมพูชาส่วนที่อยู่ใกล้ทะเลหรืออ่าวไทย
4สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
คงเริ่มสงสัยกันบ้างแล้วว่าทาไมประเทศไทยเราช่างต่อเชื่อมกับเพื่อนบ้านได้มากมายจัง ก็ขอ
บอกว่าเรามีจังหวัดที่ติดชายแดนถึง 33 จังหวัด พูดง่ายๆ ทุกๆ 2-3 จังหวัดจะมีชายแดนติด
ต่างประเทศ 1 จังหวัด อลังการมากครับ อานาจหรือศักยภาพในการเชื่อมโยงของเรา connectivity ที่
ชอบพูดถึงกันไง
ประเทศไทยมีศักยภาพทั้งทางบกและทางทะเล ขอย้าอีกที เอาเข้าจริงแล้ว ไม่มีภาคไหนไกล
ทะเลเลย น่าอัศจรรย์ ถ้าทะเลนั้นเราไม่หมายถึงแต่อ่าวไทย เช่น ตาก แม่ฮ่องสอนนั้น ไม่ไกลทะเลอัน
ดามันเลย เพียงมีดินแดนพม่าแคบๆ มาคั่นเอาไว้ เท่านั้น ฝนที่ตกที่สองจังหวัดนี้มาจากความชุ่มชื้น
ที่มาจากทะเล ที่ให้ทั้งภาคใต้ที่ติดอันดามันและให้ทั้งภาคเหนือด้านตะวันตกที่อยู่ไม่ห่างอันดามัน
ภาคเหนือด้านตะวันออกก็ไม่ห่างจากน้าทะเล หากหมายถึงทะเลจีนใต้หรืออ่าวตังเกี๋ยของ
เวียดนามเหนือ ภาคอีสานเล่าก็ไม่ไกลจากเกาะไหหลา จากทะเลเวียดนาม และทะเลจีนเท่าไร
ในอนาคต สนามบินที่ดี และทางหลวงและทางรถไฟที่ดีจะเชื่อมภาคเหนือและภาคอีสานเข้ากับ
ทะเลของเพื่อนบ้านได้ใกล้ชิดและสะดวกสบายยิ่งขึ้น
ด้วยทาเลที่ดียิ่งของเรา การคมนาคมทางบก ทะเล และอากาศ จะเชื่อมทุกส่วนของไทยไปสู่
เพื่อนบ้าน ไปโยงเชื่อมกับจีน อินเดีย อาเซียน ไปรับประโยชน์จากบูรพาภิวัตน์ได้มากยิ่งขึ้น
ขออย่างเดียวต้องทาให้เป็น ทาให้รอบด้าน ตั้งใจทา และจะต้องทาจากความคิดและยุทธศาสตร์ที่
รอบคอบและแหลมคม
ที่มา : Facebook Page เอนก เหล่าธรรมทัศน์ Anek Laothamatas https://www.facebook.com/AnekLaothamatas/
posts/966113673534298
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ประธานสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นายปาณัท ทองพ่วง
ที่มาภาพ : Google Maps
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร
กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559Klangpanya
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...Klangpanya
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559Klangpanya
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทยKlangpanya
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559Klangpanya
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่Klangpanya
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์Klangpanya
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560Klangpanya
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559Klangpanya
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยKlangpanya
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลกKlangpanya
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560Klangpanya
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกKlangpanya
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตKlangpanya
 

Andere mochten auch (18)

World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
 
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
World Think Tank Monitors l ตุลาคม 2559
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
 
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
World Think Tank Monitors l กันยายน 2559
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
 
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคตระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต
 

Mehr von Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Mehr von Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ที่ตั้งประเทศไทย

