SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 41
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ “อานาจขนาด
กลาง”: กรณีศึกษาประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล
จิระโรจน์ มะหมัดกุล
สถาบันการทูตและการต่างประเทศ วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต
อินโดนีเซีย
บริบททั่วไป
 อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีหมู่เกาะน้อยใหญ่ภายใต้การ
ปกครองมากกว่า 14,000 เกาะ
 มีขนาด 1,904,569 ตารางกิโลเมตร
 มีจานวนประชากรประมาณ 255 ล้านคน ซึ่งนับเป็นประเทศที่มีประชากรมาก
เป็นอันดับ 4 ของโลก
 และเป็นประเทศที่มีจานวนผู้นับถือศาสนาอิสลามมากที่สุดในโลก ประมาณ 87
เปอร์เซ็นต์ของประชากรทั้งประเทศ ศาสนาคริสต์ลาดับ 2 ศาสนาฮินดูลาดับ 3
และศาสนาพุทธลาดับ 4
การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็น "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล
อินโดนีเซีย
การทหาร
 อินโดนีเซียที่มีการตั้งงบประมาณทางทหารที่น้อยกว่าประเทศอานาจขนาดกลางอื่นๆ เพียง
0.8%ของจีดีพี (7,020 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ , ไทย 1.5%ต่อจีดีพี 5,730 ล้านดอลลาร์สหรัฐ )
 แสนยานุภาพทางทหารก็ยังไม่เข้มแข็งเท่าใดนัก อันจะเห็นได้จากกองทัพเรือของอินโดนีเซีย
ยังไม่มีกองเรือรบที่สามารถปฏิบัติการเชิงรุกได้ อันเนื่องมาจากงบประมาณที่จากัด
 จาการ์ตายังคงกังวลกับความมั่นคงภายในประเทศ ความมั่นคงทางทะเล และความมั่นคงจาก
ปัญหาข้ามชาติต่างๆ โดยเฉพาะความกังวลภายในในเรื่องกลุ่มแบ่งแยกดินแดนและกลุ่มก่อ
การร้ายต่างๆและภัยทางความมั่นคงรูปแบบใหม่
 ในสมัยประธานาธิบดีซูซิโลบัมบัง ยุดโดโยโน ปฏิรูปกองทัพ พัฒนาระบบป้องกันประเทศ เพิ่ม
ขีดความสามารถทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ เช่น การจัดซื้อเรือดาน้าพิฆาต 3 ลา
จากเกาหลีใต้ เฮลิคอปเตอร์ 25 ลารุ่น Bell 412, F-16 มือสอง, รถถัง 103 คันจากเยอรมัน
เป็นต้น ในสมัยโจโควีได้เพิ่มงบประมาณและเร่งพัฒนากองทัพเรือเพื่อปกป้องผลประโยชน์
ชองชาติอย่างเร่งด่วน
เศรษฐกิจ
 เศรษฐกิจของอินโดนีเซียมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2554 ถึงแม้ว่าใน
ปลายปี 2558 อัตรา GDP จะลดเหลืออยู่ที่ร้อยละ 4.79 ก็ตาม อินโดนีเซียก็ยังถือว่า
มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงเมื่อเทียบกับประเทศในอาเซียนอื่นๆ
 เศรษฐกิจอินโดนีเซียได้รับการยอมรับจากธนาคารโลกว่ามีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 10
ของโลกตั้งแต่ปี 2011
 ปัญหาที่เรียกได้ว่าเป็นปัญหาหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจระยะยาวของอินโดนีเซีย
ได้แก่การมีโครงสร้างพื้นฐานที่ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการในการพัฒนาประเทศ
 ปัจจัยสาคัญต่อเศรษฐกิจที่จะส่งผลให้อินโดนีเซียสามารถบรรลุวัตถุประสงค์แห่งการ
เป็นรัฐอานาจขนาดกลางได้นั้น จะขึ้นอยู่กับจานวนประชากรจานวนมากซึ่งส่งเสริมการ
บริโภคและอุปโภคภายในประเทศ และบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุนของต่างชาติ
นโยบายต่างประเทศ
 นโยบายต่างประเทศที่เป็น “อิสระและกระตือรือร้น” ได้รับการนาไปใช้ในลักษณะที่
แตกต่างกัน เช่น ในสมัยซูการ์โน สมัยซูฮาร์โต ขึ้นอยู่กับบรรยากาศการเมืองระหว่าง
ประเทศในขณะนั้น
 อดีตประธานาธิบดีซูซิโล บัมบัง ยุโดโยโน ที่ยืนยันถึงนโยบายต่างประเทศ “อิสระและ
กระตือรือร้น” โดยเน้นความคิดดังกล่าวผ่านสโลแกนว่า “ a million friends
and zero enemies”
 แนวคิดพลวัตรดุลอานาจ (Dynamic Equilibrium) ซึ่งหมายถึง การยอมรับ
ในการมีอยู่ของชาติมหาอานาจต่างๆในอาเซียน (เช่น สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น เป็นต้น)
 นโยบายต่างประเทศของของโจโควีได้เปลี่ยนจากการมีนโยบาย “แสวงหามิตรและไม่
สร้างศัตรู” ในสมัยของประธานาธิบดียุโดโยโนไปสู่นโยบายเน้นผลประโยชน์แห่งชาติ
มากขึ้น (ชาตินิยม)
นโยบายต่างประเทศ (ต่อ)
 ท่าทีทางการทูตใหม่ของอินโดนีเซียในยุคโจโควีที่มีเป้าหมายให้ประเทศ
ต่างๆเคารพอานาจทางทะเลของอินโดนีเซียภายใต้ความคิด “Global
Maritime Fulcrum” ซึ่งเน้นประเด็นหลัก 5 ประการ คือ
วัฒนธรรมทางทะเล ทรัพยากรทางทะเล การเชื่อมต่อหมู่เกาะต่างๆ การทูต
ทางทะเล และการพัฒนากองทัพเรือ
 อินโดนีเซียยังคงให้ความสาคัญกับอาเซียน แต่อาเซียนไม่ได้เป็นกรอบ
ความร่วมมืออันเดียวที่อินโดนีเซียเน้น อินโดนีเซียจะส่งเสริมการทูตทวิ
ภาคีมากขึ้น ซึ่ง Rizal Sukma กล่าวว่า อินโดนีเซียในยุคนี้จะให้
ความสาคัญกับความสัมพันธ์ทวิภาคีซึ่งเขามองว่าเป็นสิ่งที่จะสร้าง
ประโยชน์ให้กับอินโดนีเซียอย่างเต็มที่มากกว่าความสัมพันธ์พหุภาคี
สังคม
 ประสบความสาเร็จในการผสมผสานประชาธิปไตยให้เป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศได้
ประชาธิปไตยได้สร้างความมั่นคงให้กับสังคมอินโดนีเซียมากขึ้น
 ความกังวลใจเกี่ยวกับอิสลามกับประชาธิปไตยก็ได้รับการพิสูจน์ว่าสามารถที่จะดาเนินไป
ด้วยกันได้
 ประชาธิปไตยได้เป็นปัจจัยสาคัญที่อยู่เบื้องหลังในการสร้างความมั่นคงภายในประเทศใน
การแก้ปัญหาความขัดแย้งที่ยืดเยื้อต่างๆ เช่น ในติมอร์ตะวันออกและอาเจะห์
 อย่างไรก็ตาม การละเมิดสิทธิมนุษยชนยังดารงอยู่ โดยเฉพาะในจังหวัดปาปัวที่มี
ขบวนการปาปัวเสรีเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากอินโดนีเซีย
 ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมารัฐบาลอินโดนีเซียต้องพยายามรักษาสมดุลระหว่างกลุ่มมุสลิมที่ต้องการรัฐ
ศาสนากับกลุ่มโลกีวิสัยที่ไม่ต้องการให้อิสลามเข้ามาข้องเกี่ยวทางการเมือง ปัญหาได้รับการคลี่คลาย
ผ่านการเน้นหลักการ “พระเจ้าองค์เดียว” (ที่ไม่เฉพาะเจาะจงว่าเป็นอิสลาม) ที่เรียกว่าปัญจศิลา
(Pancasila) หลัก 5 ประการของรัฐ
ปัญหาและข้อท้าทาย
 ภัยจากสงครามซีเรีย โดยเฉพาะนักรบที่เข้าร่วมกับกลุ่ม IS
 ภัยจากองค์กรหัวรุนแรงในประเทศ เช่น JI (Jamaah Islamiyah)
ตุรกี
บริบททั่วไป
 ประเทศตุรกีมีขนาด 783,562 ตารางกิโลเมตร
 มีจานวนประชากร 79 ล้านคนโดย 99 เปอร์เซ็นต์นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี
 เมืองที่มีประชากร หนาแน่นมากที่สุดได้แก่ เมืองอิสตันบูล (14 ล้านคน) เมืองอังกา
ร่า (5 ล้านคน) และเมืองอิสมิร (4 ล้านคน)
การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็น "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล
การทหารของตุรกี
 ปัจจุบันตุรกีมีศักยภาพด้านการทหารอยู่ในระดับแนวหน้าของประเทศในตะวันออก
กลางและยุโรปตะวันออกโดยมีทหารประจาการทั้งหมดประมาณ 678,617 คน
 ตุรกีเป็นประเทศที่ทุ่มงบประมาณสาหรับการทหารมากที่สุดเป็นเป็นลาดับที่ 15 ของ
โลก
 ในปี 2014 ตุรกียังคงอยู่ในลาดับที่ 15 ของโลกโดยมีงบประมาณ 22.6 พันล้าน
เหรียญดอลล่าร์สหรัฐ คิดเป็น 2.2% จากตัวเลข GDP ของประเทศ
การทหารของตุรกี (ต่อ)
 แต่เนื่องจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองในตะวันออกกลางในปัจจุบันเริ่ม
บานปลาย ตุรกีมีแนวโน้มที่จะปรับเพิ่มงบประมาณด้านการทหารเพื่อตอบสนอง
ข้อตกลงของ NATO และเพื่อรับมือกับสงครามกลางเมืองในซีเรียและกับรัฐอิสลาม
หรือ ISIS
 ในปี ค.ศ. 2023 ตุรกีมีเป้าหมายในการสร้างอุตสาหกรรมอาวุธแบบครบวงจรเพื่อ
ผลิตอาวุธเป็นของตัวเองตั้งแต่ปืน รถถังไปจนถึงเครื่องบินรบ
 ตุรกีพิสูจน์ให้เห็นถึงการเป็นประเทศอานาจขนาดกลางได้ชัดเจนผ่านการปฏิบัติการ
ทางทหาร เช่น การยิงเครื่องบินรบรัสเซียตกที่ตุรกีอ้างว่าละเมิดน่านฟ้าของตน ฯลฯ
เศรษฐกิจของตุรกี
 ในช่วงปี 2002-2011 ซึ่งเป็นช่วงที่พรรค AK ได้รับเลือกตั้งติดต่อกันสอง
สมัย โดยสภาพเศรษฐกิจมีอัตราการเจริญเติบโตของ GDP อยู่ที่ 5.2
เปอร์เซ็นต์และมีอัตราผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อประชากร (GDP
per capita) เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดจาก 3,500 เหรียญดอลล่าร์ในปี
2001 เป็น 10,500 เหรียญดอลล่าร์ในปี 2011
 จากการศึกษาของ OECD ตุรกีถือเป็นประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตเร็ว
ที่สุดในประเทศยุโรปในปี 2011 และจะสามารถรักษาอัตราการเจริญเติบโตได้
จนถึงปี 2017
 ตุรกีถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วตามการประเมินของ CIA และเป็น
ประเทศอุตสาหกรรมเกิดใหม่โดยการจัดประเภทของ IMF
เศรษฐกิจของตุรกี (ต่อ)
 เศรษฐกิจตุรกีเริ่มชะลอตัวในปี 2013-2015
 โดยมีอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น จากปี 2013 9.1 เปอร์เซ็นต์ เป็น 9.9 เปอร์เซ็นต์
ในปี 2014
 อัตราเงินเฟ้อปี 2013 อยู่ที่ 7.5 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มขึ้นเป็น 8.9 เปอร์เซ็นต์ในปี
2014
