SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์
: บทเรียนต่อประเทศไทย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอร ภู่เจริญ
ผู้ช่วยอธิการบดี
Lee Kuan Yew School of Public Policy
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์
: บทเรียนต่อประเทศไทย
2โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1. แนวคิดและนโยบายหลักที่ใช้ในการสร้างชาติและบริหารราชการของสิงคโปร์
1.1 แนวทางในการสร้างและพัฒนาทรัพยากร “มนุษย์” ผ่านแนวคิดการปรับตัว
(resilience) และการมองการณ์ไกล(foresight)
ปี ค.ศ.1965 ภายหลังจากที่สิงคโปร์แยกตัวออกจากมาเลเซีย ลี กวน ยู นายกรัฐมนตรี
คนแรกของสิงคโปร์ ได้ตระหนักถึงความยากในการพัฒนาประเทศ เนื่องจาก สิงคโปร์เป็น ประเทศที่
มีพื้นที่เป็นเพียงเกาะเล็กๆ และมีทรัพยากรอย่างจากัด ดังนั้น แนวทางในการสร้าง ประเทศ จึงต้องพุ่ง
เป้าไปที่การพัฒนาทรัพยากรที่มีอยู่ไม่กี่สิ่ง นั่นก็คือ “ทรัพยากรมนุษย์” โดยนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู
ได้สร้างและพัฒนา “คน” ผ่านแนวคิดการปรับตัว(resilience) และมองการณ์ไกล(foresight)
โดยในทัศนคติของ อดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู เห็นว่า ควรสร้างคนให้รู้จักการ ปรับตัวเข้า
กับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมโลกในปัจจุบัน รวมถึงต้องสร้างคนให้มีวิสัยทัศน์ที่ก้าวไกล
เพื่อฝึกฝนทักษะในการคาดเดาต่อโอกาสและภัยคุกคามต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งแนวคิดนี้
อดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู เห็นว่าจะเป็นหนึ่งในแนวทางการรักษาอธิปไตยของ รัฐให้อยู่ต่อไปอย่าง
ยั่งยืนและมีเสถียรภาพในประชาคมโลก
1.2 แนวคิด Meritocracy (ระบบคุณธรรมและความสามารถ) กับการสร้างชาติของสิงคโปร์
แนวคิด Meritocracy (ระบบคุณธรรมและความสามารถ) เป็นหนึ่งในแนวคิดหลักที่ สาคัญใน
การสร้างชาติของสิงคโปร์ แนวคิดดังกล่าวได้ยึดโยงกับหลักคุณธรรมและ ความสามารถของแต่ละ
บุคคล ไม่ว่าบุคคลนั้นจะมีเชื้อชาติ ศาสนา และพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคมเช่นไร ก็จะต้องได้รับ
การสนับสนุนและเปิดโอกาสให้สามารถแสดงศักยภาพภายในอย่างเต็มที่ โดยแนวคิดนี้ ได้ถูก
นามาปรับใช้เป็นแกนหลักในการบริหารและจัดการด้านต่างๆ อาทิ การจัดการด้านชาติพันธ์
(Race & Ethnic Group) การจัดการด้านการศึกษา(Education) เป็นต้น
ในส่วนนี้จะขอยกตัวอย่าง การนาแนวคิด Meritocracy (ระบบคุณธรรมและความสามารถ) มา
ปรับใช้เป็นแนวทางหลักในการจัดการด้านชาติพันธ์ (Race & Ethnic Group) กล่าวคือ ทุกเชื้อชาติใน
ประเทศสิงคโปร์จะถูกได้รับการปฏิบัติต่อกันอย่างเท่าเทียม โดย ไม่มีสิทธิพิเศษต่อเชื้อชาติใดเชื้อ
ชาติหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อป้องกันความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ ซึ่งแนวคิดดังกล่าวเป็นแนวคิดคู่ตรงข้ามกับ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอร ภู่เจริญ
ผู้ช่วยอธิการบดี
Lee Kuan Yew School of Public Policy
3
แนวคิดภูมิบุตราของมาเลเซีย ที่ให้สิทธิพิเศษต่อเชื้อชาติมาเลย์เหนือเชื้อชาติอื่นๆภายในประเทศ ทั้งนี้ได้มี
การนาแนวคิดดังกล่าวมาปรับใช้ในการ จัดการด้านชาติพันธุ์ ภายหลังที่สิงคโปร์แยกตัวออกมาจากมาเลเซีย
1.3 แนวคิดรัฐ-ชาติกับการสร้างประเทศสิงคโปร์
ประเด็นที่ถูกถกเถียงว่าสิงคโปร์เป็นรัฐ-ชาติ (nation-state) หรือเมืองท่า (port-city) นั้นมี มา
อย่างต่อเนื่อง การมองว่าสิงคโปร์ไม่ใช่รัฐ-ชาติ มักถูกอ้างว่าสิงคโปร์เป็นรัฐที่ไม่ได้เกิดจาก ค น ที่ มี
ภาษา ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม หรือ อัตลักษณ์เดียวกัน ขณะเดียวกันสิงคโปร์ก็มีลักษณะ
ของความเป็นเมืองท่า เมืองทางผ่านและเป็นจุดแวะพักของเรือการค้ามากกว่า รวมถึงการที่สิงคโปร์ถูก
ทาให้เป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจและการลงทุนในภูมิภาค จึงทาให้ใน ปัจจุบัน มีบรรษัทข้ามชาติ
(Multinational Companies) เข้าไปลงทุนในสิงคโปร์ จานวนทั้งสิ้น 7,000 กว่าบรรษัท อีกทั้งยังมี
ชาวต่างชาติเข้าไปพานักในสิงคโปร์จานวนมากว่าร้อยละ 40 ของ ประชากรทั้งหมด ดังนั้น สังคม
สิงคโปร์จึงเป็นสังคมแห่งการเปลี่ยนผ่าน (society in transition) และประเทศสิงคโปร์ จึงมีลักษณะ
ของความเป็นนครสากล (cosmopolitan city) มากที่สุดแห่งหนึ่ง
ด้วยเหตุนี้ อดีตนายกรัฐมนตรี โก๊ะ จ๊ก ตง จึงเห็นว่า การนาแนวคิดรัฐ-ชาติ มาใช้ใน
การสร้างประเทศสิงคโปร์นั้นอาจไม่เหมาะสม เนื่องจากสิงคโปร์เป็นสังคมที่มีความเป็นพหุ วัฒนธรรม
สูง อีกทั้งยังต้องพึ่งพิงทางด้านเศรษฐกิจกับต่างชาติเป็นอย่างมาก ดังนั้น การนา แนวคิดรัฐ-ชาติ มา
ปรับใช้ จึงอาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และสังคมไม่มากก็น้อย อาทิ ภาวะการถูกผสมกลืนกิน
(assimilate) ทางวัฒนธรรม ที่อาจเป็นสาเหตุทาให้คนใน สังคมรู้สึกแปลกแยก (alienate) ต่อผืน
แผ่นดินสิงคโปร์ก็เป็นได้
อย่างไรก็ตาม รัฐบาลสิงคโปร์ได้มีแนวคิดในการนาแนวแนวคิดรัฐ-ชาติมาปรับใช้อยู่บ้าง
เนื่องจาก ในปัจจุบัน ประชาชนชาวสิงคโปร์จานวนหนึ่ง เริ่มเห็นด้วยต่อแนวคิดรัฐ-ชาติ และเริ่มตั้ง
คาถามต่อการเป็นคนสิงคโปร์ว่าได้รับประโยชน์อันใด เพราะในเมื่อปัจจุบัน มีชาวต่างชาติ จ า น ว น
มากกว่าร้อยละ 40 ของประชากรทั้งหมดอาศัยอยู่ในสิงคโปร์ ซึ่งชาวต่างชาติทั้งหมดนี้ ล้วนแล้วแต่ได้
สิทธิขั้นพื้นฐานเทียบเท่ากับพลเมืองชาวสิงคโปร์ นอกเหนือจากนี้ ยังรวมถึงปัญหาจากการ บ ริ โ ภ ค
สาธารณูปโภคและขนส่งมวลชนต่างๆ อย่างแออัด อาทิ การจราจรบนท้องถนนติดขัด รถไฟฟ้าแออัด
ตลอดจนราคาที่พักอาศัยที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น การนาแนวคิดรัฐ-ชาติมาปรับใช้ในสิงคโปร์ ก็อาจมีความเป็นไปได้ที่จะ
ส่งผลกระทบต่อความสะดวกด้านการลงทุนของชาวต่างชาติในสิงคโปร์ รวมถึงการดารงชีพใน
สิงคโปร์ของแรงงานข้ามชาติ ตลอดจนอาจเกิดปัญหาด้านความเหลื่อมล้าและการเลือกปฏิบัติต่อ
ชาวต่างชาติและชาวสิงคโปร์อีกด้วย
1.4 แนวทางการจัดการนโยบายสาธารณะและการบริหารราชการโดยยึดหลักการปฏิบัตินิยม
(pragmatism)
แนวทางการจัดการนโยบายสาธารณะและการบริหารราชการในแต่ละหน่วยงาน (Statutory
Boards) ของสิงคโปร์ ค่อนข้างมีอิสระในการบริหารจัดการ(Autonomous agencies) ม า ก แ ล ะ ยึด
หลักการปฏิบัตินิยม (pragmatism) หมายถึง มีการเลือกใช้นโยบายหรือแนวทางอะไรก็ตาม ที่เมื่อ
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4
นาไปปฏิบัติแล้วสัมฤทธิ์ผล โดยมุ่งเน้นไปที่ผลสาเร็จมากกว่าวิธีการ ยกตัวอย่าง เส้นแบ่งแนวทางการดาเนินงาน
ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนที่ค่อนข้าง คลุมเครือ กล่าวคือ เรื่องใดที่ภาครัฐสามารถดาเนินการจัดการได้ดีกว่า
ภาคเอกชน ก็ควรปล่อย ให้เป็นไปตามกลไกของรัฐ ในขณะที่ เรื่องใดที่ภาคเอกชนสามารถดาเนินการจัดการได้ดี
มีประสิทธิภาพกว่าภาครัฐ ก็ควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไกตลาดของภาคเอกชน นอกเหนือจากนี้ ห ลั ก ก า ร
ปฏิบัตินิยม (pragmatism) ยังถูกนามาใช้เป็นแนวทางหลักในการปกครองประเทศอีกด้วย โดยสิงคโปร์ได้ใช้