  • 1. ฉบับที่ 1 / 2560 Policy Brief วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะตัวแสดงระหว่าง ประเทศ : ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State; IS) เอนก เหล่าธรรมทัศน์ 1สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต "ที่ตั้ง" ประเทศไทย ประเทศไทยนั้นมีอะไรดีบ้าง? คงมีดีหลายอย่างครับ แต่ที่ดีที่สุดอย่างหนึ่งในขณะนี้ คือมีทาเล ที่ตั้งที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งในอาเซียน ในเอเชีย และอาจจะในโลกเอาเสียด้วย ประการแรก เราเป็นประเทศรวยทะเล-รวยมหาสมุทร ประเทศที่เล็กกว่าจีนยี่สิบเท่าแต่มีสอง ทะเล-สองมหาสมุทร คือ แปซิฟิก (อ่าวไทย) และ อินเดีย (อันดามัน) ฝั่งทะเลของเรายาวกว่าของ พม่าเสียอีก ยาวแพ้เวียดนามไม่มาก มีจังหวัดที่อยู่ติดทะเลถึง 23 จังหวัด พูดง่ายๆ ว่า ทุกๆ 4 จังหวัดของไทย ติดทะเลหนึ่งจังหวัด น่าทึ่ง ประเทศไทยนั้น ขอขยายความ ความจริงเป็นประเทศกึ่งบก-กึ่งทะเลเลย ไม่ใช่เป็นประเทศทาง บกที่มีเพียงชายหาดสวยงามเท่านั้น ต้องคิดใหม่ว่าเรามีศักยภาพเป็นชาติอานาจทางทะเลได้ด้วย หลาย ประเทศนั้นไม่มีทะเล ต้องรบเพื่อเปิดทางออกทะเล จีนนั้นแม้จะมีมหาสมุทรแปซิฟิก ก็ยังพยายามสุด ความสามารถที่จะมุ่งลงใต้ไปลงทะเลที่มหาสมุทรอินเดียให้ได้
  • 2. 2สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ใกล้กับภาคใต้ของเราคือ "ช่องแคบมะลักกา" ที่ปัจจุบันนี้ เป็นช่องทางเดินเรือทะเลสาคัญ ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยปริมาณสินค้า น้ามัน และแก๊ส ที่ลาเลียงผ่านช่องแคบนี้มีเป็นสามเท่าของ ที่ผ่านทางคลองสุเอซและคลองปานามา โลกทุกวันนี้มีช่องแคบมะลักกาเป็นเส้นทางเดินเรือที่สาคัญ ที่สุดแล้ว หากดูแผนที่ให้ดีจะเห็นว่ามีจังหวัดหนึ่งของไทยที่ถือเป็น "ปากทางเข้า" ช่องแคบนี้ทีเดียว จังหวัดสตูล ไงครับ ช่องแคบมะลักกานั้นส่วนใหญ่อยู่ระหว่างคาบสมุทรมลายูและเกาะสุมาตรา แต่ สตูลนั้นถือเป็นส่วนบนสุดทางขวามือของช่องแคบได้ เราเป็น "เจ้าของ" ช่องแคบมะลักกานิดหน่อย ช่องแคบมะลักกานั้นมีความสาคัญต่อจีน ญี่ปุ่น เกาหลี อาเซียน อินเดีย อ่าวเปอร์เซีย อาหรับ และยุโรปเป็นล้นพ้น มีความจาเป็นที่จะต้องมีทางเลี่ยงหรือทางเบี่ยงที่จะลดความเสี่ยงจากความล่าช้า ติดขัด หรือปิดตัวลงของทางเดินเรือในช่องแคบด้วยสาเหตุนานาประการ คาบสมุทรภาคใต้ของไทยมีศักยภาพสูงที่จะเป็นทางเบี่ยงหรือทางเลี่ยงนั้น ไม่ว่าจะทาในรูป ของคลองกระ (เชื่อมจังหวัดระนอง-ชุมพร) หรือคลองไทย (เชื่อมตรัง-นครศรีธรรมราช) หรือทา เป็น "แลนด์บริดจ์" (เชื่อมสองฝั่งสองมหาสมุทรด้วยรถไฟและทางหลวงขนาดใหญ่) คู่ขนานกันไป จะมีโครงการตัดทางหลวงหรือทารถไฟความเร็วปานกลาง-สูง ที่จะเชื่อม อินเดีย จีน และอาเซียนภาคพื้นทวีปเข้ากับมาเลเซีย