 ค่าเงินลีร่าของตุรกีลดมูลค่าลงจากเดิมในปี 2013 1 ดอลล่าร์สหรัฐเท่ากับ 1.9 ลีร่า
ในปี 2014 1 ดอลล่าร์สหรัฐเท่ากับ 2.19 ลีร่า จากการคาดการณ์เศรษฐกิจของตุรกี
ในปัจจุบันค่าเงินลีร่าตุรกีน่าจะมีแนวโน้มลดลงอีกในปี 2016
 เศรษฐกิจตุรกีมีฐานโครงสร้างสาธารณูปโภครองรับที่แข็งแกร่งพอสมควร ตุรกีจัดว่าเป็น
ประเทศที่มีความพร้อมและความสะดวกในด้านคมนาคมในระดับดีมาก
 ในเมืองอิสตัลบูลมีรถไฟฟ้าใต้ดิน รถไฟลอยฟ้า รถรางรวมกันจานวน 15 เส้นทาง ในเมือง
อังการ่ามีรถไฟฟ้า 5 เส้นทาง (กาลังก่อสร้างอีก 3 เส้นทาง)ในเมืองอิสมิรมีรถไฟฟ้า 2
เส้นทาง
 ตุรกียังเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างทวีปเอเชียและยุโรปผ่านเส้นทางรถไฟอีกด้วย ปัจจุบันตุรกีเปิด
เส้นทางเดินรถไฟจากเมืองอังการ่าไปยังประเทศบัลแกเรีย (Svilengrad,
Dimitrovgrad, Plovdiv, Sofia) โรมาเนีย (Bucharest) และอิหร่าน
(Tehran)
Turkey's new YHT high-
speed train, linking
Ankara, Konya,
Eskişehir and (from July
2014) the outskirts of
Istanbul
โครงข่ายรถไฟของตุรกี
 ในกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ ตุรกีเป็นสมาชิกของกลุ่ม G20 และมี
ความร่วมมือด้านการค้าภายใต้ข้อตกลงการค้าเสรีกับสหภาพยุโรป
(Customs Union Agreement with the EU) รวมถึงกับ
ประเทศในแถบแอฟริกาเหนือ (เช่น โมร็อกโกและอียิปต์) ยุโรปตะวันออก (เช่น
โครเอเชีย) เอเชีย (เช่น เกาหลีใต้) และตะวันออกกลาง (เช่น ปาเลสไตน์และ
อิสราเอล)
 ที่สาคัญตุรกีกลายเป็นคู่แข่งกับจีนในการลงทุนด้านการก่อสร้างสาธารณูปโภคใน
ประเทศแถบแอฟริกา โดยในปี 2014 การค้าแบบข้อตกลงทวิภาคีในทวีป
แอฟริกาทาให้เกิดมูลค่า 23.4 พันล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐ (Ministry
of Foreign Affairs, Turkey, n.d.)
นโยบายต่างประเทศตุรกี
 ภายหลังจากการก่อตั้งสาธารณรัฐตุรกี ตุรกีได้รับความช่วยเหลือจากประเทศตะวันตก
โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาในการพัฒนาประเทศ นโยบายต่างประเทศของตุรกีเน้นหัน
หน้าเข้าสู่ตะวันตกอย่างเต็มที่
 นโยบายต่างประเทศตุรกีอาจแบ่งได้เป็น 4 ช่วงเวลาหลักๆ
1. ช่วงของเคมาลิสต์และการเข้าหาตะวันตก
2. ช่วงภายใต้การดูแลของกองทัพและเน้นการดาเนินนโยบายแบบโดดเดี่ยว
3. ช่วงยุคประธานาธิบดีโอซาลและนโยบายนีโอออตโตมานช่วงเริ่มต้น
4.ช่วงยุคพรรคอัคและนโยบายการดาเนินความสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์แบบหลากมิติ
ช่วงยุคพรรคอัค (AK)
 จุดเปลี่ยนของการต่างประเทศของตุรกี ที่เริ่มเห็นเด่นชัดและทาให้ตุรกีเข้าสู่การเป็นตัว
แสดงที่สาคัญในเวทีระหว่างประเทศคือ ในช่วงเปลี่ยนผ่านอานาจสู่พรรคยุติธรรมและ
พัฒนา หรือพรรคอัค ซึ่งหันมาเน้นการดาเนินนโยบายต่างประเทศเชิงสร้างสรรค์แบบ
หลากมิติ จากนโยบายต่างประเทศตุรกีในอดีตเน้นให้ความสาคัญแก่ประเด็นด้านความ
มั่นคงในรูปแบบที่เน้นประเด็นการเมืองและเศรษฐกิจเป็นหลัก
นโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน
 เมื่อพรรคอัคเข้ามาบริหารประเทศในเดือนพฤศจิกายน 2002 ตุรกีได้ขยายขอบเขตการ
ดาเนินนโยบายต่างประเทศที่เน้นประเทศเพื่อนบ้านและประเทศอื่นๆ นอกเหนือจากตะวันตก
มากขึ้น
 เมื่อครั้งดาวุดโอก์ลู นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน อยู่ในตาแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการ
ต่างประเทศ นั่นคือ นโยบายการปราศจากปัญหากับเพื่อนบ้าน (‘zero problems’
with neighbors) และพัฒนาความสัมพันธ์กับภูมิภาคใกล้เคียงและกระจายออกไป
 แม้ว่าต่อมาจะเล็งเห็นว่าประเทศเพื่อนบ้านล้วนแล้วแต่มีปัญหาที่ทาให้การไม่มีปัญหากับเพื่อน
บ้านนั้นมีความยากลาบาก จึงหันมาใช้ นโยบายการร่วมมือให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
 นโยบายต่างประเทศใหม่ของตุรกีนี้ ไม่เน้นการดาเนินความสัมพันธ์ในมิติความมั่นคงเช่นเดิม
อีกต่อไป หากแต่ยังให้ความสาคัญต่อประเด็นอื่นๆ เช่น วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สันติภาพและ
การช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม เป็นต้น
นโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน (ต่อ)
 การดาเนินนโยบายต่างประเทศของตุรกียังมีอีกหนึ่งลักษณะเฉพาะคือ มีความเป็น
อิสระ และไม่มีความเป็นศัตรูถาวรในทุกด้าน หากแต่ถ้ามีความจาเป็นที่จะต้องร่วมมือ
ในประเด็น ก็จะร่วมมือ และประเด็นใดที่จาเป็นต้องแสดงจุดยืนการต่อต้านโดยเฉพาะ
ต่อประเทศมุสลิมและภูมิภาคใกล้เคียง ก็จะต่อต้านอย่างแข็งกร้าว เช่น จุดยืนของตุรกี
ต่อจีน แม้ว่าตุรกีจะต่อต้านมาตรการของจีนต่อชาวอุยกูรเติร์กในซินเจียง แต่ก็ยังคงมี
การดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจกับจีน
นโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน (ต่อ)
 เสนอแนวทางเลือกในการเป็นประเทศพึ่งพิงที่นอกเหนือจากประเทศตะวันตก
ขณะเดียวกันก็เน้นการพัฒนาให้มีมาตรฐานทัดเทียมกับประเทศตะวันตกและ
ยุโรป
 การนาเอาความเป็นเอเชียและความเป็นมุสลิมกลับมา จึงเริ่มแสดงบทบาทนาใน
ประเทศที่มีลักษณะทางวัฒนธรรมใกล้เคียงกันนี้ได้ นอกจากนั้น ความเป็นพรรค
การเมืองที่มีนโยบายอยู่บนฐานของความเป็นอิสลาม ทาให้การดาเนินนโยบาย
ของพรรคอัคในช่วงหลัง ถูกมองว่าเป็นแนวทาง “นีโอออตโตมาน” ที่ชัดเจนขึ้น
กว่ายุคก่อนหน้า ซึ่งออตโตมานเดิมในอดีตเคยเป็นอาณาจักรที่ปกครองโลก
มุสลิมมาก่อน ความรู้สึกเช่นนี้จึงถ่ายทอดมาสู่ตุรกีในยุคปัจจุบันที่กาลังแสวงหา
จุดยืนที่เป็นผู้นาอีกครั้ง
การทูตพหุภาคีต่างๆ
 ในกรอบขององค์กรระหว่างประเทศปัจจุบันตุรกีเป็นประเทศสมาชิก OSCE,
Council of Europe, OIC, CICA, NATO, G20 เป็นสมาชิกไม่
ถาวรของ UNSC วาระปี 2552-2553
สภาพสังคมตุรกี
 ประชากรหลักของประเทศจะนับถือศาสนาอิสลาม แบบสานักคิดฮานาฟี ในแนวทาง
ซุนนี่เป็นส่วนใหญ่ ขณะเดียวกันก็มีผู้คนที่นับถือในแนวคิดอาลาวี และชีอะห์ รวมถึงซู
ฟี อยู่จานวนหนึ่ง โดยที่หากคิดเป็นเปอร์เซ็นต์แล้วมีมุสลิม 99.8% ของประชากร
ทั้งหมด และศาสนาอื่นๆ อีกเพียง 0.2%
 ในแง่ของสังคมการเมืองตุรกีเป็นประเทศที่ถือว่าสังคมได้มีการถูกทาให้มีความเป็น
ประชาธิปไตย ด้วยกับระบบพรรคหลายพรรคที่เกิดขึ้น การมีการเลือกตั้งได้อย่างอิสระ
และก้าวข้ามผ่านอิทธิพลของทหารในการเข้าสู่กรอบทางการเมือง ซึ่งได้เคยเกิดการ
ปฏิวัติโดยกองทัพเมื่อปี 1960, 1971, 1980 และครั้งสุดท้ายในปี 1997
ปัญหาและข้อท้าทาย
 สาหรับ ภายในประเทศ ตุรกียังคงเผชิญกับความไม่มั่นคงของการเมืองภายใน ไม่ว่า
จากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนรัฐบาลและฝ่ายที่สนับสนุนพรรคฝ่ายค้าน
กลุ่มอิสลามมิสต์และกลุ่มเซคคิวล่าริสต์รวมไปถึงกลุ่มเคมาลิสต์และกลุ่มชาตินิยมที่
ยังคงมีการปะทะการตลอดมา
 ปัญหาความขัดแย้งระหว่างชาวเติร์กและชาวเคิร์ด
 การว่างงานซึ่งในเดือนพฤษภาคม 2015 ตุรกีมีอัตราการว่างงานอยู่ที่ 9.3%
 แรงกดดันและอิทธิพลจากต่างชาติ โดยเฉพาะมหาอานาจ อย่างสหรัฐอเมริกา
 ภัยจากกลุ่ม IS, สงครามในซีเรีย, กลุ่มติดอาวุธเคิร์ดที่อยู่ในอิรักและซีเรีย, ความ
พยายามในการขึ้นมามีบทบาทของอิหร่าน เป็นต้น
บทสรุป
 ตุรกีวางตาแหน่งแห่งที่ของตนภายใต้กรอบประเทศอานาจขนาดกลางมาตั้งแต่หลัง
สงครามโลกครั้งที่ 2
 แต่อิทธิพลของตุรกีในฐานะประเทศอานาจขนาดกลางผันผวนตามพลวัตของการเมือง
ภายในประเทศและการเมืองระหว่างประเทศ
 ปัจจุบันการเมืองตุรกีมีเสถียรภาพทางการเมืองมากพอสมควร ไม่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิด
รัฐประหารแม้จะมีกองกาลังขนาดใหญ่และมีอุตสาหกรรมด้านอาวุธเป็นของตัวเอง
 นอกจากนั้นตุรกียังประสบกับความท้าทายจากภาวะการเมืองภายในและการเมือง
ระหว่างประเทศ แต่ก็ดูเหมือนว่าตุรกีจะสามารถก้าวข้ามไปได้ด้วยฐานของสังคมที่เป็น
ประชาธิปไตย
บราซิล
บริบททั่วไป
 ประเทศบราซิลมีพื้นที่ราวๆ 3,265,059 ตารางกิโลเมตร
 มีประชากรราวๆ 207 ล้านคน ในปี 2015
 เมืองใหญ่ที่สุดในบราซิลนั้นได้แก่เมือง Sao Paolo ซึ่งมีประชากรอยู่อาศัยถึง 11.3
ล้านคนในปี ค.ศ.2011
 ประชากรส่วนใหญ่นั้นนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก 64.6% นิกายโปรเตส
แตนท์ 22.2% ไม่มีศาสนา 8% ศาสนาอื่นๆ 5.2%
การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็น "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล
การทหาร
 กองทัพบราซิลนั้นอยู่อันดับที่ 22 ของโลก ตามหลังตุรกีและอินโดนีเซีย ที่อยู่อันดับ 10 และ
12 ตามลาดับ
 งบประมาณทหารของบราซิลนั้นอยู่ที่ 31,900,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ และอยู่อันดับที่
12 ของโลก โดยมีทหารประจาการอยู่ที่ 330,000 คน ในปี 2015 บราซิลได้มีการตัด
งบประมาณทหารกว่า 25% ซึ่งเป็นผลพวงมาจากสภาวะเศรษฐกิจ
 ในปี 2011 นั้นบราซิลถือว่าเป็นผู้ส่งออกอาวุธเบารายใหญ่อันดับที่ 4 ส่งออกไปยังตลาด