รูปแบบการปกครองประเทศในรูปแบบประชาธิปไตย แต่ทั้งนี้รูปแบบของประชาธิปไตยที่ถูกนามาใช้กับสิงคโปร์
นั้น ไม่จาเป็นต้องไปยึดโยงกับแนวคิด ประชาธิปไตยของตะวันตกไปเสียทั้งหมด แต่สามารถปรับและคัดเลือก
แนวทางที่เหมาะสมต่อแนวทางของตนเองได้
ในที่นี้จะขอยกตัวอย่าง แนวทางการจัดการนโยบายสาธารณะและการบริหารราชการ ที่ยึดหลักการ
ปฏิบัตินิยม (pragmatism) ดังนี้
นโยบายที่พักอาศัย(Housing Policy)
นโยบายที่พักอาศัย(Housing Policy) เป็นหนึ่งในนโยบายสาคัญที่ทาให้ประชาชนชาวสิงคโปร์
ประมาณร้อยละ 80 ของประเทศ มีที่พักอาศัยเป็นของตนเอง ซึ่งที่พักอาศัยดังกล่าวถูกสร้างโดย บริษัท
Housing Development Board ที่มีรัฐบาลสิงคโปร์เป็นเจ้าของ ราคาของบ้านเป็นไปตามกลไกตลาด ตาม
สภาพความเป็นอยู่ (Living Condition and Living Standard) และตามค่าครองชีพ(Cost of Living) ณ
ขณะนั้น
โดยอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู ได้เน้นย้าว่าการส่งเสริมให้ประชาชนมีที่พักอาศัยเป็นของ
ตนเอง จะทาให้ประชาชนผู้พักอาศัยมีความสนใจในราคาที่ดิน ราคาทรัพย์สิน ตลอดจนติดตามความ
เคลื่อนไหวของเศรษฐกิจโดยรวมมากขึ้น ซึ่งถือว่าเป็นการรวมเอาแนวทางการทางานของภาครัฐและ
ระบบกลไลของภาคเอกชนมาทางานร่วมกันได้อย่างลงตัว
นโยบายสร้างเมืองในสวนสาธารณะ (Singapore: The City in a Garden)
อย่างที่ทราบกันดี ว่าสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ประเทศสิงคโปร์มีการพัฒนาที่เจริญก้าวหน้าได้อย่างใน
ปัจจุบัน เพราะเป็นศูนย์กลางทางด้านการเงินและการลงทุนของภูมิภาค ดังนั้น นโยบายบางส่วนของรัฐ
จะต้องเอื้อประโยชน์และดึงดูดนักลงทุนจากต่างชาติ โดยอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู ได้มีนโยบายสร้าง
เมืองในสวน (The City in a Garden) ที่น่าสนใจคือ อดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู ได้เลือกที่จะใช้ชื่อ
นโยบายว่า เมืองในสวน (The City in a Garden) แทนที่จะใช้คาว่าสร้างสวนในเมือง(The Garden in a
City) ที่เป็นเหตุนี้ เพราะต้องการเน้นย้าให้เห็นถึงความสาคัญของการสร้างสวนสาธารณะ เพื่อให้เป็น
พื้นที่สาหรับการใช้ชีวิตและการพักผ่อน (live and play) อย่างแท้จริง
โดยการสร้างพื้นที่สีเขียวดังกล่าว ไม่ได้ถูกจากัดให้อยู่แค่เพียงพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในเมืองเท่านั้น
แต่มีการขยายตัวออกไปเรื่อยๆ ซึ่งอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู เห็นว่า หากปราศจากพื้นที่สีเขียวแล้ว
เมืองจะไม่มีความน่าอยู่ คนก็จะไม่อยากอยู่ นักลงทุนจากต่างชาติก็อาจจะไม่อยากเข้ามาลงทุน ดังนั้นจะ
เห็นได้ว่านโยบายดังกล่าวก็เป็นหนึ่งในนโยบายของรัฐเพื่อดึงดูดทุนจากต่างชาติให้เข้ามาลงทุนใน
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
นโยบายด้านการจราจร
การออกใบอนุญาตขับรถยนต์ (Car Ownership) ในสิงคโปร์ อาศัยหลักการของกลไก
ตลาด ซึ่งรัฐทาหน้าที่ในการควบคุมจานวนการออกใบอนุญาตขับรถ ตลอดจนคาดการณ์ปริมาณรถยนต์
ไปจนถึงใน 20 ปีข้างหน้า เพื่อการวางแผนควบคุมปริมาณรถยนต์ในอนาคตอีกด้วย ในส่วนของการ
ควบคุมสัญญาณไฟจราจร(traffic Control ) ที่เรียกว่า ERP นั้นก็อาศัยหลักกลไลตลาด
เช่นกัน ในกรณีที่มีการจราจรติดขัด ผู้ขับรถจะถูกเรียกเก็บค่าใช้จ่ายผ่านบัตรเติมเงิน โดยค่าใช้จ่ายจะถูก
เรียกเก็บตามปริมาณของรถ และจานวนเวลาที่จราจรติดขัด ณ ขณะนั้น
มาตรการในการควบคุมการพนัน
ถึงแม้ว่าสิงคโปร์จะมี Casino ขนาดใหญ่ที่ทันสมัย แต่รัฐก็มิได้เพิกเฉยต่อการออกมาตรการ
ป้องกันการติดการพนันในสังคม โดยรัฐบาลได้สร้างมาตราการความปลอดภัย(safety net) ให้กับ
ประชาชน ว่าคาสิโนของสิงคโปร์จะไม่เป็นภัยคุกคามต่อคนสิงคโปร์เอง ด้วยการจากัดอายุขั้นต่าของ
ผู้ใช้บริการ และในกรณีที่ญาติของผู้ใช้บริการ พบว่าผู้ใช้บริการเสพติดการพนันจนถึงขั้นที่ไม่สามารถ
ควมคุมตนเองได้ ญาติมีสิทธิในการร้องขอต่อรัฐเพื่อจากัดสิทธิต่อบุคคลดังกล่าว ทั้งนี้หากศึกษาจะพบว่า
หนึ่งในรายได้หลักของประเทศสิงคโปร์ ณ ขณะนี้ มาจากคาสิโน และส่วนมากมาจากชาวต่างชาติ ซึ่ง
คาสิโนของสิงคโปร์ถือว่าเป็นคาสิโนที่ทารายได้สูงที่สุดในโลกอีกด้วย
2. แนวทางการปกครองของสิงคโปร์
ตามที่สิงคโปร์ได้นาหลักการปฏิบัตินิยม (pragmatism) มาใช้กับแนวทางการปกครองรูปแบบ
ประชาธิปไตย จึงทาให้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยของสิงคโปร์มีลักษณะที่แตกต่างจากที่อื่น โดยในที่นี้
จะขอกล่าวถึงแนวทางปกครองของสิงคโปร์ในรูปแบบต่างๆ ที่น่าสนใจ ดังนี้
2.1 การสรรหาฝ่ายค้านในสภา
อย่างที่ทราบกันดีว่า พรรค People’s Action Party (PAP) ที่ก่อตั้งโดย อดีต
นายกรัฐมนตรี ลีกวน ยู เป็นพรรคเดียวที่กุมอานาจหลักในสภามาตั้งแต่สมัยสร้างชาติสิงคโปร์
จนถึงปัจจุบัน ดีงนั้น หลายฝ่ายจึงมักมองว่ารัฐสภาของสิงคโปร์เป็น ระบอบเผด็จการรัฐสภา
(Modified Parliamentary System) ด้วยเหตุนี้เอง รัฐบาลสิงคโปร์จึงนาแนวทางการสรรหาฝ่ายค้าน
เพื่อเข้ามาทาหน้าที่คานอานาจและโต้แย้งในสภา ด้วยวิธีการดังต่อไปนี้
 Non-Constituency Member of Parliament (NCMP) คือ การคัดเลือกฝ่ายที่แพ้การ
เลือกตั้งด้วยคะแนนสูงๆ ให้เข้ามามีที่นั่งในสภา
 Nominated Member of Parliament (NMP) คือ การแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ที่โดยพรรค People’s Action Party โดยมีเงื่อนไขจะต้องเป็นบุคคลที่ถูกยอมรับจาก
คนโดยส่วนมาก และไม่สังกัดพรรใด โดยที่ผ่านมามีทั้งอาจารย์มหาวิทยาลัย ตัวแทน
ภาคธุรกิจ และภาคประชาสังคมต่างๆ
2.2 การเลือกตั้ง
 Group Representation Constituencies (GRC) คือ การกาหนดรูปแบบการ
เลือกตั้ง ให้ยึดโยงกับแนวคิดระบบคุณธรรม ที่เป็นแนวคิดหลักในการสร้างชาติของ
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
5
สิงคโปร์ตามที่ได้กล่าวไปในข้างต้นโดยรูปแบบดังกล่าว กาหนดให้ผูลงสมัครรับเลือกตั้ง
ต้องจัดกลุ่มขึ้นมา โดยในหนึ่งกลุ่ม ต้องมีจานวนสมาชิกของกลุ่มคนเชื้อชาติส่วนน้อย
(minorities) อยู่ด้วย อย่างน้อยสองคนตามแต่พรรคจะสรรหาได้ เนื่องจากรัฐบาลสิงคโปร์
เห็นว่าจานวนชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีนในประเทศมีจานวนมากกว่าเชื้อชาติอื่นๆ จึงมีความ
เป็นไปได้สูงที่ชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีนจะได้อัตราส่วนที่นั่งในสภาที่สูงกว่าชาวสิงคโปร์เชื้อ
ชาติอื่น
 Elected Presidency คือ รูปแบบการเลือกประธานาธิบดีจากประชาชนโดยตรง แต่ทั้งนี้ มี
เงื่อนไขในการจากัดขอบเขตการใช้อานาจในส่วนของเงินทุนสารองภายในประเทศ โดย
ประธานาธิปดี กล่าวคือ ประธานาธิปดีห้ามใช้เงินทุนสารองของประเทศอย่างเด็ดขาด ทั้งนี้
เพื่อป้องกันพรรคที่เข้ามาเป็นรัฐบาล และดาเนินนโยบายประชานิยม เพื่อดึงดูดคะแนนเสียง
ด้วยเหตุนี้ จึงทาให้ประเทศสิงคโปร์เป็นรัฐที่มีเงินทุนสารองมากที่สุดในโลก
3. แนวโน้มในอนาคตของพรรค People’s Action Party (PAP)
ขณะนี้ หลายฝ่ายกาลังให้ความสนใจถึงคะแนนความนิยมต่อพรรค PAP ที่กาลังเปลี่ยนแปลงไป โดยผล
การเลือกตั้งในปี ค.ศ. 2011 แสดงให้เห็นว่าพรรค PAP ได้รับคะแนนนิยมลดลงกว่าเดิมมาก โดยได้รับแน