สิงคโปร์ สุมาตรา ชวา ซึ่งโดยทาเลของไทยเป็น เหตุ เส้นทางเหล่านั้นจะต้องผ่านหลายภาคของไทย ผ่านกรุงเทพฯ และผ่านภาคใต้อย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ไทยมีศักยภาพที่จะเป็นชาติอานาจทางลอจิสติกส์ จะเป็นศูนย์กลางของเส้นทางคมนาคมที่ เชื่อมร้อยตลาดจีน อินเดีย และตลาดอาเซียนเข้าด้วยกัน จะชอบหรือไม่ จะเต็มใจหรือไม่ ไทยมี "ทาเลทอง" ที่เป็นศูนย์กลางของอาเซียน เป็น "สะพาน ทอง" เชื่อมยึดจีนและอินเดีย สองยักษ์ใหญ่ของเศรษฐกิจโลก เข้ากับเออีซี ทาเลที่ดีของเราจะไม่เอื้อประโยชน์เฉพาะแต่กรุงเทพฯ และภาคใต้เท่านั้นครับ ภาคเหนือของ ไทยจะเชื่อมโยงกับนครและเมืองใหญ่ของจีนตอนใต้ (เชียงรุ้ง คุนหมิง ฉงชิ่ง เฉิงตู) ลาว (หลวงพระ บาง เวียงจันทน์) และที่ขอย้าเป็นพิเศษเพราะเรามักจะคิดไม่ถึง คือ พม่า (กรุงเนปิดอว์ พุกาม มัณฑะเลย์ ตองอู อังวะ) โปรดทราบนะครับว่า "พม่าแท้ๆ" นั้นใกล้แม่ฮ่องสอนและเชียงใหม่มาก เนปิดอว์นั้นอยู่ใกล้ เกือบชิดแม่ฮ่องสอน ข้ามรัฐฉานจากแม่ฮ่องสอนไปนิดเดียวก็จะเจอกรุงเนปิดอว์เลย แม้แต่ย่างกุ้ง เมืองใหญ่ที่สุดของพม่าก็ใกล้แม่ฮ่องสอน ตาก และเชียงใหม่มาก
  • 3. 3สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ลาวและเวียดนามก็ใกล้เชียงรายและน่านมาก จากเชียงรายบินไปหลวงพระบาง เวียงจันทน์ ใกล้มาก ใช้เวลาเท่าๆ กับบินไปเชียงรุ้งและคุนหมิง และน่านนั้นยังพิเศษสุดที่อยู่ค่อนข้างใกล้ฮานอย ด้วย เวลาบินน่าจะไม่ถึงชั่วโมง นานมากแล้วที่เราคิดว่าแม่ฮ่องสอน ตาก และน่านเป็น "หลังเขา" เพราะเราเอากรุงเทพฯ เป็น ศูนย์กลาง แต่ในยุคบูรพาภิวัตน์นั้น ในขณะนี้ลาว พม่าล้วนโตเร็วกว่าไทยมาก ลาวโตมากกว่า 7 เปอร์เซ็นต์ต่อปีมาเป็นทศวรรษแล้ว พม่าเติบโตปีละ 12.5 เปอร์เซ็นต์มาในช่วงเวลาเดียวกัน ภาคเหนือของไทยมีศักยภาพและพร้อมที่จะเติบโตทางเศรษฐกิจสูงมากตามเพื่อนบ้านได้ โดยเฉพาะ หากได้เชื่อมโยงทางคมนาคมเข้ากับจีนตอนใต้ พม่าทางตอนเหนือที่เป็นพม่าแท้ๆ ลาว และ เวียดนามทางตอนเหนือ อีสานของไทยก็จะได้ประโยชน์จากบูรพาภิวัตน์แน่นอน คนไทยมักไม่ทราบว่าภาคที่ใกล้กับ ประเทศจีนที่สุดโดยการบินนั้นคืออีสานนะครับ ไม่ใช่ภาคเหนืออย่างที่เรามักคิด เนื่องจากนครใหญ่ ของจีนนั้นอยู่ทางด้านตะวันออกของประเทศเกือบทั้งหมด จากจีนบินมาไทยจาต้องผ่านอีสานก่อน ทั้งสิ้น จะเห็นว่าเกาะไหหลานั้นใกล้อีสานมาก ถ้าบินจากฮ่องกง มาเก๊า กว่างเจา เซี่ยงไฮ้ ปักกิ่ง หาก ลงไทยที่หนองคาย บึงกาฬ หรืออุดร แทนที่จะลงกรุงเทพฯ จะลดเวลาบินลงถึงหนึ่งชั่วโมงได้ ในยุคบูรพาภิวัตน์ ด้วยที่ตั้งประเทศที่เป็นเยี่ยมอย่างนี้ ภาคอีสานและภาคเหนือจะต้องสร้าง หรือขยายสนามบินนานาชาติให้ยิ่งใหญ่ไปเลย อย่ามัวทาอะไรเล่นๆ สร้างการท่องเที่ยวขนาดใหญ่ที่มี