ประเทศกาลังพัฒนา สะท้อนให้เห็นถึงความพยายามของบราซิลที่จะมีบทบาทในกลุ่มประเทศ
กาลังพัฒนามากขึ้น
 พัฒนาเรือดาน้าพลังนิวเคลียร์ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ 1.) ปกป้องแหล่งเชื้อเพลิงน้ามันที่พบ
นอกชายฝั่งบราซิล และ 2.) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแสดงพลังในเวทีโลกและสามารถ
เปิดทางให้บราซิลได้มีตาแหน่งสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
เปรียบเทียบมูลค่าการส่งออกยุทโธปกรณ์เปรียบเทียบในกลุ่มประเทศ BRICS
และ ตุรกี
2010 2011 2012 2013 2014 2015 มูลค่ารวม*
(ล้าน
ดอลลาร์)
บราซิล 151 31 33 40 44 41 339
รัสเซีย 6,172 8,695 8,480 8,107 5,456 5,483 42,404
อินเดีย 5 3 - 8 53 33 102
จีน 1,496 1,338 1,728 2,055 1,360 1,960 9,943
แอฟริกาใต้ 235 71 182 97 59 39 683
ตุรกี 72 86 143 156 179 291 928
เศรษฐกิจ
 บราซิลมีขนาดเศรษฐกิจ อันดับ 8 ของโลก และใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอเมริกาใต้
 ภาคการบริการนั้นคิดเป็น 70% ของ GDP ตามมาด้วยภาคอุตสาหกรรมที่คิดเป็น 25%
 เศรษฐกิจบราซิลนั้นเคยมีอัตราการเติบโตที่สูงมากในช่วงปี ค.ศ.1920-1980 ที่ 6.2%
 มีการเติบโตที่เสถียรแต่มีสภาวะตกต่าลงเมื่อเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจในปี ค.ศ.2008 ซึ่ง
GDP ของบราซิลนั้นหล่นลงไปที่ 0.4% และหล่นลงมาเป็น 0.1% ในปี 2014
 มีทรัพยากรธรรมชาติมหาศาล ซึ่งการที่บราซิลนั้นสามารถพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตน้ามัน
ได้นั้นหมายความว่าบราซิลสามารถลดการพึ่งพาการนาเข้าน้ามันจากภายนอกได้
 บราซิลมีศักยภาพสูงในการทาเกษตรกรรม มีเนื้อที่ๆกว้างใหญ่ และผลผลิตนั้นจะแตกต่างกัน
ออกไปตามภูมิประเทศ นั่นหมายความว่าบราซิลมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองด้านอาหาร
ตลอดจนเป็นแหล่งที่มาของรายได้และการจ้างงานอีกด้วย
นโยบายต่างประเทศ
 การกาหนดบทบาทของตนเองเป็นผู้นาในภูมิภาคพร้อมกันกับการแสดงบทบาทในเวทีโลก เน้นการใช้
อานาจอ่อน (Soft Power) อย่างเข้มแข็ง การพึ่งพาตนเอง เพิ่มความร่วมมือที่เข้มข้นระหว่าง
ประเทศ South เพื่อถ่วงดุลกับประเทศมหาอานาจ
 ประธานาธิบดี Lula ดาเนินนโยบายโดยการสร้างบราซิลให้เป็นประเทศที่มีความสัมพันธ์ทั้งการค้า
และการทูตที่หลากหลาย
 เน้นย้าในแง่ของการช่วยเหลือและความร่วมมือในกลุ่มประเทศใต้ (South-South
Corporation) ในขณะเดียวกันก็ทางานร่วมมือกับประเทศมหาอานาจที่พัฒนาแล้ว (North)
 การดาเนินนโยบายต่างประเทศแบบ South-South เช่น MERCOSUR หรือตลาดร่วม
อเมริกาใต้ตอนล่าง, UNASUR (บทบาทของบราซิลใน UNASUR นั้นเป็นที่น่าสนใจอย่าง
มาก เนื่องจาก UNASUR นั้นถูกก่อตั้งด้วยจุดประสงค์เพื่อลดการพึ่งพาและอานาจของกลุ่ม
ประเทศพัฒนาแล้วในภูมิภาคอเมริกาใต้ โดยเฉพาะจากสหรัฐอเมริกา)
 BRICS, IBSA หรือ India, Brazil and South Africa Dialogue Forum,
G20
นโยบายต่างประเทศ (ต่อ)
 บราซิลมีนโยบายสนับสนุนด้านการช่วยเหลือและบรรเทาภัยพิบัติในต่างประเทศ
บราซิลมีการสนับสนุนเงินบริจาคกว่า 95 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รวมถึงการสนับสนุนด้าน
กาลังในปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (UN peacekeeping operation)
สภาพสังคม
 ในส่วนของความเป็นประชาธิปไตยนั้น ตั้งแต่การคืนอานาจโดยรัฐบาลทหารในปี ค.ศ.
1985 ก็มีพัฒนาการมาอย่างน่าพอใจ ซึ่งผลพวกจากการเติบโตของเศรษฐกิจและ
ความสาเร็จในการยกระดับรายได้ของประชาชนนั้นทาให้บราซิลมีสัดส่วนชนชั้นกลางที่
ค่อนข้างใหญ่โดยมีสัดส่วนมากกว่า 55% ของประเทศในปีค.ศ. 2014
 ยังมีปัญหาอาชญากรรม มีแนวโน้มในการเพิ่มอัตราความรุนแรงในสังคมนั้นมาจาก
ความเหลื่อมล้าทางรายได้
 ปัญหาความรุนแรงของสังคมในบราซิลนั้นไม่เพียงส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สิน
แต่ส่งผลโดยตรงกับเศรษฐกิจ ซึ่งผลกระทบโดยตรงของอาชญากรรมในเขตเมืองหรือ
รัฐนั้นคิดเป็น 3-5% ของ GDP ต่อปี นอกจากนี้ ภาพพจน์ความรุนแรงของสังคม
บราซิลนั้นก็เป็นอุปสรรคสาคัญสาหรับการลงทุนและการเติบโตของธุรกิจ
ปัญหาและข้อท้าทาย
 การมีกองทัพที่ทันสมัยและน่าเกรงขามนั้นก็เป็นสิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าเป็นปัจจัยสาคัญใน
การพิจารณาถึงความสามารถในการมีบทบาทและมีน้าหนักในเวทีโลก ซึ่งเรื่องนี้ก็เป็น
สิ่งที่มีการเรียกร้องจากภายในประเทศ ในฐานะสมาชิกกลุ่มประเทศ BRICS ที่มี
สัดส่วนงบประมาณทหารน้อยที่สุด ราวๆ 1.5% ต่อ GDP ในขณะที่ รัสเซีย อินเดีย
จีนและแอฟริกาใต้นั้นใช้งบประมาณราวๆ 2.3% ต่อ GDP ในปี คศ.2014
 หลังเศรษฐกิจภายในของบราซิลเริ่มถดถอยจากมาตรการรัดเข็มขัด ที่ตัดงบประมาณ
การลงทุนของรัฐบาลตัดการสนับสนุนด้านราคาพลังงานเช่นน้ามัน ส่งผลให้อัตรา
ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น 14% ซึ่งตอกย้าภาวะเงินเฟ้อที่มีเดิมอยู่แล้ว
 หลังเศรษฐกิจภายในของบราซิลเริ่มถดถอยจากมาตรการรัดเข็มขัด ที่ตัดงบประมาณ
การลงทุนของรัฐบาลตัดการสนับสนุนด้านราคาพลังงานเช่นน้ามัน ส่งผลให้อัตรา
ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น 14% ซึ่งตอกย้าภาวะเงินเฟ้อที่มีเดิมอยู่แล้ว
ถอดบทเรียนสาหรับประเทศไทย
สาหรับแนวความคิดประเทศอานาจขนาดกลาง
 ประเด็นแรกจากการวิเคราะห์ ทั้งสามประเทศได้มีช่วงเปลี่ยนผ่าน จากยุคการปกครอง
โดยผู้นาเผด็จการทหารมาสู่ยุคประชาธิปไตยเช่นเดียวกัน ซึ่งทั้งสามประเทศนับเป็น
ตัวอย่างในการนาประชาธิปไตยมาเป็นระบอบทางการเมืองได้อย่างประสบความสาเร็จ
และพัฒนาประเทศตามเศรษฐกิจทุนนิยมจนมีเศรษฐกิจที่เจริญเติบโตตามลาดับ
เช่นเดียวกับประเทศไทยที่เปลี่ยนผ่านจากการมีผู้นาทหารมาสู่ยุคประชาธิปไตยที่ผ่าน
มา
 ประเทศไทยมีข้อได้เปรียบอินโดนีเซียที่มีโครงสร้างพื้นฐานที่ดีกว่า แต่ยังไม่เท่า
ประเทศตุรกีและบราซิล
 จานวนประชากรจานวนมากจะมีความได้เปรียบในฐานะประเทศอานาจขนาดกลาง ทั้ง
ในด้านความสาคัญหรือน้าหนักในเวทีโลก หรือ ในแง่ขนาดเศรษฐกิจของประเทศ
 ทางด้านการทหารก็มีความจาเป็นที่ไทยจะต้องพัฒนาขีดความสามารถของกองทัพให้มีศักยภาพมาก
ขึ้น จัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ทันสมัยมาเสริมกองทัพ
 ประเทศไทยต้องให้ความสาคัญในเรื่องการพึ่งพาตนเองในด้านการผลิตอาวุธและการป้องกันประเทศ
เฉกเช่นตุรกีวางเป้าหมายในปี ค.ศ. 2023
 การมีแสนยานุภาพทางทหารที่น่าเกรงขามจะส่งเสริมและสนับสนุนให้การใช้อานาจอ่อน (Soft
Power) ของประเทศมีน้าหนักและประสิทธิภาพมากขึ้น
 ทบทวนแผนในการจัดซื้อและพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์อย่างเป็นยุทธศาสตร์ในการป้องกันประเทศและ
ปกป้องผลประโยชน์ของชาติ
 ทางการทูต ไทยต้องแสดงบทบาทนาในเวทีความร่วมมือต่างๆทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลกมาก
ขึ้น กาหนดตาแหน่งของตนเองว่าเป็นประเทศผู้นาของอาเซียนเป็นบันไดไปสู่การแสดงบทบาทที่
เข้มแข็งในเวทีโลก หรือการที่บราซิลกาหนดตนเองว่าเป็นผู้นาความร่วมมือต่างๆในละตินอเมริกา เช่น
MERCOSUR ไทยต้องวางตาแหน่งตนเองว่าเป็นประเทศอานาจขนาดกลาง รวมทั้งใช้เวที
ระหว่างประเทศต่างๆในการบอกเจตจานงของไทยอย่างชัดเจน
 นโยบายต่างประเทศที่เป็นอิสระและเป็นตัวของตัวเองก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่จะยกระดับการ
ต่างประเทศของเราให้มีอัตลักษณ์
 มีผู้นาประเทศที่ให้ความสาคัญกับการทูตและการต่างประเทศเพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่
โดดเด่นในสังคมระหว่างประเทศ
บทสรุป
 ทั้งสามประเทศ คือ ตุรกี บราซิล และอินโดนีเซียต่างดาเนินนโยบายต่างๆโดยกาหนดตนเองเป็น
ประเทศอานาจขนาดกลาง ถึงแม้ว่าจะมีจุดแข็งและจุดอ่อนที่แตกต่างกัน ทั้งสามประเทศมีพัฒนาการที่
ได้รับการยอกรับจากนานาชาติ
 ทั้งสามประเทศมีบทบาทในการเป็นผู้นาระดับภูมิภาคของตน
 ตุรกีมีจุดแข็งที่มีแสนยานุภาพทางทหารที่สูงที่สุดถ้าเปรียบเทียบกับประเทศอินโดนีเซียและบราซิล
 บราซิลและอินโดนีเซียมีจุดแข็งที่มีประชากรจานวนมาก เป็นฐานการบริโภคและพัฒนาเศรษฐกิจ
ภายในประเทศได้เป็นอย่างดี รวมทั้งด้านแรงงานที่ไม่ต้องนาเข้าแรงงานจากต่างชาติ
 บราซิลความร่วมมือระหว่างประเทศกาลังพัฒนา เช่น BRICS ซึ่งมีความหมายกับบราซิลมาก มี
ความทะเยอทะยานต้องการที่จะเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงฯ
 เป็นประเทศประชาธิปไตยที่ใหญ่เป็นลาดับ 3 ของโลก และเป็นประเทศมุสลิมที่มีประชากรมากที่สุดใน
โลกทาให้อินโดนีเซียได้รับการเคารพจากนานาชาติ
 ในด้านนโยบายต่างประเทศ อินโดนีเซียมีความทะเยอทะยานในการเป็นผู้นาในภูมิภาคอาเซียน และ
แสดงบทบาทที่แข็งขันในกรอบการประชุมต่างๆ อินโดนีเซียใช้อาเซียนเป็นฐานในการแสดงบทบาทใน
เวทีโลก