นเพียงร้อยละ 60 ต่อคะแนนรวมทั้งหมด ยิ่งไปกว่านั้น ยังถูกวิพากย์วิจารณ์ถึงประเด็นที่พรรค PAP มีที่นั่งใน
สภาเกินกว่าร้อยละ 90 ทั้งๆที่ได้รับแนนรวมเพียงร้อยละ 60 ต่อคะแนนมวลรวมทั้งหมด รวมถึงกรณีที่
นายกรัฐมนตรี ลี เซียน ลุง ได้รับตาแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อจากอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู ผู้เป็นพ่ออีกด้วย
ทั้งนี้ ถูกวิพากย์วิจารณ์ถึงความเหมาะสมต่อตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ของ นาย ลี เซียน ลุง ว่าเข้าข่าย
ระบอบอุปถัมภ์หรือไม่ ขณะเดียวกัน ฝ่ายที่สนับสนุนนายกรัฐมนตรี ลี เซียน ลุง ก็ได้อ้างถึง หลักการคุณธรรม
และความสามารถ(meritocracy) ว่านายกรัฐมนตรี ลี เซียน ลุง เป็นผู้ที่มีความสามารถและเหมาะสมต่อตาแหน่ง
นายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์แล้ว
นอกเหนือจากนี้ พรรค PAP ยังถูกวิพากย์วิจารณ์ถึง นโยบายการพัฒนาคนผ่านโรงเรียนชั้นนาที่มีชื่อเสียง
โดยมีจุดประสงค์เพื่อเฟ้นหานักเรียนระดับหัวกระทิ จานวน 200 คน และพัฒนาพวกเขาไปสู่การเป็น ข้าราชการ
หัวกะทิ (Elite Bureaucracy) ในอนาคต ทั้งนี้ หลายฝ่ายกลับมองว่าเป็นการสร้างความไม่เป็นธรรมในสังคม
และขัดแย้งกับหลักการคุณธรรมของสิงคโปร์
ยิ่งไปกว่านั้น ได้เกิดปรากฏการณ์การปะทะกันทางความคิดระหว่างคนรุ่นเก่าและคนรุ่นใหม่ในสิงคโปร์
โดยคนรุ่นเก่าส่วนมากจะเป็นฐานเสียงหลักให้แก่พรรค PAP เนื่องจาก เห็นการทางานของพรรค PAP ตั้งแต่ยุค
ก่อร่างสร้างประเทศ ตลอดจนพัฒนาเกาะสิงคโปร์เล็กๆแห่งนี้ให้กลายเป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าเฉก
เช่นปัจจุบัน
ในอีกทางหนึ่ง คนรุ่นใหม่ที่เติบโตมากับกระแสสังคมของโลกในปัจจุบัน มักจะไม่เห็นด้วยกับแนวทางการ
ทางานของพรรค PAP โดยพรรค PAP มักถูกคนรุ่นใหม่วิพากย์วิจารณ์ถึงแนวทางการทางานที่ดูไม่มีความเป็น
ประชาธิปไตยเท่าที่ควร เพราะฉะนั้น พรรค PAP จึงพยายามออกนโยบายใหม่ๆ เพื่อเรียกฐานคะแนนความ
นิยมให้กลับคืนมา อาทิ การออกนโยบาย Pioneer Package Policy ซึ่งก็คือ นโยบายให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุ
ที่มีอายุสูงกว่า 60 ปีขึ้นไป รวมถึงการนาแนวคิดรัฐชาติ เพื่อกระตุ้นความเป็นสิงคโปร์มาใช้ อย่างไรก็ตาม
6โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
6
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
7
นโยบาย Pioneer Package Policy กลับถูกวิพากย์วิจารณ์ว่าเป็นนโยบายประชานิยม และแนวคิดรัฐชาติ ก็ถูก
วิพากย์วิจารณ์ว่า อาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมในประเทศ ตามที่ได้กล่าวเอาไว้ในข้างต้นอีกด้วย
4. แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในระบบราชการของสิงคโปร์
อย่างที่กล่าวไปในข้างต้น หนึ่งในแนวทางยุทธศาสตร์ที่สิงคโปร์ใช้ในการพัฒนาประเทศ คือการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ โดยสิงคโปร์ได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพของข้าราชการ เพราะข้าราชการคือ หัว
แรงหลักสาคัญในการพัฒนาประเทศ ในหัวข้อนี้ ขอยกตัวอย่าง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่น่าสนใจ
ของสิงคโปร์ ดังนี้
4.1 ระบบ Administrative Officers – (AO)
Administrative Officers – (AO) หมายถึง การคัดสรรนักเรียนในกลุ่มผลสัมฤทธิ์ ศักยภาพสูงสุดจากแต่
ละโรงเรียนชั้นนามาศึกษาดูงานในหน่วยงานภาครัฐ เพื่อเป็นการสร้างความรู้สึกคุ้นเคยและผูกพันต่อ
องค์กรในระบบราชการ โดยคัดเลือกจากหลากหลาย องค์ประกอบ ทั้งผลการเรียน สานึกสาธารณะ ภาวะ
ความเป็นผู้นา ความสามารถพิเศษ รวมถึงการสอบข้อเขียนและการสัมภาษณ์
4.2 ระบบ Fast Track
หลังจากสาเร็จการศึกษา บัณฑิตในระบบ Administrative Officers – (AO)สามารถก้าวเข้าสู่ระบบ Fast
Track หรือที่เรียกว่า Elite Bureaucracy เป็นการฝึกฝนความชานาญและเปิดโอกาสให้บุคลากรสามารถ
ปรับเปลี่ยนสายงานระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ในตาแหน่งสูงๆ โดยไม่ต้องเริ่มต้นใหม่ โดยข้าราชการ
เหล่านี้ไม่เพียงแต่มีประสบการณ์การทางานแต่ ในภาครัฐเท่านั้น แต่ยังสามารถไปเป็นผู้นาองค์กร
ระดับสูง(Chief Executive Officer) ในองค์กรเอกชนเช่นกัน ทั้งนี้เพื่อเป็นการต่อยอดองค์ความรู้และ
ประสบการณ์ของบุคลากร ตลอดจนเป็น การพัฒนาศักยภาพของบุคลกรให้มีการพัฒนาตนเองอยู่
ตลอดเวลา ดังนั้น เราจะเห็นว่า การทางานในระบบราชการของสิงคโปร์นั้น จะเน้นหลักปฏิบัตินิยมที่เน้น
ผลสัมฤทธิ์และมีลักษณะที่ยืดหยุ่น มีประสิทธิภาพ ใกล้เคียงกับการทางานของภาคเอกชน
4.3 การประเมินประสิทธิภาพบุคลากร (Singapore’s Performance Appraisal)
การประเมินประสิทธิภาพบุคลากร (Singapore’s Performance Appraisal) ของ สิงคโปร์จะยึดโยงกับ
หลักการคุณธรรม(Meritocracy) โดยกาหนดตาแหน่งการทางานและค่าตอบแทนของบุคลากรตาม ห ลั ก
ความสามารถและกลไกการตลาด (Market-Based System) และใช้กราฟ bell curve เป็นเครื่องมือในการ
วัด ทั้งนี้มีการกาหนดให้แบ่งบุคลากรในองค์กรเป็นบุคลากรชั้นนา(Class A) ประมาณ 10 – 15% ที่เ ห ลื อ
อีก 60 – 70% เป็นบุคลากรระดับมาตรฐาน(Average) และที่เหลืออีกจานวนราว 10 – 15% คือ ก ลุ่ ม
บุคลากรที่ควรได้รับการ ฝึกอบรมเพิ่มเติมหรือควรถูกปลดออก
ด้วยเหตุนี้ จึงทาให้นโยบายค่าตอบแทน Clean Wage Policy ของสิงคโปร์มีความ ชัดเจนและเหมาะสมกับ
ประสิทธิภาพของบุคลากรแต่ละคน โดยนโยบายค่าตอบแทน สามารถแบ่งออกได้เป็น Basic pay หมายถึง
ค่าตอบแทนตามมาตรฐานที่ข้าราชการทุกคนจะต้องได้ Performance-Based Pay หมายถึงค่าตอบแทนเพิ่มเติม
สาหรับบุคลากรที่มีผลงานดีและมีความสามารถสูง ดังนั้น ใครทางานมีคุณภาพจะได้รับค่าตอบแทนในอัตราที่สูง
มากกว่าคนอื่น
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 8
5. แนวทางการปฏิรูปการศึกษาของสิงคโปร์
5.1 Teach Less Learn More
เดิมที่ระบบการศึกษาของสิงคโปร์เน้นไปที่ผลการเรียนเป็นหลัก ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนให้เข้า
กับบริบทโลกาภิวัฒน์ โดยใช้หลัก Teach Less Learn More กล่าวคือ ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบของโรงเรียน
ให้มีการบริหารจัดการเรียนการสอนที่เป็นอิสระ (Autonomous School) และเป็นเอกเทศจากกระทรวงมาก
ขึ้น
5.2 หลักสูตรการศึกษากับความเป็นสากล
การเรียนการสอนของสิงคโปร์ มีการใช้ภาษาที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาสู่ความเป็นสากล โดยภาษา
หลักที่ถูกนามาใช้ในการเรียนการสอนหลัก คือภาษาอังกฤษ นอกเหนือจากนี้ ทุกคนยังสามารถเลือกเรียน
ภาษาดั้งเดิมของตนเอง อาทิ จีนกลาง มาเลย์ แทโม่ (อินเดีย) อย่างไรก็ตาม ในขณะนี้มีปรากฏการณ์ที่
นักเรียนส่วนมาก เลือกเรียนภาษาที่ไม่ใช่ภาษาแม่ของตน แต่กลับเลือกเรียนภาษาที่อยู่ใน ก ร ะ แ ส
เศรษฐกิจโลก เช่น คนสิงคโปร์ที่มีเชื้อสายอินเดียน เลือก เรียนภาษาจีน เป็นต้น
นอกเหนือจากนี้ แนวทางการเรียนการสอนของสิงคโปร์ยังส่งเสริมความเป็นสากล ด้วย การ น า
แนวคิดการปรับตัว(resilience) และมองการณ์ไกล(foresight) มาปรับใช้โดยส่งเสริมให้นักเรียนมีความ
รอบรู้ มีวิสัยทัศน์ที่ก้าวหน้า เน้นที่การเรียนรู้ มากกว่าผลการเรียนเป็นหลัก เพื่อสามารถรับมือต่อ