คุณภาพที่อีสานด้วยเพื่อดึงนักท่องเที่ยวจากเวียดนามและจีนมาให้มากขึ้น อีสานตอนใต้จะได้ประโยชน์มากจากกัมพูชาซึ่งเติบโตปีละ 8.5 เปอร์เซ็นต์ติดต่อกันมาสิบปี แล้ว เสียมเรียบที่อยู่ใกล้กันคือเมืองท่องเที่ยวระดับโลก พนมเปญคือเมืองใหญ่ที่สุดบนฝั่งแม่น้าโขง ทั้งหมด คนเจ็ดแปดล้านคน เติบโตสูงกว่า 8.5 เปอร์เซ็นต์ต่อปีแน่ๆ น่าจะโตไม่น้อยกว่าปีละ 15- 20 เปอร์เซ็นต์ เท่าที่ประเมินเองอย่างคร่าวๆ อีสานเป็นภาคที่ยึดโยงกับทั้งลาวและกัมพูชา "โคราช" ของเราคือมหานครที่เชื่อมยึดและโยงใยกับสองประเทศนั้นไปพร้อมๆ กันได้เลย ภาคตะวันตกจะได้ประโยชน์จากการเชื่อมพม่าส่วนที่เป็นดินแดนมอญและกะเหรี่ยงเป็นหลัก เข้ากับไทย และจะเลยไปถึงอินเดียและบังกลาเทศในอนาคตไม่ไกล ส่วนภาคตะวันออกจะเชื่อมชลบุรี ระยอง จันทบุรีและตราดเข้ากับกัมพูชาส่วนที่อยู่ใกล้ทะเลหรืออ่าวไทย
  • 4. 4สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต คงเริ่มสงสัยกันบ้างแล้วว่าทาไมประเทศไทยเราช่างต่อเชื่อมกับเพื่อนบ้านได้มากมายจัง ก็ขอ บอกว่าเรามีจังหวัดที่ติดชายแดนถึง 33 จังหวัด พูดง่ายๆ ทุกๆ 2-3 จังหวัดจะมีชายแดนติด ต่างประเทศ 1 จังหวัด อลังการมากครับ อานาจหรือศักยภาพในการเชื่อมโยงของเรา connectivity ที่ ชอบพูดถึงกันไง ประเทศไทยมีศักยภาพทั้งทางบกและทางทะเล ขอย้าอีกที เอาเข้าจริงแล้ว ไม่มีภาคไหนไกล ทะเลเลย น่าอัศจรรย์ ถ้าทะเลนั้นเราไม่หมายถึงแต่อ่าวไทย เช่น ตาก แม่ฮ่องสอนนั้น ไม่ไกลทะเลอัน ดามันเลย เพียงมีดินแดนพม่าแคบๆ มาคั่นเอาไว้ เท่านั้น ฝนที่ตกที่สองจังหวัดนี้มาจากความชุ่มชื้น ที่มาจากทะเล ที่ให้ทั้งภาคใต้ที่ติดอันดามันและให้ทั้งภาคเหนือด้านตะวันตกที่อยู่ไม่ห่างอันดามัน ภาคเหนือด้านตะวันออกก็ไม่ห่างจากน้าทะเล หากหมายถึงทะเลจีนใต้หรืออ่าวตังเกี๋ยของ เวียดนามเหนือ ภาคอีสานเล่าก็ไม่ไกลจากเกาะไหหลา จากทะเลเวียดนาม และทะเลจีนเท่าไร ในอนาคต สนามบินที่ดี และทางหลวงและทางรถไฟที่ดีจะเชื่อมภาคเหนือและภาคอีสานเข้ากับ ทะเลของเพื่อนบ้านได้ใกล้ชิดและสะดวกสบายยิ่งขึ้น ด้วยทาเลที่ดียิ่งของเรา การคมนาคมทางบก ทะเล และอากาศ จะเชื่อมทุกส่วนของไทยไปสู่ เพื่อนบ้าน ไปโยงเชื่อมกับจีน อินเดีย อาเซียน ไปรับประโยชน์จากบูรพาภิวัตน์ได้มากยิ่งขึ้น ขออย่างเดียวต้องทาให้เป็น ทาให้รอบด้าน ตั้งใจทา และจะต้องทาจากความคิดและยุทธศาสตร์ที่ รอบคอบและแหลมคม ที่มา : Facebook Page เอนก เหล่าธรรมทัศน์ Anek Laothamatas https://www.facebook.com/AnekLaothamatas/ posts/966113673534298 เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ประธานสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นายปาณัท ทองพ่วง ที่มาภาพ : Google Maps สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864