SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 5
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง "ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่" โดย แพทย์หญิง
เขมรัฐ เหล่าธรรมทัศน์ จัดโดยสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ในวันจันทร์ที่ 27 มิถุนายน 2559 เวลา 13.00 –
16.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
แพทย์หญิง เขมรัฐ เหล่าธรรมทัศน์
ความเป็นมาของ “ยาปฏิชีวนะ”
ก่อนที่จะมียาปฏิชีวนะ มนุษย์ไม่ค่อยมีชีวิตยืนยาวสักเท่าไร ติดเชื้อเล็กน้อยก็อาจเสียชีวิตได้ การ
ผ่าตัด ถือเป็นความเสี่ยงสูงมาก เพราะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ แม้แต่การผ่าตัดไส้ติ่ง ที่ในสมัยนี้ดูเป็นเรื่องง่าย
แต่หากเป็นยุคก่อนจะมียาปฏิชีวนะ ต้องลุ้นมากว่าจะได้ออกมาจากห้องผ่าตัดหรือไม่
มีนักวิทยาศาสตร์หลายคนพยายามคิดค้นยาปฏิชีวนะตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918)
แต่ยังไม่มีใครสามารถสกัดยาออกมาได้ จนกระทั่งในปี 1928 อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิ่ง (Alexander Flem-
ing) นักชีววิทยาและนักเภสัชวิทยาชาวสก็อตแลนด์ ได้ค้นพบวิธีการสกัดยาเพนิซิลิน(Penicillin) ยา
ปฏิชีวนะตัวแรกของโลกได้สาเร็จ แต่มีข้อจากัดคือ ไม่สามารถผลิตได้มากเพียงพอสาหรับนาไปใช้ใน
สงครามโลก เนื่องจากรัฐบาลอังกฤษไม่มีเงินทุนมากพอในการสนับสนุน เพราะอังกฤษเองบอบช้าจาก
สงครามมาก
1
เอกสารวิชาการ
ฉบับที่ 1 /2559
ยาปฏิชีวนะ
วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
ในสงคราม ทหารต้องเข้าไปอยู่ในสนามเพลาะ ประกอบกับอากาศที่ชื้นและหนาวทาให้เท้าติดเชื้อจนต้อง
ตัดทิ้ง และมีทหารตายด้วยสาเหตุนี้เป็นจานวนมาก แพทย์จึงเริ่มตระหนักว่าหากมียามารักษาการติดเชื้อนี้ จะ
สามารถรักษาชีวิตทหารไว้ได้จานวนมาก จนกระทั่ง ปี 1941 นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบียกับ
บริษัทไฟเซอร์ (Pfizer) บริษัทผลิตยาขนาดใหญ่ของสหรัฐอเมริกา ตัดสินใจร่วมมือกันผลิตยาเพนิซิลินออก
มาเป็นจานวนมาก เพื่อนาไปใช้ในครามโลกครั้งที่ 2
ขณะนั้น บริษัทไฟเซอร์ ต้องใช้เงินลงทุนหลายล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นเงินที่สูงมากในสมัยนั้น และเป็นสิ่ง
ใหม่ที่ไม่เคยมีใครทา จึงคิดหนักมากว่าควรลงทุนหรือไม่ จนสุดท้าย ได้ข้อสรุปว่านี่เป็นสิ่งที่ควรลงทุน แม้ว่าบริษัท
จะขาดทุน เพราะอาจจะเป็นหนทางที่จะช่วยชีวิตมนุษยชาติในอนาคตได้อีกมาก
จนถึงวันนี้ ยาเพนิซิลิน ยังถือว่าเป็นยาปฏิชีวนะที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและมีความปลอดภัยมาก
ที่สุดนับตั้งแต่การค้นพบยาปฏิชีวนะมา
คุณสมบัติของยาปฏิชีวนะ
ยาปฏิชีวนะใช้รักษาโรคติดเชื้อ ที่เกิดจากเชื้อโรค 4 กลุ่ม ดังนี้ 1) Viral (เชื้อไวรัส) 2) Bacterial (เชื้อ
แบคทีเรีย) 3) Fungal (เชื้อรา) และ 4) Parasitic (เชื้อปรสิต)
โดยทั่วไป การรักษาคนไข้ที่มีอาการแนวโน้มอาจติดเชื้อ แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะหว่านกันไว้ก่อน ซึ่งการใช้
ยาปฏิชีวนะหว่านก่อนในขั้นแรกนั้น ไม่ถือว่าเป็นสิ่งเลวร้าย เนื่องจากหากคนไข้มีอาการติดเชื้อ แต่แพทย์ไม่ได้ให้ยา
ปฏิชีวนะ อาจทาให้การติดเชื้อลุกลาม และอาจส่งผลต่อชีวิตได้ เพียงแต่เมื่อทราบว่าอาการติดเชื้อนั้นเกิดจากสาเหตุ