สภาวะการณ์ของโลกที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได้
ด้วยแนวคิดการปรับตัว(resilience) และมองการณ์ไกล(foresight) ตลอดจนหลักการปฏิบัตินิยม
(pragmatism) จึงทาให้อดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู มีทัศนคติเกี่ยวกับการศึกษาต่อการพัฒนาประเทศว่า
ประเทศจะพัฒนาได้ ไม่จาเป็นว่าทุกคนต้องจบการศึกษาสูง แต่ควรส่งเสริมให้คนมีความถนัดและเ ชี่ ย ว
ชาญในสายงานของตนเองมากกว่า อีกทั้งยังต้อง คานึงถึงมิติทางเศรษฐกิจและบริบทโลกเป็นสาคัญอีก
ด้วย
5.3 เกณท์การรับนักเรียนเพื่อเข้าศึกษา
สิงคโปร์มีเกณฑ์การรับนักเรียนเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษา(A-Level) โดยใช้วิธี
สอบแข่งขัน เพื่อวัดขีดความสามารถของแต่ละบุคคล รวมถึงห้ามเลือกรับนักเรียนจากเชื้อ ช า ติ เ ป็ น
เด็ดขาด เพื่อตอบสนองต่อหลักคุณธรรมกับการจัดการด้านชาติพันธ์ อย่างไรก็ตาม หลากหลายฝ่ายได้
วิพากย์วิจารณ์ถึงการการพิจารณาเพื่อเข้าโรงเรียนผ่านความเป็นศิษย์เก่า พ่อ แม่ ยกตัวอย่าง หาก
ผู้ปกครองเป็นศิษย์เก่า บุตรหลานอาจจะได้รับการพิจารณาเพื่อเข้าศึกษาในลาดับต้นๆ ประเด็นนี้จึงมักถูก
ตั้งคาถามว่าขัดต่อหลักคุณธรรมของสิงคโปร์หรือไม่
5.4 แนวทางการประเมินการเรียนการสอนของสิงคโปร์
ในที่นี้ จะขกยกตัวอย่างการประเมินการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์
(National University of Singapore) ที่มีประสิทธิภาพและถูกยอมรับในระดับนานาชาติ โดย
มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ จะวัดศักยภาพทางวิชาการและประสิทธิภาพของผู้สอนผ่านการผลิต ง า น
ตีพิมพ์ทางวิชาการ ทางงานวิจัย รวมถึงการวัดประสิทธิผลการเรียนการสอนผ่านผู้เรียน โดยการประเมิน
การเรียนการสอนผ่านแบบสอบถามเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
9
5.5 แนวทางการศึกษาเพื่อการต่อยอด
 การให้ทุนการศึกษาเพื่อนการพัฒนา
จากที่กล่าวไปแล้วในข้างต้น สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีพื้นที่เป็นเกาะเล็กๆ และ
มีทรัพยากรอย่างจากัด จึงดังนั้นสิงคโปร์จึงให้ความสาคัญต่อการสร้างและพัฒนา
ทรัพยากรที่เรียกว่า “มนุษย์” โดยในมิติด้านการศึกษา สิงคโปร์ได้เสาะแสวงหา
ทรัพยากรมนุษย์จากทั่วโลก เข้ามาเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศ
ตลอดจนเป็นการต่อยอดองค์ความรู้ ผ่านการให้ทุนการศึกษาต่างๆ
 การปฏิรูปห้องสมุด
สิงคโปร์เห็นความสาคัญของการศึกษาเรียนรู้ จึงให้ความสาคัญกับการพัฒนา
ห้องสมุดแห่งชาติสิงคโปร์ ภายใต้ Statutory Board of Singapore ที่มีคุณภาพและ
ประสิทธิภาพ โดยยึดหลัก Learning nation หมายถึง การใช้ห้องสมุดเป็นส่วนสาคัญ
ในการขับเคลื่อนประเทศเพื่อการเรียนรู้ อีกทั้งยังเป็นเป็นห้องสมุดที่สามารถค้นคว้าหา
ข้อมูลได้ทั่วโลก (Cybrarians / Knowledge Navigators)
นอกเหนือจากนี้ ยังมีระบบการยืม-คืนหนังสือผ่านทางออนไลน์ที่ทันสมัย
(Branding & Re-Branding Strategies: National Library Board of Singapore) ที่
น่าสนใจคือ นอกจากการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของห้องสมุดที่ทันสมัยแล้ว
ยังนาระบบการบริหารของห้องสมุดที่คิดค้นมาต่อยอดเชิงพาณิชย์ ด้วยการจัดตั้ง
บริษัท ให้คาปรึกษา(consultant) ที่บริการให้คาปรึกษาการจัดตั้งระบบบริหารของ
ห้องสมุดสาหรับประเทศอื่นๆที่สนใจ ซึ่งสามารถทารายได้ให้กับสิงค์โปร์จานวน
มหาศาล
 Water Security ความมั่นคงทางน้า (Pragmatism)
อดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู ได้เล็งเห็นถึงปัญหาใหญ่ของประเทศสิงคโปร์ คือ
ความมั่นคงทางน้าจืดเนื่องจาก สภาพทางภูมิศาสตร์เป็นเกาะเล็กๆ ที่มีน้าทะเล
ล้อมรอบ จึงทาให้ทรัพยากรที่เรียกว่า “น้าจืด”มีอยู่อย่างจากัด รวมถึงในปัจจุบัน
สิงคโปร์ยังคงต้องพึ่งพาน้าจืดจากมาเลเซีย ซึ่งอาจจะส่งผลต่อความมั่นคงของรัฐใน
อนาคต ทั้งนี้อดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู จึงสร้างพื้นที่สาหรับกักตุนน้าจืดขนาดใหญ่
โดยหน่วยงานที่ทาหน้าที่รับผิดชอบ คือ การประปาของสิงคโปร์ หรือ Public
Utility Board (PUB) และสถาบันนโยบายน้าจืดภายใต้การกากับของมหาวิทยาลัย
แห่ง ชาติสิงค โป ร์ ( Institute of Water Policy of the National University of
Singapore) โดยมีหน้าที่ในการทาวิจัยทางด้านนโยบายและเทคโนโลยีเกี่ยวกับเรื่องน้า
โดยเฉพาะ อีกทั้งยังขายแนวการจัดการน้าและเทคโนโลยีจากการวิจัยให้กับประเทศ
หรือหน่วยงานที่สนใจอีกด้วย
6. สรุป
นอกเหนือจากที่กล่าวมาในข้างต้นแล้ว สิงคโปร์ยังมีแนวทางและแนวนโยบายในการจัดการภาครัฐอื่นๆ
ที่น่าสนใจอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาทุตจริตคอรัปชั่น ซึ่งเดิมที สิงคโปร์เป็นประเทศที่มี
อัตราการทุตจริตคอรัปชั่นที่สูงมากแห่งหนึ่ง ต่อมาสิงคโปร์ได้ใช้มาตรการทางด้านกฎหมายที่เด็ดขาดในการ
จัดการกับปัญหาดังกล่าวเป็นเวลานานกว่า 10 ปี ด้วยมาตราการดังกล่าว จึงทาให้เงินไม่รั่วไหลออกนอกระบบ
และต่อมารัฐบาลสิงคโปร์ได้นาเงินจานวนนี้ มาเพิ่มผลตอบแทนให้กับข้าราชการ โดยการให้อัตราเงินเดือนที่
สูงขึ้น เมือข้าราชการได้ผลตอบแทนที่พึงพอใจ กอปรกับเกรงกลัวต่อมาตรการทางกฎหมายที่เด็ดขาด จึงทาให้
ปัญหาการทุตจริตคอรัปชั่นในสิงคโปร์ค่อยๆลดน้อยลง
หรือการนาแนวทางในการปฏิรูประบบการศึกษาของสิงคโปร์ที่ใช้หลัก Teach Less Learn More มา
ปรับใช้ รวมถึงแนวทางการประเมินผลการเรียนการสอนของสิงคโปร์ที่มีคุณภาพ โดยวัดจากการผลิตงาน
ตีพิมพ์ทางวิชาการ งานวิจัย การทาแบบประเมินสอบถามจากผู้เรียน ซึ่งในขณะนี้ ไทยยังคงใช้ระบบ
ประเมินผลการเรียนการสอนผ่านการยึดหลักฐาน ซึ่งไม่ได้ตอบโจทย์เชิงปฏิบัติ (Process-Oriented) และไม่
สามารถวัดประสิทธิภาพการศึกษาได้อย่างแท้จริง
จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่า สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีแนวทางการบริหารราชการที่มีความ
น่าสนใจ และแนวทางการจัดการของสิงคโปร์นี้เอง ที่เป็นหนึ่งในปัจจัยที่สนับสนุนทาให้สิงคโปร์เป็นประเทศที่มี
ความเจริญก้าวหน้าและพัฒนาได้ในปัจจุบัน ผ่านแนวคิดและแนวนโยบายต่างๆ ที่มีลักษณะเฉพาะตัวและมี
ความยืดหยุ่นตามแต่ละยุคสมัย ทั้งนี้ไทยควรศึกษาแนวทางการจัดการและแนวนโยบายสาธารณะของสิงคโปร์
ที่มีประโยชน์ เพื่อนามาปรับใช้ต่อประเทศไทยต่อไป
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
10
11
ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผศ.ดร.อรอร ภู่เจริญ
ท่านสมปอง สงวนบรรพ์ รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์
รศ.ดร.สมศักดิ์ แต้มบุญเลิศชัย อ.ทนงศักดิ์ วิกุล
ดร.ดนุวัศ สาคริก พ.ต.ท.ดร.กฤษณพงค์ พูตระกูล
ร.ต.อ. จอมเดช ตรีเมฆ ร.ต.อ. ธรรมนูญ สมบูรณ์ไพศาล
อ.จิระโรจน์ มะหมัดกุล คุณ ธานี สุโชดายน
อ.ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ อ.บุญส่ง ชเลธร
อ.วันวิชิต บุญโปร่ง อ.อัครเดช สุภัคกุล
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
บันทึกเทปการประชุม: นาย พิพัฒพงศ์ ชูประสิทธิ์
ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ
ปีที่พิมพ์: มีนาคม 2558
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