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Klangpanya

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKlangpanya
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfKlangpanya
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfKlangpanya
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....Klangpanya
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีKlangpanya
 
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...Klangpanya
 
[Paper] Human resource development through vocational education for thailand 4.0
[Paper] Human resource development through vocational education for thailand 4.0[Paper] Human resource development through vocational education for thailand 4.0
[Paper] Human resource development through vocational education for thailand 4.0Klangpanya
 
[Paper] Human Resource Cooperation between Yunnan Province and the Mekong Reg...
[Paper] Human Resource Cooperation between Yunnan Province and the Mekong Reg...[Paper] Human Resource Cooperation between Yunnan Province and the Mekong Reg...
[Paper] Human Resource Cooperation between Yunnan Province and the Mekong Reg...Klangpanya
 
Ecological civilization_Yuwadee
Ecological civilization_YuwadeeEcological civilization_Yuwadee
Ecological civilization_YuwadeeKlangpanya
 
Thailand, a linchpin position between MLC/LMC and BRI, and her ample spaces f...
Thailand, a linchpin position between MLC/LMC and BRI, and her ample spaces f...Thailand, a linchpin position between MLC/LMC and BRI, and her ample spaces f...
Thailand, a linchpin position between MLC/LMC and BRI, and her ample spaces f...Klangpanya
 
Human resource development through vocational education for Thailand 4.0
Human resource development through vocational education for Thailand 4.0Human resource development through vocational education for Thailand 4.0
Human resource development through vocational education for Thailand 4.0Klangpanya
 

Mehr von Klangpanya (20)

The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 
Korakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdfKorakot Design for International 02 อว.pdf
Korakot Design for International 02 อว.pdf
 
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdfรร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
รร.ดรุณสิกขาลัย.pdf
 
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdfปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
ปัญญาในวิถีคิดและวิถีปฏิบัติของโลกแห่งอ.pdf
 
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
นักวิชาการทำงานอย่างไร ให้มีความสุขทั้งทางโลกและทางธรรมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร....
 
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดีปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
ปัญญาจากการเรียนรู้ในรากเหง้า และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ดร. กรกต อารมย์ดี
 
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
ปัญญากับระบบการศึกษาไทย คุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ ดร. สุรัตน์ แท่นประเสริ...
 
[Paper] Human resource development through vocational education for thailand 4.0
[Paper] Human resource development through vocational education for thailand 4.0[Paper] Human resource development through vocational education for thailand 4.0
[Paper] Human resource development through vocational education for thailand 4.0
 
[Paper] Human Resource Cooperation between Yunnan Province and the Mekong Reg...
[Paper] Human Resource Cooperation between Yunnan Province and the Mekong Reg...[Paper] Human Resource Cooperation between Yunnan Province and the Mekong Reg...
[Paper] Human Resource Cooperation between Yunnan Province and the Mekong Reg...
 
Ecological civilization_Yuwadee
Ecological civilization_YuwadeeEcological civilization_Yuwadee
Ecological civilization_Yuwadee
 
Thailand, a linchpin position between MLC/LMC and BRI, and her ample spaces f...
Thailand, a linchpin position between MLC/LMC and BRI, and her ample spaces f...Thailand, a linchpin position between MLC/LMC and BRI, and her ample spaces f...
Thailand, a linchpin position between MLC/LMC and BRI, and her ample spaces f...
 
Human resource development through vocational education for Thailand 4.0
Human resource development through vocational education for Thailand 4.0Human resource development through vocational education for Thailand 4.0
Human resource development through vocational education for Thailand 4.0
 

การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็น "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล

  • 1. การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ “อานาจขนาด กลาง”: กรณีศึกษาประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล จิระโรจน์ มะหมัดกุล สถาบันการทูตและการต่างประเทศ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. อินโดนีเซีย บริบททั่วไป  อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีหมู่เกาะน้อยใหญ่ภายใต้การ ปกครองมากกว่า 14,000 เกาะ  มีขนาด 1,904,569 ตารางกิโลเมตร  มีจานวนประชากรประมาณ 255 ล้านคน ซึ่งนับเป็นประเทศที่มีประชากรมาก เป็นอันดับ 4 ของโลก  และเป็นประเทศที่มีจานวนผู้นับถือศาสนาอิสลามมากที่สุดในโลก ประมาณ 87 เปอร์เซ็นต์ของประชากรทั้งประเทศ ศาสนาคริสต์ลาดับ 2 ศาสนาฮินดูลาดับ 3 และศาสนาพุทธลาดับ 4
  • 4. อินโดนีเซีย การทหาร  อินโดนีเซียที่มีการตั้งงบประมาณทางทหารที่น้อยกว่าประเทศอานาจขนาดกลางอื่นๆ เพียง 0.8%ของจีดีพี (7,020 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ , ไทย 1.5%ต่อจีดีพี 5,730 ล้านดอลลาร์สหรัฐ )  แสนยานุภาพทางทหารก็ยังไม่เข้มแข็งเท่าใดนัก อันจะเห็นได้จากกองทัพเรือของอินโดนีเซีย ยังไม่มีกองเรือรบที่สามารถปฏิบัติการเชิงรุกได้ อันเนื่องมาจากงบประมาณที่จากัด  จาการ์ตายังคงกังวลกับความมั่นคงภายในประเทศ ความมั่นคงทางทะเล และความมั่นคงจาก ปัญหาข้ามชาติต่างๆ โดยเฉพาะความกังวลภายในในเรื่องกลุ่มแบ่งแยกดินแดนและกลุ่มก่อ การร้ายต่างๆและภัยทางความมั่นคงรูปแบบใหม่  ในสมัยประธานาธิบดีซูซิโลบัมบัง ยุดโดโยโน ปฏิรูปกองทัพ พัฒนาระบบป้องกันประเทศ เพิ่ม ขีดความสามารถทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ เช่น การจัดซื้อเรือดาน้าพิฆาต 3 ลา จากเกาหลีใต้ เฮลิคอปเตอร์ 25 ลารุ่น Bell 412, F-16 มือสอง, รถถัง 103 คันจากเยอรมัน เป็นต้น ในสมัยโจโควีได้เพิ่มงบประมาณและเร่งพัฒนากองทัพเรือเพื่อปกป้องผลประโยชน์ ชองชาติอย่างเร่งด่วน
  • 5. เศรษฐกิจ  เศรษฐกิจของอินโดนีเซียมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2554 ถึงแม้ว่าใน ปลายปี 2558 อัตรา GDP จะลดเหลืออยู่ที่ร้อยละ 4.79 ก็ตาม อินโดนีเซียก็ยังถือว่า มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงเมื่อเทียบกับประเทศในอาเซียนอื่นๆ  เศรษฐกิจอินโดนีเซียได้รับการยอมรับจากธนาคารโลกว่ามีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 10 ของโลกตั้งแต่ปี 2011  ปัญหาที่เรียกได้ว่าเป็นปัญหาหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจระยะยาวของอินโดนีเซีย ได้แก่การมีโครงสร้างพื้นฐานที่ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการในการพัฒนาประเทศ  ปัจจัยสาคัญต่อเศรษฐกิจที่จะส่งผลให้อินโดนีเซียสามารถบรรลุวัตถุประสงค์แห่งการ เป็นรัฐอานาจขนาดกลางได้นั้น จะขึ้นอยู่กับจานวนประชากรจานวนมากซึ่งส่งเสริมการ บริโภคและอุปโภคภายในประเทศ และบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุนของต่างชาติ
  • 6. นโยบายต่างประเทศ  นโยบายต่างประเทศที่เป็น “อิสระและกระตือรือร้น” ได้รับการนาไปใช้ในลักษณะที่ แตกต่างกัน เช่น ในสมัยซูการ์โน สมัยซูฮาร์โต ขึ้นอยู่กับบรรยากาศการเมืองระหว่าง ประเทศในขณะนั้น  อดีตประธานาธิบดีซูซิโล บัมบัง ยุโดโยโน ที่ยืนยันถึงนโยบายต่างประเทศ “อิสระและ กระตือรือร้น” โดยเน้นความคิดดังกล่าวผ่านสโลแกนว่า “ a million friends and zero enemies”  แนวคิดพลวัตรดุลอานาจ (Dynamic Equilibrium) ซึ่งหมายถึง การยอมรับ ในการมีอยู่ของชาติมหาอานาจต่างๆในอาเซียน (เช่น สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น เป็นต้น)  นโยบายต่างประเทศของของโจโควีได้เปลี่ยนจากการมีนโยบาย “แสวงหามิตรและไม่ สร้างศัตรู” ในสมัยของประธานาธิบดียุโดโยโนไปสู่นโยบายเน้นผลประโยชน์แห่งชาติ มากขึ้น (ชาตินิยม)
  • 7. นโยบายต่างประเทศ (ต่อ)  ท่าทีทางการทูตใหม่ของอินโดนีเซียในยุคโจโควีที่มีเป้าหมายให้ประเทศ ต่างๆเคารพอานาจทางทะเลของอินโดนีเซียภายใต้ความคิด “Global Maritime Fulcrum” ซึ่งเน้นประเด็นหลัก 5 ประการ คือ วัฒนธรรมทางทะเล ทรัพยากรทางทะเล การเชื่อมต่อหมู่เกาะต่างๆ การทูต ทางทะเล และการพัฒนากองทัพเรือ  อินโดนีเซียยังคงให้ความสาคัญกับอาเซียน แต่อาเซียนไม่ได้เป็นกรอบ ความร่วมมืออันเดียวที่อินโดนีเซียเน้น อินโดนีเซียจะส่งเสริมการทูตทวิ ภาคีมากขึ้น ซึ่ง Rizal Sukma กล่าวว่า อินโดนีเซียในยุคนี้จะให้ ความสาคัญกับความสัมพันธ์ทวิภาคีซึ่งเขามองว่าเป็นสิ่งที่จะสร้าง ประโยชน์ให้กับอินโดนีเซียอย่างเต็มที่มากกว่าความสัมพันธ์พหุภาคี
  • 8. สังคม  ประสบความสาเร็จในการผสมผสานประชาธิปไตยให้เป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศได้ ประชาธิปไตยได้สร้างความมั่นคงให้กับสังคมอินโดนีเซียมากขึ้น  ความกังวลใจเกี่ยวกับอิสลามกับประชาธิปไตยก็ได้รับการพิสูจน์ว่าสามารถที่จะดาเนินไป ด้วยกันได้  ประชาธิปไตยได้เป็นปัจจัยสาคัญที่อยู่เบื้องหลังในการสร้างความมั่นคงภายในประเทศใน การแก้ปัญหาความขัดแย้งที่ยืดเยื้อต่างๆ เช่น ในติมอร์ตะวันออกและอาเจะห์  อย่างไรก็ตาม การละเมิดสิทธิมนุษยชนยังดารงอยู่ โดยเฉพาะในจังหวัดปาปัวที่มี ขบวนการปาปัวเสรีเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากอินโดนีเซีย  ในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมารัฐบาลอินโดนีเซียต้องพยายามรักษาสมดุลระหว่างกลุ่มมุสลิมที่ต้องการรัฐ ศาสนากับกลุ่มโลกีวิสัยที่ไม่ต้องการให้อิสลามเข้ามาข้องเกี่ยวทางการเมือง ปัญหาได้รับการคลี่คลาย ผ่านการเน้นหลักการ “พระเจ้าองค์เดียว” (ที่ไม่เฉพาะเจาะจงว่าเป็นอิสลาม) ที่เรียกว่าปัญจศิลา (Pancasila) หลัก 5 ประการของรัฐ
  • 10. ตุรกี บริบททั่วไป  ประเทศตุรกีมีขนาด 783,562 ตารางกิโลเมตร  มีจานวนประชากร 79 ล้านคนโดย 99 เปอร์เซ็นต์นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี  เมืองที่มีประชากร หนาแน่นมากที่สุดได้แก่ เมืองอิสตันบูล (14 ล้านคน) เมืองอังกา ร่า (5 ล้านคน) และเมืองอิสมิร (4 ล้านคน)
  • 12. การทหารของตุรกี  ปัจจุบันตุรกีมีศักยภาพด้านการทหารอยู่ในระดับแนวหน้าของประเทศในตะวันออก กลางและยุโรปตะวันออกโดยมีทหารประจาการทั้งหมดประมาณ 678,617 คน  ตุรกีเป็นประเทศที่ทุ่มงบประมาณสาหรับการทหารมากที่สุดเป็นเป็นลาดับที่ 15 ของ โลก  ในปี 2014 ตุรกียังคงอยู่ในลาดับที่ 15 ของโลกโดยมีงบประมาณ 22.6 พันล้าน เหรียญดอลล่าร์สหรัฐ คิดเป็น 2.2% จากตัวเลข GDP ของประเทศ
  • 13. การทหารของตุรกี (ต่อ)  แต่เนื่องจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองในตะวันออกกลางในปัจจุบันเริ่ม บานปลาย ตุรกีมีแนวโน้มที่จะปรับเพิ่มงบประมาณด้านการทหารเพื่อตอบสนอง ข้อตกลงของ NATO และเพื่อรับมือกับสงครามกลางเมืองในซีเรียและกับรัฐอิสลาม หรือ ISIS  ในปี ค.ศ. 2023 ตุรกีมีเป้าหมายในการสร้างอุตสาหกรรมอาวุธแบบครบวงจรเพื่อ ผลิตอาวุธเป็นของตัวเองตั้งแต่ปืน รถถังไปจนถึงเครื่องบินรบ  ตุรกีพิสูจน์ให้เห็นถึงการเป็นประเทศอานาจขนาดกลางได้ชัดเจนผ่านการปฏิบัติการ ทางทหาร เช่น การยิงเครื่องบินรบรัสเซียตกที่ตุรกีอ้างว่าละเมิดน่านฟ้าของตน ฯลฯ
  • 14. เศรษฐกิจของตุรกี  ในช่วงปี 2002-2011 ซึ่งเป็นช่วงที่พรรค AK ได้รับเลือกตั้งติดต่อกันสอง สมัย โดยสภาพเศรษฐกิจมีอัตราการเจริญเติบโตของ GDP อยู่ที่ 5.2 เปอร์เซ็นต์และมีอัตราผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศต่อประชากร (GDP per capita) เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดจาก 3,500 เหรียญดอลล่าร์ในปี 2001 เป็น 10,500 เหรียญดอลล่าร์ในปี 2011  จากการศึกษาของ OECD ตุรกีถือเป็นประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตเร็ว ที่สุดในประเทศยุโรปในปี 2011 และจะสามารถรักษาอัตราการเจริญเติบโตได้ จนถึงปี 2017  ตุรกีถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วตามการประเมินของ CIA และเป็น ประเทศอุตสาหกรรมเกิดใหม่โดยการจัดประเภทของ IMF
  • 15. เศรษฐกิจของตุรกี (ต่อ)  เศรษฐกิจตุรกีเริ่มชะลอตัวในปี 2013-2015  โดยมีอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น จากปี 2013 9.1 เปอร์เซ็นต์ เป็น 9.9 เปอร์เซ็นต์ ในปี 2014  อัตราเงินเฟ้อปี 2013 อยู่ที่ 7.5 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มขึ้นเป็น 8.9 เปอร์เซ็นต์ในปี 2014  ค่าเงินลีร่าของตุรกีลดมูลค่าลงจากเดิมในปี 2013 1 ดอลล่าร์สหรัฐเท่ากับ 1.9 ลีร่า ในปี 2014 1 ดอลล่าร์สหรัฐเท่ากับ 2.19 ลีร่า จากการคาดการณ์เศรษฐกิจของตุรกี ในปัจจุบันค่าเงินลีร่าตุรกีน่าจะมีแนวโน้มลดลงอีกในปี 2016
  • 16.  เศรษฐกิจตุรกีมีฐานโครงสร้างสาธารณูปโภครองรับที่แข็งแกร่งพอสมควร ตุรกีจัดว่าเป็น ประเทศที่มีความพร้อมและความสะดวกในด้านคมนาคมในระดับดีมาก  ในเมืองอิสตัลบูลมีรถไฟฟ้าใต้ดิน รถไฟลอยฟ้า รถรางรวมกันจานวน 15 เส้นทาง ในเมือง อังการ่ามีรถไฟฟ้า 5 เส้นทาง (กาลังก่อสร้างอีก 3 เส้นทาง)ในเมืองอิสมิรมีรถไฟฟ้า 2 เส้นทาง  ตุรกียังเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างทวีปเอเชียและยุโรปผ่านเส้นทางรถไฟอีกด้วย ปัจจุบันตุรกีเปิด เส้นทางเดินรถไฟจากเมืองอังการ่าไปยังประเทศบัลแกเรีย (Svilengrad, Dimitrovgrad, Plovdiv, Sofia) โรมาเนีย (Bucharest) และอิหร่าน (Tehran)
  • 17. Turkey's new YHT high- speed train, linking Ankara, Konya, Eskişehir and (from July 2014) the outskirts of Istanbul
  • 19.  ในกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ ตุรกีเป็นสมาชิกของกลุ่ม G20 และมี ความร่วมมือด้านการค้าภายใต้ข้อตกลงการค้าเสรีกับสหภาพยุโรป (Customs Union Agreement with the EU) รวมถึงกับ ประเทศในแถบแอฟริกาเหนือ (เช่น โมร็อกโกและอียิปต์) ยุโรปตะวันออก (เช่น โครเอเชีย) เอเชีย (เช่น เกาหลีใต้) และตะวันออกกลาง (เช่น ปาเลสไตน์และ อิสราเอล)  ที่สาคัญตุรกีกลายเป็นคู่แข่งกับจีนในการลงทุนด้านการก่อสร้างสาธารณูปโภคใน ประเทศแถบแอฟริกา โดยในปี 2014 การค้าแบบข้อตกลงทวิภาคีในทวีป แอฟริกาทาให้เกิดมูลค่า 23.4 พันล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐ (Ministry of Foreign Affairs, Turkey, n.d.)
  • 20. นโยบายต่างประเทศตุรกี  ภายหลังจากการก่อตั้งสาธารณรัฐตุรกี ตุรกีได้รับความช่วยเหลือจากประเทศตะวันตก โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาในการพัฒนาประเทศ นโยบายต่างประเทศของตุรกีเน้นหัน หน้าเข้าสู่ตะวันตกอย่างเต็มที่  นโยบายต่างประเทศตุรกีอาจแบ่งได้เป็น 4 ช่วงเวลาหลักๆ 1. ช่วงของเคมาลิสต์และการเข้าหาตะวันตก 2. ช่วงภายใต้การดูแลของกองทัพและเน้นการดาเนินนโยบายแบบโดดเดี่ยว 3. ช่วงยุคประธานาธิบดีโอซาลและนโยบายนีโอออตโตมานช่วงเริ่มต้น 4.ช่วงยุคพรรคอัคและนโยบายการดาเนินความสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์แบบหลากมิติ
  • 21. ช่วงยุคพรรคอัค (AK)  จุดเปลี่ยนของการต่างประเทศของตุรกี ที่เริ่มเห็นเด่นชัดและทาให้ตุรกีเข้าสู่การเป็นตัว แสดงที่สาคัญในเวทีระหว่างประเทศคือ ในช่วงเปลี่ยนผ่านอานาจสู่พรรคยุติธรรมและ พัฒนา หรือพรรคอัค ซึ่งหันมาเน้นการดาเนินนโยบายต่างประเทศเชิงสร้างสรรค์แบบ หลากมิติ จากนโยบายต่างประเทศตุรกีในอดีตเน้นให้ความสาคัญแก่ประเด็นด้านความ มั่นคงในรูปแบบที่เน้นประเด็นการเมืองและเศรษฐกิจเป็นหลัก
  • 22. นโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน  เมื่อพรรคอัคเข้ามาบริหารประเทศในเดือนพฤศจิกายน 2002 ตุรกีได้ขยายขอบเขตการ ดาเนินนโยบายต่างประเทศที่เน้นประเทศเพื่อนบ้านและประเทศอื่นๆ นอกเหนือจากตะวันตก มากขึ้น  เมื่อครั้งดาวุดโอก์ลู นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน อยู่ในตาแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการ ต่างประเทศ นั่นคือ นโยบายการปราศจากปัญหากับเพื่อนบ้าน (‘zero problems’ with neighbors) และพัฒนาความสัมพันธ์กับภูมิภาคใกล้เคียงและกระจายออกไป  แม้ว่าต่อมาจะเล็งเห็นว่าประเทศเพื่อนบ้านล้วนแล้วแต่มีปัญหาที่ทาให้การไม่มีปัญหากับเพื่อน บ้านนั้นมีความยากลาบาก จึงหันมาใช้ นโยบายการร่วมมือให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้  นโยบายต่างประเทศใหม่ของตุรกีนี้ ไม่เน้นการดาเนินความสัมพันธ์ในมิติความมั่นคงเช่นเดิม อีกต่อไป หากแต่ยังให้ความสาคัญต่อประเด็นอื่นๆ เช่น วัฒนธรรม เศรษฐกิจ สันติภาพและ การช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม เป็นต้น
  • 23. นโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน (ต่อ)  การดาเนินนโยบายต่างประเทศของตุรกียังมีอีกหนึ่งลักษณะเฉพาะคือ มีความเป็น อิสระ และไม่มีความเป็นศัตรูถาวรในทุกด้าน หากแต่ถ้ามีความจาเป็นที่จะต้องร่วมมือ ในประเด็น ก็จะร่วมมือ และประเด็นใดที่จาเป็นต้องแสดงจุดยืนการต่อต้านโดยเฉพาะ ต่อประเทศมุสลิมและภูมิภาคใกล้เคียง ก็จะต่อต้านอย่างแข็งกร้าว เช่น จุดยืนของตุรกี ต่อจีน แม้ว่าตุรกีจะต่อต้านมาตรการของจีนต่อชาวอุยกูรเติร์กในซินเจียง แต่ก็ยังคงมี การดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจกับจีน
  • 24. นโยบายต่างประเทศในปัจจุบัน (ต่อ)  เสนอแนวทางเลือกในการเป็นประเทศพึ่งพิงที่นอกเหนือจากประเทศตะวันตก ขณะเดียวกันก็เน้นการพัฒนาให้มีมาตรฐานทัดเทียมกับประเทศตะวันตกและ ยุโรป  การนาเอาความเป็นเอเชียและความเป็นมุสลิมกลับมา จึงเริ่มแสดงบทบาทนาใน ประเทศที่มีลักษณะทางวัฒนธรรมใกล้เคียงกันนี้ได้ นอกจากนั้น ความเป็นพรรค การเมืองที่มีนโยบายอยู่บนฐานของความเป็นอิสลาม ทาให้การดาเนินนโยบาย ของพรรคอัคในช่วงหลัง ถูกมองว่าเป็นแนวทาง “นีโอออตโตมาน” ที่ชัดเจนขึ้น กว่ายุคก่อนหน้า ซึ่งออตโตมานเดิมในอดีตเคยเป็นอาณาจักรที่ปกครองโลก มุสลิมมาก่อน ความรู้สึกเช่นนี้จึงถ่ายทอดมาสู่ตุรกีในยุคปัจจุบันที่กาลังแสวงหา จุดยืนที่เป็นผู้นาอีกครั้ง
  • 26. สภาพสังคมตุรกี  ประชากรหลักของประเทศจะนับถือศาสนาอิสลาม แบบสานักคิดฮานาฟี ในแนวทาง ซุนนี่เป็นส่วนใหญ่ ขณะเดียวกันก็มีผู้คนที่นับถือในแนวคิดอาลาวี และชีอะห์ รวมถึงซู ฟี อยู่จานวนหนึ่ง โดยที่หากคิดเป็นเปอร์เซ็นต์แล้วมีมุสลิม 99.8% ของประชากร ทั้งหมด และศาสนาอื่นๆ อีกเพียง 0.2%  ในแง่ของสังคมการเมืองตุรกีเป็นประเทศที่ถือว่าสังคมได้มีการถูกทาให้มีความเป็น ประชาธิปไตย ด้วยกับระบบพรรคหลายพรรคที่เกิดขึ้น การมีการเลือกตั้งได้อย่างอิสระ และก้าวข้ามผ่านอิทธิพลของทหารในการเข้าสู่กรอบทางการเมือง ซึ่งได้เคยเกิดการ ปฏิวัติโดยกองทัพเมื่อปี 1960, 1971, 1980 และครั้งสุดท้ายในปี 1997
  • 27. ปัญหาและข้อท้าทาย  สาหรับ ภายในประเทศ ตุรกียังคงเผชิญกับความไม่มั่นคงของการเมืองภายใน ไม่ว่า จากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนรัฐบาลและฝ่ายที่สนับสนุนพรรคฝ่ายค้าน กลุ่มอิสลามมิสต์และกลุ่มเซคคิวล่าริสต์รวมไปถึงกลุ่มเคมาลิสต์และกลุ่มชาตินิยมที่ ยังคงมีการปะทะการตลอดมา  ปัญหาความขัดแย้งระหว่างชาวเติร์กและชาวเคิร์ด  การว่างงานซึ่งในเดือนพฤษภาคม 2015 ตุรกีมีอัตราการว่างงานอยู่ที่ 9.3%  แรงกดดันและอิทธิพลจากต่างชาติ โดยเฉพาะมหาอานาจ อย่างสหรัฐอเมริกา  ภัยจากกลุ่ม IS, สงครามในซีเรีย, กลุ่มติดอาวุธเคิร์ดที่อยู่ในอิรักและซีเรีย, ความ พยายามในการขึ้นมามีบทบาทของอิหร่าน เป็นต้น
  • 28. บทสรุป  ตุรกีวางตาแหน่งแห่งที่ของตนภายใต้กรอบประเทศอานาจขนาดกลางมาตั้งแต่หลัง สงครามโลกครั้งที่ 2  แต่อิทธิพลของตุรกีในฐานะประเทศอานาจขนาดกลางผันผวนตามพลวัตของการเมือง ภายในประเทศและการเมืองระหว่างประเทศ  ปัจจุบันการเมืองตุรกีมีเสถียรภาพทางการเมืองมากพอสมควร ไม่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิด รัฐประหารแม้จะมีกองกาลังขนาดใหญ่และมีอุตสาหกรรมด้านอาวุธเป็นของตัวเอง  นอกจากนั้นตุรกียังประสบกับความท้าทายจากภาวะการเมืองภายในและการเมือง ระหว่างประเทศ แต่ก็ดูเหมือนว่าตุรกีจะสามารถก้าวข้ามไปได้ด้วยฐานของสังคมที่เป็น ประชาธิปไตย
  • 29. บราซิล บริบททั่วไป  ประเทศบราซิลมีพื้นที่ราวๆ 3,265,059 ตารางกิโลเมตร  มีประชากรราวๆ 207 ล้านคน ในปี 2015  เมืองใหญ่ที่สุดในบราซิลนั้นได้แก่เมือง Sao Paolo ซึ่งมีประชากรอยู่อาศัยถึง 11.3 ล้านคนในปี ค.ศ.2011  ประชากรส่วนใหญ่นั้นนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก 64.6% นิกายโปรเตส แตนท์ 22.2% ไม่มีศาสนา 8% ศาสนาอื่นๆ 5.2%
  • 31. การทหาร  กองทัพบราซิลนั้นอยู่อันดับที่ 22 ของโลก ตามหลังตุรกีและอินโดนีเซีย ที่อยู่อันดับ 10 และ 12 ตามลาดับ  งบประมาณทหารของบราซิลนั้นอยู่ที่ 31,900,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ และอยู่อันดับที่ 12 ของโลก โดยมีทหารประจาการอยู่ที่ 330,000 คน ในปี 2015 บราซิลได้มีการตัด งบประมาณทหารกว่า 25% ซึ่งเป็นผลพวงมาจากสภาวะเศรษฐกิจ  ในปี 2011 นั้นบราซิลถือว่าเป็นผู้ส่งออกอาวุธเบารายใหญ่อันดับที่ 4 ส่งออกไปยังตลาด ประเทศกาลังพัฒนา สะท้อนให้เห็นถึงความพยายามของบราซิลที่จะมีบทบาทในกลุ่มประเทศ กาลังพัฒนามากขึ้น  พัฒนาเรือดาน้าพลังนิวเคลียร์ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ 1.) ปกป้องแหล่งเชื้อเพลิงน้ามันที่พบ นอกชายฝั่งบราซิล และ 2.) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแสดงพลังในเวทีโลกและสามารถ เปิดทางให้บราซิลได้มีตาแหน่งสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
  • 32. เปรียบเทียบมูลค่าการส่งออกยุทโธปกรณ์เปรียบเทียบในกลุ่มประเทศ BRICS และ ตุรกี 2010 2011 2012 2013 2014 2015 มูลค่ารวม* (ล้าน ดอลลาร์) บราซิล 151 31 33 40 44 41 339 รัสเซีย 6,172 8,695 8,480 8,107 5,456 5,483 42,404 อินเดีย 5 3 - 8 53 33 102 จีน 1,496 1,338 1,728 2,055 1,360 1,960 9,943 แอฟริกาใต้ 235 71 182 97 59 39 683 ตุรกี 72 86 143 156 179 291 928
  • 33. เศรษฐกิจ  บราซิลมีขนาดเศรษฐกิจ อันดับ 8 ของโลก และใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอเมริกาใต้  ภาคการบริการนั้นคิดเป็น 70% ของ GDP ตามมาด้วยภาคอุตสาหกรรมที่คิดเป็น 25%  เศรษฐกิจบราซิลนั้นเคยมีอัตราการเติบโตที่สูงมากในช่วงปี ค.ศ.1920-1980 ที่ 6.2%  มีการเติบโตที่เสถียรแต่มีสภาวะตกต่าลงเมื่อเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจในปี ค.ศ.2008 ซึ่ง GDP ของบราซิลนั้นหล่นลงไปที่ 0.4% และหล่นลงมาเป็น 0.1% ในปี 2014  มีทรัพยากรธรรมชาติมหาศาล ซึ่งการที่บราซิลนั้นสามารถพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตน้ามัน ได้นั้นหมายความว่าบราซิลสามารถลดการพึ่งพาการนาเข้าน้ามันจากภายนอกได้  บราซิลมีศักยภาพสูงในการทาเกษตรกรรม มีเนื้อที่ๆกว้างใหญ่ และผลผลิตนั้นจะแตกต่างกัน ออกไปตามภูมิประเทศ นั่นหมายความว่าบราซิลมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองด้านอาหาร ตลอดจนเป็นแหล่งที่มาของรายได้และการจ้างงานอีกด้วย
  • 34. นโยบายต่างประเทศ  การกาหนดบทบาทของตนเองเป็นผู้นาในภูมิภาคพร้อมกันกับการแสดงบทบาทในเวทีโลก เน้นการใช้ อานาจอ่อน (Soft Power) อย่างเข้มแข็ง การพึ่งพาตนเอง เพิ่มความร่วมมือที่เข้มข้นระหว่าง ประเทศ South เพื่อถ่วงดุลกับประเทศมหาอานาจ  ประธานาธิบดี Lula ดาเนินนโยบายโดยการสร้างบราซิลให้เป็นประเทศที่มีความสัมพันธ์ทั้งการค้า และการทูตที่หลากหลาย  เน้นย้าในแง่ของการช่วยเหลือและความร่วมมือในกลุ่มประเทศใต้ (South-South Corporation) ในขณะเดียวกันก็ทางานร่วมมือกับประเทศมหาอานาจที่พัฒนาแล้ว (North)  การดาเนินนโยบายต่างประเทศแบบ South-South เช่น MERCOSUR หรือตลาดร่วม อเมริกาใต้ตอนล่าง, UNASUR (บทบาทของบราซิลใน UNASUR นั้นเป็นที่น่าสนใจอย่าง มาก เนื่องจาก UNASUR นั้นถูกก่อตั้งด้วยจุดประสงค์เพื่อลดการพึ่งพาและอานาจของกลุ่ม ประเทศพัฒนาแล้วในภูมิภาคอเมริกาใต้ โดยเฉพาะจากสหรัฐอเมริกา)  BRICS, IBSA หรือ India, Brazil and South Africa Dialogue Forum, G20
  • 36. สภาพสังคม  ในส่วนของความเป็นประชาธิปไตยนั้น ตั้งแต่การคืนอานาจโดยรัฐบาลทหารในปี ค.ศ. 1985 ก็มีพัฒนาการมาอย่างน่าพอใจ ซึ่งผลพวกจากการเติบโตของเศรษฐกิจและ ความสาเร็จในการยกระดับรายได้ของประชาชนนั้นทาให้บราซิลมีสัดส่วนชนชั้นกลางที่ ค่อนข้างใหญ่โดยมีสัดส่วนมากกว่า 55% ของประเทศในปีค.ศ. 2014  ยังมีปัญหาอาชญากรรม มีแนวโน้มในการเพิ่มอัตราความรุนแรงในสังคมนั้นมาจาก ความเหลื่อมล้าทางรายได้  ปัญหาความรุนแรงของสังคมในบราซิลนั้นไม่เพียงส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สิน แต่ส่งผลโดยตรงกับเศรษฐกิจ ซึ่งผลกระทบโดยตรงของอาชญากรรมในเขตเมืองหรือ รัฐนั้นคิดเป็น 3-5% ของ GDP ต่อปี นอกจากนี้ ภาพพจน์ความรุนแรงของสังคม บราซิลนั้นก็เป็นอุปสรรคสาคัญสาหรับการลงทุนและการเติบโตของธุรกิจ
  • 37. ปัญหาและข้อท้าทาย  การมีกองทัพที่ทันสมัยและน่าเกรงขามนั้นก็เป็นสิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าเป็นปัจจัยสาคัญใน การพิจารณาถึงความสามารถในการมีบทบาทและมีน้าหนักในเวทีโลก ซึ่งเรื่องนี้ก็เป็น สิ่งที่มีการเรียกร้องจากภายในประเทศ ในฐานะสมาชิกกลุ่มประเทศ BRICS ที่มี สัดส่วนงบประมาณทหารน้อยที่สุด ราวๆ 1.5% ต่อ GDP ในขณะที่ รัสเซีย อินเดีย จีนและแอฟริกาใต้นั้นใช้งบประมาณราวๆ 2.3% ต่อ GDP ในปี คศ.2014  หลังเศรษฐกิจภายในของบราซิลเริ่มถดถอยจากมาตรการรัดเข็มขัด ที่ตัดงบประมาณ การลงทุนของรัฐบาลตัดการสนับสนุนด้านราคาพลังงานเช่นน้ามัน ส่งผลให้อัตรา ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น 14% ซึ่งตอกย้าภาวะเงินเฟ้อที่มีเดิมอยู่แล้ว  หลังเศรษฐกิจภายในของบราซิลเริ่มถดถอยจากมาตรการรัดเข็มขัด ที่ตัดงบประมาณ การลงทุนของรัฐบาลตัดการสนับสนุนด้านราคาพลังงานเช่นน้ามัน ส่งผลให้อัตรา ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น 14% ซึ่งตอกย้าภาวะเงินเฟ้อที่มีเดิมอยู่แล้ว
  • 38. ถอดบทเรียนสาหรับประเทศไทย สาหรับแนวความคิดประเทศอานาจขนาดกลาง  ประเด็นแรกจากการวิเคราะห์ ทั้งสามประเทศได้มีช่วงเปลี่ยนผ่าน จากยุคการปกครอง โดยผู้นาเผด็จการทหารมาสู่ยุคประชาธิปไตยเช่นเดียวกัน ซึ่งทั้งสามประเทศนับเป็น ตัวอย่างในการนาประชาธิปไตยมาเป็นระบอบทางการเมืองได้อย่างประสบความสาเร็จ และพัฒนาประเทศตามเศรษฐกิจทุนนิยมจนมีเศรษฐกิจที่เจริญเติบโตตามลาดับ เช่นเดียวกับประเทศไทยที่เปลี่ยนผ่านจากการมีผู้นาทหารมาสู่ยุคประชาธิปไตยที่ผ่าน มา  ประเทศไทยมีข้อได้เปรียบอินโดนีเซียที่มีโครงสร้างพื้นฐานที่ดีกว่า แต่ยังไม่เท่า ประเทศตุรกีและบราซิล  จานวนประชากรจานวนมากจะมีความได้เปรียบในฐานะประเทศอานาจขนาดกลาง ทั้ง ในด้านความสาคัญหรือน้าหนักในเวทีโลก หรือ ในแง่ขนาดเศรษฐกิจของประเทศ
  • 39.  ทางด้านการทหารก็มีความจาเป็นที่ไทยจะต้องพัฒนาขีดความสามารถของกองทัพให้มีศักยภาพมาก ขึ้น จัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ทันสมัยมาเสริมกองทัพ  ประเทศไทยต้องให้ความสาคัญในเรื่องการพึ่งพาตนเองในด้านการผลิตอาวุธและการป้องกันประเทศ เฉกเช่นตุรกีวางเป้าหมายในปี ค.ศ. 2023  การมีแสนยานุภาพทางทหารที่น่าเกรงขามจะส่งเสริมและสนับสนุนให้การใช้อานาจอ่อน (Soft Power) ของประเทศมีน้าหนักและประสิทธิภาพมากขึ้น  ทบทวนแผนในการจัดซื้อและพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์อย่างเป็นยุทธศาสตร์ในการป้องกันประเทศและ ปกป้องผลประโยชน์ของชาติ  ทางการทูต ไทยต้องแสดงบทบาทนาในเวทีความร่วมมือต่างๆทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลกมาก ขึ้น กาหนดตาแหน่งของตนเองว่าเป็นประเทศผู้นาของอาเซียนเป็นบันไดไปสู่การแสดงบทบาทที่ เข้มแข็งในเวทีโลก หรือการที่บราซิลกาหนดตนเองว่าเป็นผู้นาความร่วมมือต่างๆในละตินอเมริกา เช่น MERCOSUR ไทยต้องวางตาแหน่งตนเองว่าเป็นประเทศอานาจขนาดกลาง รวมทั้งใช้เวที ระหว่างประเทศต่างๆในการบอกเจตจานงของไทยอย่างชัดเจน
  • 41. บทสรุป  ทั้งสามประเทศ คือ ตุรกี บราซิล และอินโดนีเซียต่างดาเนินนโยบายต่างๆโดยกาหนดตนเองเป็น ประเทศอานาจขนาดกลาง ถึงแม้ว่าจะมีจุดแข็งและจุดอ่อนที่แตกต่างกัน ทั้งสามประเทศมีพัฒนาการที่ ได้รับการยอกรับจากนานาชาติ  ทั้งสามประเทศมีบทบาทในการเป็นผู้นาระดับภูมิภาคของตน  ตุรกีมีจุดแข็งที่มีแสนยานุภาพทางทหารที่สูงที่สุดถ้าเปรียบเทียบกับประเทศอินโดนีเซียและบราซิล  บราซิลและอินโดนีเซียมีจุดแข็งที่มีประชากรจานวนมาก เป็นฐานการบริโภคและพัฒนาเศรษฐกิจ ภายในประเทศได้เป็นอย่างดี รวมทั้งด้านแรงงานที่ไม่ต้องนาเข้าแรงงานจากต่างชาติ  บราซิลความร่วมมือระหว่างประเทศกาลังพัฒนา เช่น BRICS ซึ่งมีความหมายกับบราซิลมาก มี ความทะเยอทะยานต้องการที่จะเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงฯ  เป็นประเทศประชาธิปไตยที่ใหญ่เป็นลาดับ 3 ของโลก และเป็นประเทศมุสลิมที่มีประชากรมากที่สุดใน โลกทาให้อินโดนีเซียได้รับการเคารพจากนานาชาติ  ในด้านนโยบายต่างประเทศ อินโดนีเซียมีความทะเยอทะยานในการเป็นผู้นาในภูมิภาคอาเซียน และ แสดงบทบาทที่แข็งขันในกรอบการประชุมต่างๆ อินโดนีเซียใช้อาเซียนเป็นฐานในการแสดงบทบาทใน เวทีโลก