ใด และต้องใช้ยาปฏิชีวนะตัวใดในการรักษา ก็ปรับให้เหมาะสมกับอาการ โดยหลักการใช้ยาปฏิชีวนะมีดังนี้
1. Signs of infection ดูสัญญาณว่าเป็นอาการของการติดเชื้อหรือไม่ เช่น วัดอุณหภูมิร่างกาย จานวนเม็ด
เลือดขาว อัตราการหายใจ เป็นต้น
2. Culture data หลังจากพิจารณา Signs of infection แล้วก็จะทาการตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ หรืออาจจะ
เจาะน้าตรงหัวเข่า มาเพาะเชื้อดูว่ามีอาการติดเชื้อหรือไม่ ขั้นตอนนี้ใช้เวลา 3-5 วัน ซึ่งจากขั้นตอนนี้จะทาให้ทราบ
ว่าเป็นเชื้อโรคตัวไหน และนอกจากนั้นยังทราบว่าจะใช้ยาปฏิชีวนะตัวไหนมารักษาต่อไป
3. Broad spectrum antibiotics ในขั้นแรก เป็นการใช้ยาปฏิชีวนะฆ่าหว่านไปทั่ว เพราะยังไม่รู้ว่ามีเชื้อโรค
ตัวไหนบ้าง
4. Narrowing antibiotics เมื่อทราบว่าเป็นเชื้อโรคตัวไหน จากการตรวจแบบ Culture data ก็จะเริ่มใช้ยา
ปฏิชีวนะแบบเจาะจง
5. Duration of treatment ระยะเวลาการรักษา ใช้ยากี่วัน
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน
ปัจจุบัน คนทั่วไปใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิดและใช้มากเกินไป โดยที่ไม่มีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง
เกี่ยวกับยาปฏิชีวนะ ทาให้เกิดเชื้อโรคดื้อยา และมีแนวโน้มว่าจะมีเชื้อโรคที่ดื้อยามากขึ้นเรื่อยๆ ตัวอย่างเช่น มีเชื้อ
โรคอีโคไลบางตัวที่เกิดการต้านยาคอลิสติน (Colistin) ซึ่งเป็นยาตัวที่ค่อนข้างมีประสิทธิภาพสูงและมีผลข้างเคียง
ค่อนข้างรุนแรง แพทย์หลายคนจึงมักหลีกเลี่ยง แต่ในกรณีนี้ ยาตัวอื่นไม่สามารถจัดการเชื้อตัวนี้ได้ จึงนามาใช้แล้ว
พบว่า เชื้ออีโคไลนี้สามารถต้านยาคอลิสตินได้ โดยพบเชื้ออีโคไลตัวนี้ที่ประเทศจีนเป็นที่แรก ต่อมาพบที่มาเลเซีย
พม่า และล่าสุดพบที่สหรัฐอเมริกา
เชื้อดื้อยาปฏิชีวนะอาจเกิดจากหลายปัจจัย ดังนี้
1) ความต้องการของคนไข้ คนไข้ขอให้แพทย์จ่ายยาให้ ทั้งที่บางครั้งเกินความจาเป็น
2) เมื่อได้ยามาก็ใช้ยาไม่ครบคอร์สตามที่แพทย์สั่ง ดังเช่น แพทย์สั่งให้ทานยา 7 วัน แต่ทานยาแค่ 3 วันแล้ว
เลิก
3) คนไข้ไปซื้อยาทานเองจากร้านขายยา
4) แพทย์สั่งยาปฏิชีวนะผิดตัว
5) การนายาปฏิชีวนะไปใช้ในการปศุสัตว์ เช่น หมู สัตว์ เพื่อเร่งการเติบโต
การคิดค้นยาปฏิชีวนะ หยุดอยู่แค่ปี 1980 นับตั้งแต่นั้นไม่มีการคิดค้นยาปฏิชีวนะใหม่ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะยา
ปฏิชีวนะมีราคาค่อนข้างถูก บริษัทยาต่างๆ มองว่าไม่คุ้มที่จะลงทุนทาการวิจัยและพัฒนา เพราะยาประเภทอื่นได้
เงินสูงกว่า เช่น ยาหัวใจและยาคลอเรสเตอรอล รวมถึงบรรยากาศการทางานในปัจจุบันไม่คึกคักเช่นในอดีต แต่ใน
อดีต บริษัทไฟเซอร์ยอมลงทุนทาผลิตยาเพนิซิลิน แม้ไม่รู้ว่าจะขาดทุนหรือไม่ เพราะมองเห็นถึงความจาเป็นของ
ยา นอกจากนี้ยังแบ่งความรู้เหล่านี้ให้แก่บริษัทยาอื่นๆ อีกด้วย
ข้อเสนอแนะ
มีข้อกังวลว่าอนาคตจะมีเชื้อโรคดื้อยาที่ไม่มียาปฏิชีวนะตัวใดสามารถต้านได้หรือไม่ และจะทาให้การใช้ชีวิต
ลาบากมากขึ้นเพียงใด หากแค่แผลที่ถูกกระดาษบาดอาจทาให้เสียชีวิตได้ หรือไม่สามารถทาการผ่าตัดได้
เนื่องจากไม่มียาปฏิชีวนะที่ต้านเชื้อโรคได้ ดังนั้น เราต้องกลับมาคิดทบทวนถึงแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้อง โดย
เริ่มที่ตัวเราเอง คือ การล้างมือ(Hand hygiene) ยังเป็นสิ่งที่สาคัญอย่างหนึ่งที่เราทากันได้ โดยเฉพาะใน
โรงพยาบาล และการกินโพรไบออติกส์ (Probiotics) เช่น ที่มีในโยเกิร์ต เป็นการเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง
แม้ไม่ส่งผลทันทีแต่อาจส่งผลในระยะยาว นอกจากนี้ ในด้านการวิจัยและการพัฒนา ควรมีหน่วยงานให้เงิน
สนับสนุนบริษัทยา เพื่อวิจัยพัฒนายาปฏิชีวนะต่อไป โดยเฉพาะในประเทศไทยเอง เนื่องจากเราใช้ความรู้จาก
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3
ตะวันตกเสียมาก เราควรทาเองมากขึ้น หายาที่เหมาะสมกับคนไทยและสภาพภูมิอากาศ และเกิดองค์ความรู้ใหม่
ในประเทศด้วย
และในปัจจุบัน ประเทศไทยให้ความสาคัญกับวงการแพทย์มาก ในขณะที่ ให้ความสาคัญกับสาธารณสุขน้อย
ทั้งๆ ที่การแพทย์เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ คือเมื่อเจ็บป่วยแล้วจึงไปรักษา แต่สาธารณสุขมีบทบาทในการ
ป้องกันการเกิดโรค ดังนั้น เราจึงควรส่งเสริมบทบาทของสาธารณสุขในการป้ องกันโรคต่างๆ เพราะเป็นการ
แก้ปัญหาที่ต้นเหตุ นอกจากนี้ควรสร้างสานึกพื้นฐาน (Basic awareness) ในเรื่องการรักษาสุขภาพและการ
ดูแลตัวเองให้ประชาชน ซึ่งต้องเริ่มตั้งแต่การให้การศึกษาในเด็ก ให้ความรู้ความเข้าใจ เพื่อให้คนใช้ชีวิตอย่าง
ประณีตมากขึ้น
จากการที่คนทั่วไปสามารถซื้อยาปฏิชีวนะได้ง่ายมากตามร้านขายยาต่างๆ จนเกิดการดื้อยาเป็นวงกว้าง
เกิดคาถามตามมาว่า เรายังควรที่จะอนุญาตให้ร้านขายยาทั่วไป ขายยาปฏิชีวนะหรือไม่? ซึ่งเมื่อพิจารณาแล้ว
จาเป็นต้องอนุญาตให้ขายต่อไป เนื่องจากบางกรณี คนไข้สามารถซื้อยาเองได้ เช่น ผู้หญิงที่เคยเป็นโรคกระเพาะ
ปัสสาวะอักเสบ จะทราบอาการ และสามารถไปซื้อยาเฉพาะได้ โดยที่ไม่ต้องเสียเวลาไปโรงพยาบาลเพื่อตรวจโรค
อย่างไรก็ตาม ควรมีการควบคุมการจ่ายยาปฏิชีวนะ เพราะปัจจุบัน ไม่จาเป็นต้องเป็นแพทย์ระบาดวิทยา ก็
สามารถจ่ายยาปฏิชีวนะได้ ดังนั้น จึงควรมีการจากัดการจ่ายยาในกรณีที่เป็นยา last resource จากัดให้
เฉพาะแพทย์ระบาดวิทยาที่สามารถจ่ายได้ แต่ในกรณีที่บางพื้นที่ไม่มีแพทย์ระบาดวิทยา อาจจะต้องทา
ข้อยกเว้นในแต่ละพื้นที่
สุดท้ายแล้ว การต่อสู้กับแบคทีเรีย เราเอาชนะไม่ได้ เพราะวงจรการขยายตัวของแบคทีเรีย เป็นไปอย่าง
รวดเร็ว เมื่อใช้ยาปฏิชีวนะสักตัว ก็จะมีเชื้อตัวใหม่ที่ต้านยาได้เกิดขึ้น ที่เราทาได้คือต้องพยายามแข่งอย่างไรให้เรา
พอมีอาวุธที่สู้กับแบคทีเรียได้ และทุกครั้งที่จะใช้ยาปฏิชีวนะ ขอให้ตระหนักถึงผลกระทบต่อคนอื่น หากเกิด
เชื้อดื้อยาขึ้นมา ผู้ที่จะได้รับผลกระทบก่อนคือผู้ที่มีภูมิต้านทานต่า คนชรา และเด็ก ซึ่งในเรื่องนี้ ต้องช่วยกันทุก
ภาคส่วน ทั้งประชาชน วงการการแพทย์ วงการยา และวงการสาธารณสุข
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4
5
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้บรรยาย : แพทย์หญิง เขมรัฐ เหล่าธรรมทัศน์
ผู้สรุปและจัดรูปเล่ม : น.ส.ปลายฟ้า บุนนาค
อ้างอิงปก : https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/3/37/
Nobelpristagare_Fleming_Midi.jpg,
https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/9/99/
Penicillin_core.svg/2000px-Penicillin_core.svg.png
ปีที่พิมพ์: กรกฎาคม 2559
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนPa'rig Prig
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาLatthapol Winitmanokul
 
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Goldeneyes ToTo
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านPa'rig Prig
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 

Was ist angesagt? (17)

หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
Adr skin
Adr skinAdr skin
Adr skin
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีน
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
 
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
 
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้านบทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
บทที่ 8 การใช้ยาที่บ้าน
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน
 

Andere mochten auch

Ph pro vacature-phpdeveloper_nl
Ph pro vacature-phpdeveloper_nlPh pro vacature-phpdeveloper_nl
Ph pro vacature-phpdeveloper_nltikhk
 
4th September 2016 - The Parable of the Two sons
4th September 2016  - The Parable of the Two sons4th September 2016  - The Parable of the Two sons
4th September 2016 - The Parable of the Two sonsThorn Group Pvt Ltd
 
World issues
World issuesWorld issues
World issuesTeeranan
 
Presentación BootCamp - Microsoft RemoteApp
Presentación BootCamp - Microsoft RemoteAppPresentación BootCamp - Microsoft RemoteApp
Presentación BootCamp - Microsoft RemoteAppalonso
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Teeranan
 
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามTeeranan
 
ejercicios de ecuaciones cuadraticas
 ejercicios de ecuaciones cuadraticas ejercicios de ecuaciones cuadraticas
ejercicios de ecuaciones cuadraticasMarie Alamilla
 
Tests copy (19)
Tests   copy (19)Tests   copy (19)
Tests copy (19)vacky84
 

Andere mochten auch (14)

Ph pro vacature-phpdeveloper_nl
Ph pro vacature-phpdeveloper_nlPh pro vacature-phpdeveloper_nl
Ph pro vacature-phpdeveloper_nl
 
4th September 2016 - The Parable of the Two sons
4th September 2016  - The Parable of the Two sons4th September 2016  - The Parable of the Two sons
4th September 2016 - The Parable of the Two sons
 
160122 valoración datos turismo GUIPUZCOA
160122 valoración datos turismo GUIPUZCOA160122 valoración datos turismo GUIPUZCOA
160122 valoración datos turismo GUIPUZCOA
 
World issues
World issuesWorld issues
World issues
 
Prestige Freguesia
Prestige FreguesiaPrestige Freguesia
Prestige Freguesia
 
Via Bella Península
Via Bella PenínsulaVia Bella Península
Via Bella Península
 
Presentación BootCamp - Microsoft RemoteApp
Presentación BootCamp - Microsoft RemoteAppPresentación BootCamp - Microsoft RemoteApp
Presentación BootCamp - Microsoft RemoteApp
 
Linkedin_ARP_2
Linkedin_ARP_2Linkedin_ARP_2
Linkedin_ARP_2
 
Sem 2 dia 3 internet cot
Sem 2 dia 3 internet cotSem 2 dia 3 internet cot
Sem 2 dia 3 internet cot
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012
 
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
 
ejercicios de ecuaciones cuadraticas
 ejercicios de ecuaciones cuadraticas ejercicios de ecuaciones cuadraticas
ejercicios de ecuaciones cuadraticas
 
Cloud computing
Cloud computingCloud computing
Cloud computing
 
Tests copy (19)
Tests   copy (19)Tests   copy (19)
Tests copy (19)
 

Ähnlich wie ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่

ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย2077842018
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย2077842018
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553Utai Sukviwatsirikul
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าsucheera Leethochawalit
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒cherdpr1
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2Techin Pha-In
 

Ähnlich wie ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่ (20)

ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
 
Ortho osteoarthritis
Ortho osteoarthritisOrtho osteoarthritis
Ortho osteoarthritis
 
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2แบบตอบคำถาม Dis 2
แบบตอบคำถาม Dis 2
 
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
4.5 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาปรสิตวิทยา
 

Mehr von Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Mehr von Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่

  • 1. ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง "ยาปฏิชีวนะ : วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่" โดย แพทย์หญิง เขมรัฐ เหล่าธรรมทัศน์ จัดโดยสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ในวันจันทร์ที่ 27 มิถุนายน 2559 เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต แพทย์หญิง เขมรัฐ เหล่าธรรมทัศน์ ความเป็นมาของ “ยาปฏิชีวนะ” ก่อนที่จะมียาปฏิชีวนะ มนุษย์ไม่ค่อยมีชีวิตยืนยาวสักเท่าไร ติดเชื้อเล็กน้อยก็อาจเสียชีวิตได้ การ ผ่าตัด ถือเป็นความเสี่ยงสูงมาก เพราะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ แม้แต่การผ่าตัดไส้ติ่ง ที่ในสมัยนี้ดูเป็นเรื่องง่าย แต่หากเป็นยุคก่อนจะมียาปฏิชีวนะ ต้องลุ้นมากว่าจะได้ออกมาจากห้องผ่าตัดหรือไม่ มีนักวิทยาศาสตร์หลายคนพยายามคิดค้นยาปฏิชีวนะตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) แต่ยังไม่มีใครสามารถสกัดยาออกมาได้ จนกระทั่งในปี 1928 อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิ่ง (Alexander Flem- ing) นักชีววิทยาและนักเภสัชวิทยาชาวสก็อตแลนด์ ได้ค้นพบวิธีการสกัดยาเพนิซิลิน(Penicillin) ยา ปฏิชีวนะตัวแรกของโลกได้สาเร็จ แต่มีข้อจากัดคือ ไม่สามารถผลิตได้มากเพียงพอสาหรับนาไปใช้ใน สงครามโลก เนื่องจากรัฐบาลอังกฤษไม่มีเงินทุนมากพอในการสนับสนุน เพราะอังกฤษเองบอบช้าจาก สงครามมาก 1 เอกสารวิชาการ ฉบับที่ 1 /2559 ยาปฏิชีวนะ วันนี้โลกต้องทบทวนและยกเครื่องระบบสุขภาพใหม่
  • 2. ในสงคราม ทหารต้องเข้าไปอยู่ในสนามเพลาะ ประกอบกับอากาศที่ชื้นและหนาวทาให้เท้าติดเชื้อจนต้อง ตัดทิ้ง และมีทหารตายด้วยสาเหตุนี้เป็นจานวนมาก แพทย์จึงเริ่มตระหนักว่าหากมียามารักษาการติดเชื้อนี้ จะ สามารถรักษาชีวิตทหารไว้ได้จานวนมาก จนกระทั่ง ปี 1941 นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบียกับ บริษัทไฟเซอร์ (Pfizer) บริษัทผลิตยาขนาดใหญ่ของสหรัฐอเมริกา ตัดสินใจร่วมมือกันผลิตยาเพนิซิลินออก มาเป็นจานวนมาก เพื่อนาไปใช้ในครามโลกครั้งที่ 2 ขณะนั้น บริษัทไฟเซอร์ ต้องใช้เงินลงทุนหลายล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นเงินที่สูงมากในสมัยนั้น และเป็นสิ่ง ใหม่ที่ไม่เคยมีใครทา จึงคิดหนักมากว่าควรลงทุนหรือไม่ จนสุดท้าย ได้ข้อสรุปว่านี่เป็นสิ่งที่ควรลงทุน แม้ว่าบริษัท จะขาดทุน เพราะอาจจะเป็นหนทางที่จะช่วยชีวิตมนุษยชาติในอนาคตได้อีกมาก จนถึงวันนี้ ยาเพนิซิลิน ยังถือว่าเป็นยาปฏิชีวนะที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและมีความปลอดภัยมาก ที่สุดนับตั้งแต่การค้นพบยาปฏิชีวนะมา คุณสมบัติของยาปฏิชีวนะ ยาปฏิชีวนะใช้รักษาโรคติดเชื้อ ที่เกิดจากเชื้อโรค 4 กลุ่ม ดังนี้ 1) Viral (เชื้อไวรัส) 2) Bacterial (เชื้อ แบคทีเรีย) 3) Fungal (เชื้อรา) และ 4) Parasitic (เชื้อปรสิต) โดยทั่วไป การรักษาคนไข้ที่มีอาการแนวโน้มอาจติดเชื้อ แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะหว่านกันไว้ก่อน ซึ่งการใช้ ยาปฏิชีวนะหว่านก่อนในขั้นแรกนั้น ไม่ถือว่าเป็นสิ่งเลวร้าย เนื่องจากหากคนไข้มีอาการติดเชื้อ แต่แพทย์ไม่ได้ให้ยา ปฏิชีวนะ อาจทาให้การติดเชื้อลุกลาม และอาจส่งผลต่อชีวิตได้ เพียงแต่เมื่อทราบว่าอาการติดเชื้อนั้นเกิดจากสาเหตุ ใด และต้องใช้ยาปฏิชีวนะตัวใดในการรักษา