More Related Content

What's hot

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาChowwalit Chookhampaeng
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรประพันธ์ เวารัมย์
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยการเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยPrachyanun Nilsook
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานPrachyanun Nilsook
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกรมณ รมณ
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 

What's hot (20)

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยการเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
ปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญ
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 

Viewers also liked

ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยKlangpanya
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 
สังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืน
สังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืนสังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืน
สังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืนTaraya Srivilas
 
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทยสถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทยKlangpanya
 
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคม
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคมAec กับธุรกิจโทรคมนาคม
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคมKhommie Treeruk
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย : เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย : เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย : เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย : เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต Klangpanya
 
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศKlangpanya
 
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยแนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยKlangpanya
 
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...Klangpanya
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาวิทวัส รัตนวิรุฬห์
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560Klangpanya
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...Klangpanya
 
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceFarlamai Mana
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )Sireetorn Buanak
 
thai education reform(book)
thai education reform(book)thai education reform(book)
thai education reform(book)Sireetorn Buanak
 

Viewers also liked (18)

ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทยยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
สังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืน
สังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืนสังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืน
สังคมพหุวัฒนธรรมนำชาติมั่นคงยั่งยืน
 
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทยสถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
 
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคม
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคมAec กับธุรกิจโทรคมนาคม
Aec กับธุรกิจโทรคมนาคม
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย : เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย : เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย : เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทย : เรียนรู้อดีตเพื่อปรับตัวสู่อนาคต
 
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
 
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
 
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยแนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
 
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (Global Trend) ที่อาจส่งผลกระทบต่...
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
 
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
 
thai education reform(book)
thai education reform(book)thai education reform(book)
thai education reform(book)
 

Similar to ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย

ยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาลยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาลAek Narong
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศKlangpanya
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีWatcharasak Chantong
 
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงTanterm Thebest
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreenNSTDA THAILAND
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1BTNHO
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...dnavaroj
 
Pongsiri.pdf 2
Pongsiri.pdf 2Pongsiri.pdf 2
Pongsiri.pdf 2BTNHO
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)Tophit Sampootong
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..Wiwat Ch
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 

Similar to ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย (20)

ยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาลยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์การบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาเอกชนของไทย ตามหลักธรรมาภิบาล
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
 
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
 
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
Pongsiri.pdf 2
Pongsiri.pdf 2Pongsiri.pdf 2
Pongsiri.pdf 2
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัฒน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย

  • 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ : บทเรียนต่อประเทศไทย 2โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 1. แนวคิดและนโยบายหลักที่ใช้ในการสร้างชาติและบริหารราชการของสิงคโปร์ 1.1 แนวทางในการสร้างและพัฒนาทรัพยากร “มนุษย์” ผ่านแนวคิดการปรับตัว (resilience) และการมองการณ์ไกล(foresight) ปี ค.ศ.1965 ภายหลังจากที่สิงคโปร์แยกตัวออกจากมาเลเซีย ลี กวน ยู นายกรัฐมนตรี คนแรกของสิงคโปร์ ได้ตระหนักถึงความยากในการพัฒนาประเทศ เนื่องจาก สิงคโปร์เป็น ประเทศที่ มีพื้นที่เป็นเพียงเกาะเล็กๆ และมีทรัพยากรอย่างจากัด ดังนั้น แนวทางในการสร้าง ประเทศ จึงต้องพุ่ง เป้าไปที่การพัฒนาทรัพยากรที่มีอยู่ไม่กี่สิ่ง นั่นก็คือ “ทรัพยากรมนุษย์” โดยนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู ได้สร้างและพัฒนา “คน” ผ่านแนวคิดการปรับตัว(resilience) และมองการณ์ไกล(foresight) โดยในทัศนคติของ อดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู เห็นว่า ควรสร้างคนให้รู้จักการ ปรับตัวเข้า กับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมโลกในปัจจุบัน รวมถึงต้องสร้างคนให้มีวิสัยทัศน์ที่ก้าวไกล เพื่อฝึกฝนทักษะในการคาดเดาต่อโอกาสและภัยคุกคามต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งแนวคิดนี้ อดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู เห็นว่าจะเป็นหนึ่งในแนวทางการรักษาอธิปไตยของ รัฐให้อยู่ต่อไปอย่าง ยั่งยืนและมีเสถียรภาพในประชาคมโลก 1.2 แนวคิด Meritocracy (ระบบคุณธรรมและความสามารถ) กับการสร้างชาติของสิงคโปร์ แนวคิด Meritocracy (ระบบคุณธรรมและความสามารถ) เป็นหนึ่งในแนวคิดหลักที่ สาคัญใน การสร้างชาติของสิงคโปร์ แนวคิดดังกล่าวได้ยึดโยงกับหลักคุณธรรมและ ความสามารถของแต่ละ บุคคล ไม่ว่าบุคคลนั้นจะมีเชื้อชาติ ศาสนา และพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคมเช่นไร ก็จะต้องได้รับ การสนับสนุนและเปิดโอกาสให้สามารถแสดงศักยภาพภายในอย่างเต็มที่ โดยแนวคิดนี้ ได้ถูก นามาปรับใช้เป็นแกนหลักในการบริหารและจัดการด้านต่างๆ อาทิ การจัดการด้านชาติพันธ์ (Race & Ethnic Group) การจัดการด้านการศึกษา(Education) เป็นต้น ในส่วนนี้จะขอยกตัวอย่าง การนาแนวคิด Meritocracy (ระบบคุณธรรมและความสามารถ) มา ปรับใช้เป็นแนวทางหลักในการจัดการด้านชาติพันธ์ (Race & Ethnic Group) กล่าวคือ ทุกเชื้อชาติใน ประเทศสิงคโปร์จะถูกได้รับการปฏิบัติต่อกันอย่างเท่าเทียม โดย ไม่มีสิทธิพิเศษต่อเชื้อชาติใดเชื้อ ชาติหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อป้องกันความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ ซึ่งแนวคิดดังกล่าวเป็นแนวคิดคู่ตรงข้ามกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอร ภู่เจริญ ผู้ช่วยอธิการบดี Lee Kuan Yew School of Public Policy
  • 3. 3 แนวคิดภูมิบุตราของมาเลเซีย ที่ให้สิทธิพิเศษต่อเชื้อชาติมาเลย์เหนือเชื้อชาติอื่นๆภายในประเทศ ทั้งนี้ได้มี การนาแนวคิดดังกล่าวมาปรับใช้ในการ จัดการด้านชาติพันธุ์ ภายหลังที่สิงคโปร์แยกตัวออกมาจากมาเลเซีย 1.3 แนวคิดรัฐ-ชาติกับการสร้างประเทศสิงคโปร์ ประเด็นที่ถูกถกเถียงว่าสิงคโปร์เป็นรัฐ-ชาติ (nation-state) หรือเมืองท่า (port-city) นั้นมี มา อย่างต่อเนื่อง การมองว่าสิงคโปร์ไม่ใช่รัฐ-ชาติ มักถูกอ้างว่าสิงคโปร์เป็นรัฐที่ไม่ได้เกิดจาก ค น ที่ มี ภาษา ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม หรือ อัตลักษณ์เดียวกัน ขณะเดียวกันสิงคโปร์ก็มีลักษณะ ของความเป็นเมืองท่า เมืองทางผ่านและเป็นจุดแวะพักของเรือการค้ามากกว่า รวมถึงการที่สิงคโปร์ถูก ทาให้เป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจและการลงทุนในภูมิภาค จึงทาให้ใน ปัจจุบัน มีบรรษัทข้ามชาติ (Multinational Companies) เข้าไปลงทุนในสิงคโปร์ จานวนทั้งสิ้น 7,000 กว่าบรรษัท อีกทั้งยังมี ชาวต่างชาติเข้าไปพานักในสิงคโปร์จานวนมากว่าร้อยละ 40 ของ ประชากรทั้งหมด ดังนั้น สังคม สิงคโปร์จึงเป็นสังคมแห่งการเปลี่ยนผ่าน (society in transition) และประเทศสิงคโปร์ จึงมีลักษณะ ของความเป็นนครสากล (cosmopolitan city) มากที่สุดแห่งหนึ่ง ด้วยเหตุนี้ อดีตนายกรัฐมนตรี โก๊ะ จ๊ก ตง จึงเห็นว่า การนาแนวคิดรัฐ-ชาติ มาใช้ใน การสร้างประเทศสิงคโปร์นั้นอาจไม่เหมาะสม เนื่องจากสิงคโปร์เป็นสังคมที่มีความเป็นพหุ วัฒนธรรม สูง อีกทั้งยังต้องพึ่งพิงทางด้านเศรษฐกิจกับต่างชาติเป็นอย่างมาก ดังนั้น การนา แนวคิดรัฐ-ชาติ มา ปรับใช้ จึงอาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และสังคมไม่มากก็น้อย อาทิ ภาวะการถูกผสมกลืนกิน (assimilate) ทางวัฒนธรรม ที่อาจเป็นสาเหตุทาให้คนใน สังคมรู้สึกแปลกแยก (alienate) ต่อผืน แผ่นดินสิงคโปร์ก็เป็นได้ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลสิงคโปร์ได้มีแนวคิดในการนาแนวแนวคิดรัฐ-ชาติมาปรับใช้อยู่บ้าง เนื่องจาก ในปัจจุบัน ประชาชนชาวสิงคโปร์จานวนหนึ่ง เริ่มเห็นด้วยต่อแนวคิดรัฐ-ชาติ และเริ่มตั้ง คาถามต่อการเป็นคนสิงคโปร์ว่าได้รับประโยชน์อันใด เพราะในเมื่อปัจจุบัน มีชาวต่างชาติ จ า น ว น มากกว่าร้อยละ 40 ของประชากรทั้งหมดอาศัยอยู่ในสิงคโปร์ ซึ่งชาวต่างชาติทั้งหมดนี้ ล้วนแล้วแต่ได้ สิทธิขั้นพื้นฐานเทียบเท่ากับพลเมืองชาวสิงคโปร์ นอกเหนือจากนี้ ยังรวมถึงปัญหาจากการ บ ริ โ ภ ค สาธารณูปโภคและขนส่งมวลชนต่างๆ อย่างแออัด อาทิ การจราจรบนท้องถนนติดขัด รถไฟฟ้าแออัด ตลอดจนราคาที่พักอาศัยที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น การนาแนวคิดรัฐ-ชาติมาปรับใช้ในสิงคโปร์ ก็อาจมีความเป็นไปได้ที่จะ ส่งผลกระทบต่อความสะดวกด้านการลงทุนของชาวต่างชาติในสิงคโปร์ รวมถึงการดารงชีพใน สิงคโปร์ของแรงงานข้ามชาติ ตลอดจนอาจเกิดปัญหาด้านความเหลื่อมล้าและการเลือกปฏิบัติต่อ ชาวต่างชาติและชาวสิงคโปร์อีกด้วย 1.4 แนวทางการจัดการนโยบายสาธารณะและการบริหารราชการโดยยึดหลักการปฏิบัตินิยม (pragmatism) แนวทางการจัดการนโยบายสาธารณะและการบริหารราชการในแต่ละหน่วยงาน (Statutory Boards) ของสิงคโปร์ ค่อนข้างมีอิสระในการบริหารจัดการ(Autonomous agencies) ม า ก แ ล ะ ยึด หลักการปฏิบัตินิยม (pragmatism) หมายถึง มีการเลือกใช้นโยบายหรือแนวทางอะไรก็ตาม ที่เมื่อ โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 4. 4 นาไปปฏิบัติแล้วสัมฤทธิ์ผล โดยมุ่งเน้นไปที่ผลสาเร็จมากกว่าวิธีการ ยกตัวอย่าง เส้นแบ่งแนวทางการดาเนินงาน ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนที่ค่อนข้าง คลุมเครือ กล่าวคือ เรื่องใดที่ภาครัฐสามารถดาเนินการจัดการได้ดีกว่า ภาคเอกชน ก็ควรปล่อย ให้เป็นไปตามกลไกของรัฐ ในขณะที่ เรื่องใดที่ภาคเอกชนสามารถดาเนินการจัดการได้ดี มีประสิทธิภาพกว่าภาครัฐ ก็ควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไกตลาดของภาคเอกชน นอกเหนือจากนี้ ห ลั ก ก า ร ปฏิบัตินิยม (pragmatism) ยังถูกนามาใช้เป็นแนวทางหลักในการปกครองประเทศอีกด้วย โดยสิงคโปร์ได้ใช้ รูปแบบการปกครองประเทศในรูปแบบประชาธิปไตย แต่ทั้งนี้รูปแบบของประชาธิปไตยที่ถูกนามาใช้กับสิงคโปร์ นั้น ไม่จาเป็นต้องไปยึดโยงกับแนวคิด ประชาธิปไตยของตะวันตกไปเสียทั้งหมด แต่สามารถปรับและคัดเลือก แนวทางที่เหมาะสมต่อแนวทางของตนเองได้ ในที่นี้จะขอยกตัวอย่าง แนวทางการจัดการนโยบายสาธารณะและการบริหารราชการ ที่ยึดหลักการ ปฏิบัตินิยม (pragmatism) ดังนี้ นโยบายที่พักอาศัย(Housing Policy) นโยบายที่พักอาศัย(Housing Policy) เป็นหนึ่งในนโยบายสาคัญที่ทาให้ประชาชนชาวสิงคโปร์ ประมาณร้อยละ 80 ของประเทศ มีที่พักอาศัยเป็นของตนเอง ซึ่งที่พักอาศัยดังกล่าวถูกสร้างโดย บริษัท Housing Development Board ที่มีรัฐบาลสิงคโปร์เป็นเจ้าของ ราคาของบ้านเป็นไปตามกลไกตลาด ตาม สภาพความเป็นอยู่ (Living Condition and Living Standard) และตามค่าครองชีพ(Cost of Living) ณ ขณะนั้น โดยอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู ได้เน้นย้าว่าการส่งเสริมให้ประชาชนมีที่พักอาศัยเป็นของ ตนเอง จะทาให้ประชาชนผู้พักอาศัยมีความสนใจในราคาที่ดิน ราคาทรัพย์สิน ตลอดจนติดตามความ เคลื่อนไหวของเศรษฐกิจโดยรวมมากขึ้น ซึ่งถือว่าเป็นการรวมเอาแนวทางการทางานของภาครัฐและ ระบบกลไลของภาคเอกชนมาทางานร่วมกันได้อย่างลงตัว นโยบายสร้างเมืองในสวนสาธารณะ (Singapore: The City in a Garden) อย่างที่ทราบกันดี ว่าสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ประเทศสิงคโปร์มีการพัฒนาที่เจริญก้าวหน้าได้อย่างใน ปัจจุบัน เพราะเป็นศูนย์กลางทางด้านการเงินและการลงทุนของภูมิภาค ดังนั้น นโยบายบางส่วนของรัฐ จะต้องเอื้อประโยชน์และดึงดูดนักลงทุนจากต่างชาติ โดยอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู ได้มีนโยบายสร้าง เมืองในสวน (The City in a Garden) ที่น่าสนใจคือ อดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู ได้เลือกที่จะใช้ชื่อ นโยบายว่า เมืองในสวน (The City in a Garden) แทนที่จะใช้คาว่าสร้างสวนในเมือง(The Garden in a City) ที่เป็นเหตุนี้ เพราะต้องการเน้นย้าให้เห็นถึงความสาคัญของการสร้างสวนสาธารณะ เพื่อให้เป็น พื้นที่สาหรับการใช้ชีวิตและการพักผ่อน (live and play) อย่างแท้จริง โดยการสร้างพื้นที่สีเขียวดังกล่าว ไม่ได้ถูกจากัดให้อยู่แค่เพียงพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในเมืองเท่านั้น แต่มีการขยายตัวออกไปเรื่อยๆ ซึ่งอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู เห็นว่า หากปราศจากพื้นที่สีเขียวแล้ว เมืองจะไม่มีความน่าอยู่ คนก็จะไม่อยากอยู่ นักลงทุนจากต่างชาติก็อาจจะไม่อยากเข้ามาลงทุน ดังนั้นจะ เห็นได้ว่านโยบายดังกล่าวก็เป็นหนึ่งในนโยบายของรัฐเพื่อดึงดูดทุนจากต่างชาติให้เข้ามาลงทุนใน โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4
  • 5. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นโยบายด้านการจราจร การออกใบอนุญาตขับรถยนต์ (Car Ownership) ในสิงคโปร์ อาศัยหลักการของกลไก ตลาด ซึ่งรัฐทาหน้าที่ในการควบคุมจานวนการออกใบอนุญาตขับรถ ตลอดจนคาดการณ์ปริมาณรถยนต์ ไปจนถึงใน 20 ปีข้างหน้า เพื่อการวางแผนควบคุมปริมาณรถยนต์ในอนาคตอีกด้วย ในส่วนของการ ควบคุมสัญญาณไฟจราจร(traffic Control ) ที่เรียกว่า ERP นั้นก็อาศัยหลักกลไลตลาด เช่นกัน ในกรณีที่มีการจราจรติดขัด ผู้ขับรถจะถูกเรียกเก็บค่าใช้จ่ายผ่านบัตรเติมเงิน โดยค่าใช้จ่ายจะถูก เรียกเก็บตามปริมาณของรถ และจานวนเวลาที่จราจรติดขัด ณ ขณะนั้น มาตรการในการควบคุมการพนัน ถึงแม้ว่าสิงคโปร์จะมี Casino ขนาดใหญ่ที่ทันสมัย แต่รัฐก็มิได้เพิกเฉยต่อการออกมาตรการ ป้องกันการติดการพนันในสังคม โดยรัฐบาลได้สร้างมาตราการความปลอดภัย(safety net) ให้กับ ประชาชน ว่าคาสิโนของสิงคโปร์จะไม่เป็นภัยคุกคามต่อคนสิงคโปร์เอง ด้วยการจากัดอายุขั้นต่าของ ผู้ใช้บริการ และในกรณีที่ญาติของผู้ใช้บริการ พบว่าผู้ใช้บริการเสพติดการพนันจนถึงขั้นที่ไม่สามารถ ควมคุมตนเองได้ ญาติมีสิทธิในการร้องขอต่อรัฐเพื่อจากัดสิทธิต่อบุคคลดังกล่าว ทั้งนี้หากศึกษาจะพบว่า หนึ่งในรายได้หลักของประเทศสิงคโปร์ ณ ขณะนี้ มาจากคาสิโน และส่วนมากมาจากชาวต่างชาติ ซึ่ง คาสิโนของสิงคโปร์ถือว่าเป็นคาสิโนที่ทารายได้สูงที่สุดในโลกอีกด้วย 2. แนวทางการปกครองของสิงคโปร์ ตามที่สิงคโปร์ได้นาหลักการปฏิบัตินิยม (pragmatism) มาใช้กับแนวทางการปกครองรูปแบบ ประชาธิปไตย จึงทาให้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยของสิงคโปร์มีลักษณะที่แตกต่างจากที่อื่น โดยในที่นี้ จะขอกล่าวถึงแนวทางปกครองของสิงคโปร์ในรูปแบบต่างๆ ที่น่าสนใจ ดังนี้ 2.1 การสรรหาฝ่ายค้านในสภา อย่างที่ทราบกันดีว่า พรรค People’s Action Party (PAP) ที่ก่อตั้งโดย อดีต นายกรัฐมนตรี ลีกวน ยู เป็นพรรคเดียวที่กุมอานาจหลักในสภามาตั้งแต่สมัยสร้างชาติสิงคโปร์ จนถึงปัจจุบัน ดีงนั้น หลายฝ่ายจึงมักมองว่ารัฐสภาของสิงคโปร์เป็น ระบอบเผด็จการรัฐสภา (Modified Parliamentary System) ด้วยเหตุนี้เอง รัฐบาลสิงคโปร์จึงนาแนวทางการสรรหาฝ่ายค้าน เพื่อเข้ามาทาหน้าที่คานอานาจและโต้แย้งในสภา ด้วยวิธีการดังต่อไปนี้  Non-Constituency Member of Parliament (NCMP) คือ การคัดเลือกฝ่ายที่แพ้การ เลือกตั้งด้วยคะแนนสูงๆ ให้เข้ามามีที่นั่งในสภา  Nominated Member of Parliament (NMP) คือ การแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่โดยพรรค People’s Action Party โดยมีเงื่อนไขจะต้องเป็นบุคคลที่ถูกยอมรับจาก คนโดยส่วนมาก และไม่สังกัดพรรใด โดยที่ผ่านมามีทั้งอาจารย์มหาวิทยาลัย ตัวแทน ภาคธุรกิจ และภาคประชาสังคมต่างๆ 2.2 การเลือกตั้ง  Group Representation Constituencies (GRC) คือ การกาหนดรูปแบบการ เลือกตั้ง ให้ยึดโยงกับแนวคิดระบบคุณธรรม ที่เป็นแนวคิดหลักในการสร้างชาติของ โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5
  • 6. สิงคโปร์ตามที่ได้กล่าวไปในข้างต้นโดยรูปแบบดังกล่าว กาหนดให้ผูลงสมัครรับเลือกตั้ง ต้องจัดกลุ่มขึ้นมา โดยในหนึ่งกลุ่ม ต้องมีจานวนสมาชิกของกลุ่มคนเชื้อชาติส่วนน้อย (minorities) อยู่ด้วย อย่างน้อยสองคนตามแต่พรรคจะสรรหาได้ เนื่องจากรัฐบาลสิงคโปร์ เห็นว่าจานวนชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีนในประเทศมีจานวนมากกว่าเชื้อชาติอื่นๆ จึงมีความ เป็นไปได้สูงที่ชาวสิงคโปร์เชื้อสายจีนจะได้อัตราส่วนที่นั่งในสภาที่สูงกว่าชาวสิงคโปร์เชื้อ ชาติอื่น  Elected Presidency คือ รูปแบบการเลือกประธานาธิบดีจากประชาชนโดยตรง แต่ทั้งนี้ มี เงื่อนไขในการจากัดขอบเขตการใช้อานาจในส่วนของเงินทุนสารองภายในประเทศ โดย ประธานาธิปดี กล่าวคือ ประธานาธิปดีห้ามใช้เงินทุนสารองของประเทศอย่างเด็ดขาด ทั้งนี้ เพื่อป้องกันพรรคที่เข้ามาเป็นรัฐบาล และดาเนินนโยบายประชานิยม เพื่อดึงดูดคะแนนเสียง ด้วยเหตุนี้ จึงทาให้ประเทศสิงคโปร์เป็นรัฐที่มีเงินทุนสารองมากที่สุดในโลก 3. แนวโน้มในอนาคตของพรรค People’s Action Party (PAP) ขณะนี้ หลายฝ่ายกาลังให้ความสนใจถึงคะแนนความนิยมต่อพรรค PAP ที่กาลังเปลี่ยนแปลงไป โดยผล การเลือกตั้งในปี ค.ศ. 2011 แสดงให้เห็นว่าพรรค PAP ได้รับคะแนนนิยมลดลงกว่าเดิมมาก โดยได้รับแน นเพียงร้อยละ 60 ต่อคะแนนรวมทั้งหมด ยิ่งไปกว่านั้น ยังถูกวิพากย์วิจารณ์ถึงประเด็นที่พรรค PAP มีที่นั่งใน สภาเกินกว่าร้อยละ 90 ทั้งๆที่ได้รับแนนรวมเพียงร้อยละ 60 ต่อคะแนนมวลรวมทั้งหมด รวมถึงกรณีที่ นายกรัฐมนตรี ลี เซียน ลุง ได้รับตาแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อจากอดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู ผู้เป็นพ่ออีกด้วย ทั้งนี้ ถูกวิพากย์วิจารณ์ถึงความเหมาะสมต่อตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ของ นาย ลี เซียน ลุง ว่าเข้าข่าย ระบอบอุปถัมภ์หรือไม่ ขณะเดียวกัน ฝ่ายที่สนับสนุนนายกรัฐมนตรี ลี เซียน ลุง ก็ได้อ้างถึง หลักการคุณธรรม และความสามารถ(meritocracy) ว่านายกรัฐมนตรี ลี เซียน ลุง เป็นผู้ที่มีความสามารถและเหมาะสมต่อตาแหน่ง นายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์แล้ว นอกเหนือจากนี้ พรรค PAP ยังถูกวิพากย์วิจารณ์ถึง นโยบายการพัฒนาคนผ่านโรงเรียนชั้นนาที่มีชื่อเสียง โดยมีจุดประสงค์เพื่อเฟ้นหานักเรียนระดับหัวกระทิ จานวน 200 คน และพัฒนาพวกเขาไปสู่การเป็น ข้าราชการ หัวกะทิ (Elite Bureaucracy) ในอนาคต ทั้งนี้ หลายฝ่ายกลับมองว่าเป็นการสร้างความไม่เป็นธรรมในสังคม และขัดแย้งกับหลักการคุณธรรมของสิงคโปร์ ยิ่งไปกว่านั้น ได้เกิดปรากฏการณ์การปะทะกันทางความคิดระหว่างคนรุ่นเก่าและคนรุ่นใหม่ในสิงคโปร์ โดยคนรุ่นเก่าส่วนมากจะเป็นฐานเสียงหลักให้แก่พรรค PAP เนื่องจาก เห็นการทางานของพรรค PAP ตั้งแต่ยุค ก่อร่างสร้างประเทศ ตลอดจนพัฒนาเกาะสิงคโปร์เล็กๆแห่งนี้ให้กลายเป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าเฉก เช่นปัจจุบัน ในอีกทางหนึ่ง คนรุ่นใหม่ที่เติบโตมากับกระแสสังคมของโลกในปัจจุบัน มักจะไม่เห็นด้วยกับแนวทางการ ทางานของพรรค PAP โดยพรรค PAP มักถูกคนรุ่นใหม่วิพากย์วิจารณ์ถึงแนวทางการทางานที่ดูไม่มีความเป็น ประชาธิปไตยเท่าที่ควร เพราะฉะนั้น พรรค PAP จึงพยายามออกนโยบายใหม่ๆ เพื่อเรียกฐานคะแนนความ นิยมให้กลับคืนมา อาทิ การออกนโยบาย Pioneer Package Policy ซึ่งก็คือ นโยบายให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุ ที่มีอายุสูงกว่า 60 ปีขึ้นไป รวมถึงการนาแนวคิดรัฐชาติ เพื่อกระตุ้นความเป็นสิงคโปร์มาใช้ อย่างไรก็ตาม 6โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6
  • 7. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 7 นโยบาย Pioneer Package Policy กลับถูกวิพากย์วิจารณ์ว่าเป็นนโยบายประชานิยม และแนวคิดรัฐชาติ ก็ถูก วิพากย์วิจารณ์ว่า อาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมในประเทศ ตามที่ได้กล่าวเอาไว้ในข้างต้นอีกด้วย 4. แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในระบบราชการของสิงคโปร์ อย่างที่กล่าวไปในข้างต้น หนึ่งในแนวทางยุทธศาสตร์ที่สิงคโปร์ใช้ในการพัฒนาประเทศ คือการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ โดยสิงคโปร์ได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพของข้าราชการ เพราะข้าราชการคือ หัว แรงหลักสาคัญในการพัฒนาประเทศ ในหัวข้อนี้ ขอยกตัวอย่าง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่น่าสนใจ ของสิงคโปร์ ดังนี้ 4.1 ระบบ Administrative Officers – (AO) Administrative Officers – (AO) หมายถึง การคัดสรรนักเรียนในกลุ่มผลสัมฤทธิ์ ศักยภาพสูงสุดจากแต่ ละโรงเรียนชั้นนามาศึกษาดูงานในหน่วยงานภาครัฐ เพื่อเป็นการสร้างความรู้สึกคุ้นเคยและผูกพันต่อ องค์กรในระบบราชการ โดยคัดเลือกจากหลากหลาย องค์ประกอบ ทั้งผลการเรียน สานึกสาธารณะ ภาวะ ความเป็นผู้นา ความสามารถพิเศษ รวมถึงการสอบข้อเขียนและการสัมภาษณ์ 4.2 ระบบ Fast Track หลังจากสาเร็จการศึกษา บัณฑิตในระบบ Administrative Officers – (AO)สามารถก้าวเข้าสู่ระบบ Fast Track หรือที่เรียกว่า Elite Bureaucracy เป็นการฝึกฝนความชานาญและเปิดโอกาสให้บุคลากรสามารถ ปรับเปลี่ยนสายงานระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ในตาแหน่งสูงๆ โดยไม่ต้องเริ่มต้นใหม่ โดยข้าราชการ เหล่านี้ไม่เพียงแต่มีประสบการณ์การทางานแต่ ในภาครัฐเท่านั้น แต่ยังสามารถไปเป็นผู้นาองค์กร ระดับสูง(Chief Executive Officer) ในองค์กรเอกชนเช่นกัน ทั้งนี้เพื่อเป็นการต่อยอดองค์ความรู้และ ประสบการณ์ของบุคลากร ตลอดจนเป็น การพัฒนาศักยภาพของบุคลกรให้มีการพัฒนาตนเองอยู่ ตลอดเวลา ดังนั้น เราจะเห็นว่า การทางานในระบบราชการของสิงคโปร์นั้น จะเน้นหลักปฏิบัตินิยมที่เน้น ผลสัมฤทธิ์และมีลักษณะที่ยืดหยุ่น มีประสิทธิภาพ ใกล้เคียงกับการทางานของภาคเอกชน 4.3 การประเมินประสิทธิภาพบุคลากร (Singapore’s Performance Appraisal) การประเมินประสิทธิภาพบุคลากร (Singapore’s Performance Appraisal) ของ สิงคโปร์จะยึดโยงกับ หลักการคุณธรรม(Meritocracy) โดยกาหนดตาแหน่งการทางานและค่าตอบแทนของบุคลากรตาม ห ลั ก ความสามารถและกลไกการตลาด (Market-Based System) และใช้กราฟ bell curve เป็นเครื่องมือในการ วัด ทั้งนี้มีการกาหนดให้แบ่งบุคลากรในองค์กรเป็นบุคลากรชั้นนา(Class A) ประมาณ 10 – 15% ที่เ ห ลื อ อีก 60 – 70% เป็นบุคลากรระดับมาตรฐาน(Average) และที่เหลืออีกจานวนราว 10 – 15% คือ ก ลุ่ ม บุคลากรที่ควรได้รับการ ฝึกอบรมเพิ่มเติมหรือควรถูกปลดออก ด้วยเหตุนี้ จึงทาให้นโยบายค่าตอบแทน Clean Wage Policy ของสิงคโปร์มีความ ชัดเจนและเหมาะสมกับ ประสิทธิภาพของบุคลากรแต่ละคน โดยนโยบายค่าตอบแทน สามารถแบ่งออกได้เป็น Basic pay หมายถึง ค่าตอบแทนตามมาตรฐานที่ข้าราชการทุกคนจะต้องได้ Performance-Based Pay หมายถึงค่าตอบแทนเพิ่มเติม สาหรับบุคลากรที่มีผลงานดีและมีความสามารถสูง ดังนั้น ใครทางานมีคุณภาพจะได้รับค่าตอบแทนในอัตราที่สูง มากกว่าคนอื่น