ก็ปรับให้เหมาะสมกับอาการ โดยหลักการใช้ยาปฏิชีวนะมีดังนี้ 1. Signs of infection ดูสัญญาณว่าเป็นอาการของการติดเชื้อหรือไม่ เช่น วัดอุณหภูมิร่างกาย จานวนเม็ด เลือดขาว อัตราการหายใจ เป็นต้น 2. Culture data หลังจากพิจารณา Signs of infection แล้วก็จะทาการตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ หรืออาจจะ เจาะน้าตรงหัวเข่า มาเพาะเชื้อดูว่ามีอาการติดเชื้อหรือไม่ ขั้นตอนนี้ใช้เวลา 3-5 วัน ซึ่งจากขั้นตอนนี้จะทาให้ทราบ ว่าเป็นเชื้อโรคตัวไหน และนอกจากนั้นยังทราบว่าจะใช้ยาปฏิชีวนะตัวไหนมารักษาต่อไป 3. Broad spectrum antibiotics ในขั้นแรก เป็นการใช้ยาปฏิชีวนะฆ่าหว่านไปทั่ว เพราะยังไม่รู้ว่ามีเชื้อโรค ตัวไหนบ้าง 4. Narrowing antibiotics เมื่อทราบว่าเป็นเชื้อโรคตัวไหน จากการตรวจแบบ Culture data ก็จะเริ่มใช้ยา ปฏิชีวนะแบบเจาะจง 5. Duration of treatment ระยะเวลาการรักษา ใช้ยากี่วัน สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2
  • 3. สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ปัจจุบัน คนทั่วไปใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิดและใช้มากเกินไป โดยที่ไม่มีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง เกี่ยวกับยาปฏิชีวนะ ทาให้เกิดเชื้อโรคดื้อยา และมีแนวโน้มว่าจะมีเชื้อโรคที่ดื้อยามากขึ้นเรื่อยๆ ตัวอย่างเช่น มีเชื้อ โรคอีโคไลบางตัวที่เกิดการต้านยาคอลิสติน (Colistin) ซึ่งเป็นยาตัวที่ค่อนข้างมีประสิทธิภาพสูงและมีผลข้างเคียง ค่อนข้างรุนแรง แพทย์หลายคนจึงมักหลีกเลี่ยง แต่ในกรณีนี้ ยาตัวอื่นไม่สามารถจัดการเชื้อตัวนี้ได้ จึงนามาใช้แล้ว พบว่า เชื้ออีโคไลนี้สามารถต้านยาคอลิสตินได้ โดยพบเชื้ออีโคไลตัวนี้ที่ประเทศจีนเป็นที่แรก ต่อมาพบที่มาเลเซีย พม่า และล่าสุดพบที่สหรัฐอเมริกา เชื้อดื้อยาปฏิชีวนะอาจเกิดจากหลายปัจจัย ดังนี้ 1) ความต้องการของคนไข้ คนไข้ขอให้แพทย์จ่ายยาให้ ทั้งที่บางครั้งเกินความจาเป็น 2) เมื่อได้ยามาก็ใช้ยาไม่ครบคอร์สตามที่แพทย์สั่ง ดังเช่น แพทย์สั่งให้ทานยา 7 วัน แต่ทานยาแค่ 3 วันแล้ว เลิก 3) คนไข้ไปซื้อยาทานเองจากร้านขายยา 4) แพทย์สั่งยาปฏิชีวนะผิดตัว 5) การนายาปฏิชีวนะไปใช้ในการปศุสัตว์ เช่น หมู สัตว์ เพื่อเร่งการเติบโต การคิดค้นยาปฏิชีวนะ หยุดอยู่แค่ปี 1980 นับตั้งแต่นั้นไม่มีการคิดค้นยาปฏิชีวนะใหม่ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะยา ปฏิชีวนะมีราคาค่อนข้างถูก บริษัทยาต่างๆ มองว่าไม่คุ้มที่จะลงทุนทาการวิจัยและพัฒนา เพราะยาประเภทอื่นได้ เงินสูงกว่า เช่น ยาหัวใจและยาคลอเรสเตอรอล รวมถึงบรรยากาศการทางานในปัจจุบันไม่คึกคักเช่นในอดีต แต่ใน อดีต บริษัทไฟเซอร์ยอมลงทุนทาผลิตยาเพนิซิลิน แม้ไม่รู้ว่าจะขาดทุนหรือไม่ เพราะมองเห็นถึงความจาเป็นของ ยา นอกจากนี้ยังแบ่งความรู้เหล่านี้ให้แก่บริษัทยาอื่นๆ อีกด้วย ข้อเสนอแนะ มีข้อกังวลว่าอนาคตจะมีเชื้อโรคดื้อยาที่ไม่มียาปฏิชีวนะตัวใดสามารถต้านได้หรือไม่ และจะทาให้การใช้ชีวิต ลาบากมากขึ้นเพียงใด หากแค่แผลที่ถูกกระดาษบาดอาจทาให้เสียชีวิตได้ หรือไม่สามารถทาการผ่าตัดได้ เนื่องจากไม่มียาปฏิชีวนะที่ต้านเชื้อโรคได้ ดังนั้น เราต้องกลับมาคิดทบทวนถึงแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้อง โดย เริ่มที่ตัวเราเอง คือ การล้างมือ(Hand hygiene) ยังเป็นสิ่งที่สาคัญอย่างหนึ่งที่เราทากันได้ โดยเฉพาะใน โรงพยาบาล และการกินโพรไบออติกส์ (Probiotics) เช่น ที่มีในโยเกิร์ต เป็นการเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง แม้ไม่ส่งผลทันทีแต่อาจส่งผลในระยะยาว นอกจากนี้ ในด้านการวิจัยและการพัฒนา ควรมีหน่วยงานให้เงิน สนับสนุนบริษัทยา เพื่อวิจัยพัฒนายาปฏิชีวนะต่อไป โดยเฉพาะในประเทศไทยเอง เนื่องจากเราใช้ความรู้จาก 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3
  • 4. ตะวันตกเสียมาก เราควรทาเองมากขึ้น หายาที่เหมาะสมกับคนไทยและสภาพภูมิอากาศ และเกิดองค์ความรู้ใหม่ ในประเทศด้วย และในปัจจุบัน ประเทศไทยให้ความสาคัญกับวงการแพทย์มาก ในขณะที่ ให้ความสาคัญกับสาธารณสุขน้อย ทั้งๆ ที่การแพทย์เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ คือเมื่อเจ็บป่วยแล้วจึงไปรักษา แต่สาธารณสุขมีบทบาทในการ ป้องกันการเกิดโรค ดังนั้น เราจึงควรส่งเสริมบทบาทของสาธารณสุขในการป้ องกันโรคต่างๆ เพราะเป็นการ แก้ปัญหาที่ต้นเหตุ นอกจากนี้ควรสร้างสานึกพื้นฐาน (Basic awareness) ในเรื่องการรักษาสุขภาพและการ ดูแลตัวเองให้ประชาชน ซึ่งต้องเริ่มตั้งแต่การให้การศึกษาในเด็ก ให้ความรู้ความเข้าใจ เพื่อให้คนใช้ชีวิตอย่าง ประณีตมากขึ้น จากการที่คนทั่วไปสามารถซื้อยาปฏิชีวนะได้ง่ายมากตามร้านขายยาต่างๆ จนเกิดการดื้อยาเป็นวงกว้าง เกิดคาถามตามมาว่า เรายังควรที่จะอนุญาตให้ร้านขายยาทั่วไป ขายยาปฏิชีวนะหรือไม่? ซึ่งเมื่อพิจารณาแล้ว จาเป็นต้องอนุญาตให้ขายต่อไป เนื่องจากบางกรณี คนไข้สามารถซื้อยาเองได้ เช่น ผู้หญิงที่เคยเป็นโรคกระเพาะ ปัสสาวะอักเสบ จะทราบอาการ และสามารถไปซื้อยาเฉพาะได้ โดยที่ไม่ต้องเสียเวลาไปโรงพยาบาลเพื่อตรวจโรค อย่างไรก็ตาม ควรมีการควบคุมการจ่ายยาปฏิชีวนะ เพราะปัจจุบัน ไม่จาเป็นต้องเป็นแพทย์ระบาดวิทยา ก็ สามารถจ่ายยาปฏิชีวนะได้ ดังนั้น จึงควรมีการจากัดการจ่ายยาในกรณีที่เป็นยา last resource จากัดให้ เฉพาะแพทย์ระบาดวิทยาที่สามารถจ่ายได้ แต่ในกรณีที่บางพื้นที่ไม่มีแพทย์ระบาดวิทยา อาจจะต้องทา ข้อยกเว้นในแต่ละพื้นที่ สุดท้ายแล้ว การต่อสู้กับแบคทีเรีย เราเอาชนะไม่ได้ เพราะวงจรการขยายตัวของแบคทีเรีย เป็นไปอย่าง รวดเร็ว เมื่อใช้ยาปฏิชีวนะสักตัว ก็จะมีเชื้อตัวใหม่ที่ต้านยาได้เกิดขึ้น ที่เราทาได้คือต้องพยายามแข่งอย่างไรให้เรา พอมีอาวุธที่สู้กับแบคทีเรียได้ และทุกครั้งที่จะใช้ยาปฏิชีวนะ ขอให้ตระหนักถึงผลกระทบต่อคนอื่น หากเกิด เชื้อดื้อยาขึ้นมา ผู้ที่จะได้รับผลกระทบก่อนคือผู้ที่มีภูมิต้านทานต่า คนชรา และเด็ก ซึ่งในเรื่องนี้ ต้องช่วยกันทุก ภาคส่วน ทั้งประชาชน วงการการแพทย์ วงการยา และวงการสาธารณสุข 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4
  • 5. 5 ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้บรรยาย : แพทย์หญิง เขมรัฐ เหล่าธรรมทัศน์ ผู้สรุปและจัดรูปเล่ม : น.ส.ปลายฟ้า บุนนาค อ้างอิงปก : https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/3/37/ Nobelpristagare_Fleming_Midi.jpg, https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/9/99/ Penicillin_core.svg/2000px-Penicillin_core.svg.png ปีที่พิมพ์: กรกฎาคม 2559 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5