  • 8. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 8 5. แนวทางการปฏิรูปการศึกษาของสิงคโปร์ 5.1 Teach Less Learn More เดิมที่ระบบการศึกษาของสิงคโปร์เน้นไปที่ผลการเรียนเป็นหลัก ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนให้เข้า กับบริบทโลกาภิวัฒน์ โดยใช้หลัก Teach Less Learn More กล่าวคือ ได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบของโรงเรียน ให้มีการบริหารจัดการเรียนการสอนที่เป็นอิสระ (Autonomous School) และเป็นเอกเทศจากกระทรวงมาก ขึ้น 5.2 หลักสูตรการศึกษากับความเป็นสากล การเรียนการสอนของสิงคโปร์ มีการใช้ภาษาที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาสู่ความเป็นสากล โดยภาษา หลักที่ถูกนามาใช้ในการเรียนการสอนหลัก คือภาษาอังกฤษ นอกเหนือจากนี้ ทุกคนยังสามารถเลือกเรียน ภาษาดั้งเดิมของตนเอง อาทิ จีนกลาง มาเลย์ แทโม่ (อินเดีย) อย่างไรก็ตาม ในขณะนี้มีปรากฏการณ์ที่ นักเรียนส่วนมาก เลือกเรียนภาษาที่ไม่ใช่ภาษาแม่ของตน แต่กลับเลือกเรียนภาษาที่อยู่ใน ก ร ะ แ ส เศรษฐกิจโลก เช่น คนสิงคโปร์ที่มีเชื้อสายอินเดียน เลือก เรียนภาษาจีน เป็นต้น นอกเหนือจากนี้ แนวทางการเรียนการสอนของสิงคโปร์ยังส่งเสริมความเป็นสากล ด้วย การ น า แนวคิดการปรับตัว(resilience) และมองการณ์ไกล(foresight) มาปรับใช้โดยส่งเสริมให้นักเรียนมีความ รอบรู้ มีวิสัยทัศน์ที่ก้าวหน้า เน้นที่การเรียนรู้ มากกว่าผลการเรียนเป็นหลัก เพื่อสามารถรับมือต่อ สภาวะการณ์ของโลกที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได้ ด้วยแนวคิดการปรับตัว(resilience) และมองการณ์ไกล(foresight) ตลอดจนหลักการปฏิบัตินิยม (pragmatism) จึงทาให้อดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู มีทัศนคติเกี่ยวกับการศึกษาต่อการพัฒนาประเทศว่า ประเทศจะพัฒนาได้ ไม่จาเป็นว่าทุกคนต้องจบการศึกษาสูง แต่ควรส่งเสริมให้คนมีความถนัดและเ ชี่ ย ว ชาญในสายงานของตนเองมากกว่า อีกทั้งยังต้อง คานึงถึงมิติทางเศรษฐกิจและบริบทโลกเป็นสาคัญอีก ด้วย 5.3 เกณท์การรับนักเรียนเพื่อเข้าศึกษา สิงคโปร์มีเกณฑ์การรับนักเรียนเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษา(A-Level) โดยใช้วิธี สอบแข่งขัน เพื่อวัดขีดความสามารถของแต่ละบุคคล รวมถึงห้ามเลือกรับนักเรียนจากเชื้อ ช า ติ เ ป็ น เด็ดขาด เพื่อตอบสนองต่อหลักคุณธรรมกับการจัดการด้านชาติพันธ์ อย่างไรก็ตาม หลากหลายฝ่ายได้ วิพากย์วิจารณ์ถึงการการพิจารณาเพื่อเข้าโรงเรียนผ่านความเป็นศิษย์เก่า พ่อ แม่ ยกตัวอย่าง หาก ผู้ปกครองเป็นศิษย์เก่า บุตรหลานอาจจะได้รับการพิจารณาเพื่อเข้าศึกษาในลาดับต้นๆ ประเด็นนี้จึงมักถูก ตั้งคาถามว่าขัดต่อหลักคุณธรรมของสิงคโปร์หรือไม่ 5.4 แนวทางการประเมินการเรียนการสอนของสิงคโปร์ ในที่นี้ จะขกยกตัวอย่างการประเมินการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ (National University of Singapore) ที่มีประสิทธิภาพและถูกยอมรับในระดับนานาชาติ โดย มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ จะวัดศักยภาพทางวิชาการและประสิทธิภาพของผู้สอนผ่านการผลิต ง า น ตีพิมพ์ทางวิชาการ ทางงานวิจัย รวมถึงการวัดประสิทธิผลการเรียนการสอนผ่านผู้เรียน โดยการประเมิน การเรียนการสอนผ่านแบบสอบถามเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง
  • 9. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 9 5.5 แนวทางการศึกษาเพื่อการต่อยอด  การให้ทุนการศึกษาเพื่อนการพัฒนา จากที่กล่าวไปแล้วในข้างต้น สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีพื้นที่เป็นเกาะเล็กๆ และ มีทรัพยากรอย่างจากัด จึงดังนั้นสิงคโปร์จึงให้ความสาคัญต่อการสร้างและพัฒนา ทรัพยากรที่เรียกว่า “มนุษย์” โดยในมิติด้านการศึกษา สิงคโปร์ได้เสาะแสวงหา ทรัพยากรมนุษย์จากทั่วโลก เข้ามาเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศ ตลอดจนเป็นการต่อยอดองค์ความรู้ ผ่านการให้ทุนการศึกษาต่างๆ  การปฏิรูปห้องสมุด สิงคโปร์เห็นความสาคัญของการศึกษาเรียนรู้ จึงให้ความสาคัญกับการพัฒนา ห้องสมุดแห่งชาติสิงคโปร์ ภายใต้ Statutory Board of Singapore ที่มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพ โดยยึดหลัก Learning nation หมายถึง การใช้ห้องสมุดเป็นส่วนสาคัญ ในการขับเคลื่อนประเทศเพื่อการเรียนรู้ อีกทั้งยังเป็นเป็นห้องสมุดที่สามารถค้นคว้าหา ข้อมูลได้ทั่วโลก (Cybrarians / Knowledge Navigators) นอกเหนือจากนี้ ยังมีระบบการยืม-คืนหนังสือผ่านทางออนไลน์ที่ทันสมัย (Branding & Re-Branding Strategies: National Library Board of Singapore) ที่ น่าสนใจคือ นอกจากการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของห้องสมุดที่ทันสมัยแล้ว ยังนาระบบการบริหารของห้องสมุดที่คิดค้นมาต่อยอดเชิงพาณิชย์ ด้วยการจัดตั้ง บริษัท ให้คาปรึกษา(consultant) ที่บริการให้คาปรึกษาการจัดตั้งระบบบริหารของ ห้องสมุดสาหรับประเทศอื่นๆที่สนใจ ซึ่งสามารถทารายได้ให้กับสิงค์โปร์จานวน มหาศาล  Water Security ความมั่นคงทางน้า (Pragmatism) อดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู ได้เล็งเห็นถึงปัญหาใหญ่ของประเทศสิงคโปร์ คือ ความมั่นคงทางน้าจืดเนื่องจาก สภาพทางภูมิศาสตร์เป็นเกาะเล็กๆ ที่มีน้าทะเล ล้อมรอบ จึงทาให้ทรัพยากรที่เรียกว่า “น้าจืด”มีอยู่อย่างจากัด รวมถึงในปัจจุบัน สิงคโปร์ยังคงต้องพึ่งพาน้าจืดจากมาเลเซีย ซึ่งอาจจะส่งผลต่อความมั่นคงของรัฐใน อนาคต ทั้งนี้อดีตนายกรัฐมนตรี ลี กวน ยู จึงสร้างพื้นที่สาหรับกักตุนน้าจืดขนาดใหญ่ โดยหน่วยงานที่ทาหน้าที่รับผิดชอบ คือ การประปาของสิงคโปร์ หรือ Public Utility Board (PUB) และสถาบันนโยบายน้าจืดภายใต้การกากับของมหาวิทยาลัย แห่ง ชาติสิงค โป ร์ ( Institute of Water Policy of the National University of Singapore) โดยมีหน้าที่ในการทาวิจัยทางด้านนโยบายและเทคโนโลยีเกี่ยวกับเรื่องน้า โดยเฉพาะ อีกทั้งยังขายแนวการจัดการน้าและเทคโนโลยีจากการวิจัยให้กับประเทศ หรือหน่วยงานที่สนใจอีกด้วย
  • 10. 6. สรุป นอกเหนือจากที่กล่าวมาในข้างต้นแล้ว สิงคโปร์ยังมีแนวทางและแนวนโยบายในการจัดการภาครัฐอื่นๆ ที่น่าสนใจอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาทุตจริตคอรัปชั่น ซึ่งเดิมที สิงคโปร์เป็นประเทศที่มี อัตราการทุตจริตคอรัปชั่นที่สูงมากแห่งหนึ่ง ต่อมาสิงคโปร์ได้ใช้มาตรการทางด้านกฎหมายที่เด็ดขาดในการ จัดการกับปัญหาดังกล่าวเป็นเวลานานกว่า 10 ปี ด้วยมาตราการดังกล่าว จึงทาให้เงินไม่รั่วไหลออกนอกระบบ และต่อมารัฐบาลสิงคโปร์ได้นาเงินจานวนนี้ มาเพิ่มผลตอบแทนให้กับข้าราชการ โดยการให้อัตราเงินเดือนที่ สูงขึ้น เมือข้าราชการได้ผลตอบแทนที่พึงพอใจ กอปรกับเกรงกลัวต่อมาตรการทางกฎหมายที่เด็ดขาด จึงทาให้ ปัญหาการทุตจริตคอรัปชั่นในสิงคโปร์ค่อยๆลดน้อยลง หรือการนาแนวทางในการปฏิรูประบบการศึกษาของสิงคโปร์ที่ใช้หลัก Teach Less Learn More มา ปรับใช้ รวมถึงแนวทางการประเมินผลการเรียนการสอนของสิงคโปร์ที่มีคุณภาพ โดยวัดจากการผลิตงาน ตีพิมพ์ทางวิชาการ งานวิจัย การทาแบบประเมินสอบถามจากผู้เรียน ซึ่งในขณะนี้ ไทยยังคงใช้ระบบ ประเมินผลการเรียนการสอนผ่านการยึดหลักฐาน ซึ่งไม่ได้ตอบโจทย์เชิงปฏิบัติ (Process-Oriented) และไม่ สามารถวัดประสิทธิภาพการศึกษาได้อย่างแท้จริง จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้ว่า สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีแนวทางการบริหารราชการที่มีความ น่าสนใจ และแนวทางการจัดการของสิงคโปร์นี้เอง ที่เป็นหนึ่งในปัจจัยที่สนับสนุนทาให้สิงคโปร์เป็นประเทศที่มี ความเจริญก้าวหน้าและพัฒนาได้ในปัจจุบัน ผ่านแนวคิดและแนวนโยบายต่างๆ ที่มีลักษณะเฉพาะตัวและมี ความยืดหยุ่นตามแต่ละยุคสมัย ทั้งนี้ไทยควรศึกษาแนวทางการจัดการและแนวนโยบายสาธารณะของสิงคโปร์ ที่มีประโยชน์ เพื่อนามาปรับใช้ต่อประเทศไทยต่อไป โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 10
  • 11. 11 ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผศ.ดร.อรอร ภู่เจริญ ท่านสมปอง สงวนบรรพ์ รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ รศ.ดร.สมศักดิ์ แต้มบุญเลิศชัย อ.ทนงศักดิ์ วิกุล ดร.ดนุวัศ สาคริก พ.ต.ท.ดร.กฤษณพงค์ พูตระกูล ร.ต.อ. จอมเดช ตรีเมฆ ร.ต.อ. ธรรมนูญ สมบูรณ์ไพศาล อ.จิระโรจน์ มะหมัดกุล คุณ ธานี สุโชดายน อ.ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ อ.บุญส่ง ชเลธร อ.วันวิชิต บุญโปร่ง อ.อัครเดช สุภัคกุล ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล บันทึกเทปการประชุม: นาย พิพัฒพงศ์ ชูประสิทธิ์ ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ ปีที่พิมพ์: มีนาคม 2558 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต