SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
นางสาว ขวัญสุดา เจริญศรี
5521400193
อาเซียนมีจุดเริ่มต้นจากสมาคมอาสาก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2504 โดยไทย มาเลเซีย
และฟิลิปปินส์กัมพูชาในปี 2505 แต่ได้ถูกยกเลิกไปเมื่อไทยเสียดินแดนปราสาทเขาพระวิหาร
ให้ต่อมาวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ได้มีการลงนามใน ปฏิญญากรุงเทพ
อาเซียนได้ถือกาเนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย
ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ซึ่งผู้แทนทั้ง 5 ประเทศที่ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพ
ประกอบด้วย
● นายอาดัม มาลิก รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย
● ตุล อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน รองนายกรัฐมนตรีกลาโหมและรัฐมนตรีพัฒนาการแห่งชาติมาเลเซีย
● นายราซิโซ รามอส รัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์
● นายเอส ราชารัตนัม รัฐมนตรีต่างประเทศสิงคโปร์
● พันเอก(พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีต่างประเทศจากประเทศไทย
ต่อมาก็มีอีก5ประเทศเข้าร่วมตามลาดับดังนี้
● บรูไนดารุสซาลาม (เข้ามาเป็นสมาชิกตั้งแต่ 8 มกราคม 2527 )
● สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (เข้ามาเป็นสมาชิกตั้งแต่28 กรกฎาคม2538 )
● สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว(เข้ามาเป็นสมาชิกตั้งแต่23กรกฎาคม2540 )
● สหภาพพม่า (เข้ามาเป็นสมาชิกตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2540 )
● ราชอาณาจักรกัมพูชา (เข้ามาเป็นสมาชิกตั้งแต่ 30 เมษายน 2542 ) ตามลาดับ
การเข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนของประเทศสมาชิกใหม่เหล่านี้ทาให้อาเซียนมี
สมาชิกครบ 10 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สอดคล้องกับปฏิญญา
อาเซียน ซึ่งระบุว่า อาเซียนพร้อมรับทุกประเทศที่อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ ที่พร้อมที่จะรับเป้ าหมาย หลักการ และวัตถุประสงค์ขององค์กรเป็นสมาชิก
ต่อมา ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนได้ตกลงกันที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community) ได้ประกาศ“ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียนฉบับที่2
ซึ่งกาหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนที่ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก
กาหนดการภายในปี2558 ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
ประชาสังคมและวัฒนธรรม ประชาคมเศรษฐกิจ
 วัตถุประสงค์เริ่มแรก
─ ด้านการเมืองและความมั่นคง เพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
─ ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ
─ ความเจริญก้าวหน้าทางสังคม และวัฒนธรรม
● วัตถุประสงค์หลักที่กาหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน มี 7 ประการ ดังนี้
─ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรม
─ ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
─ ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์
และด้านการบริหาร
─ ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย
─ ส่งเสริมความร่วมมือด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การาสื่อสาร
และปรับปรุงมาตรฐานการดารงชีวิต
─ ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
─ ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ
การเป็นประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างสันติภาพ
และความมีเสถียรภาพทางการเมืองของภูมิภาค ถือเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนา
ด้านต่างๆ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสร้างค่านิยมและแนวปฏิบัติร่วมกันของอาเซียน
ในด้าน ต่างๆ เสริมสร้างขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคาม
ความมั่นคงทั้งในรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ บนพื้นฐานของหลักการว่าด้วยความ
มั่นคงของมนุษย์
บทบาทของไทยในด้านการเมืองและความมั่นคง เช่น
 เร่งให้กฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใช้ในช่วงที่ไทยเป็นประธานอาเซียน (ธันวาคม 2551)
 ส่งเสริมให้คณะมนตรีของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนมีผลงานเป็น
รูปธรรม เช่น การส่งเสริมความร่วมมือด้านการรักษาสันติภาพในภูมิภาค
 ส่งเสริมให้อาเซียนเป็นเขตปลอดอาวุธที่มีอานาจทาลายล้างสูง
● ได้ลงนามจัดตั้งเขตการค้าอาเซียน ในปี 2535
- เพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกัน
- เพื่อช่วยส่งเสริมการค้าภายในอาเซียนให้มีปริมาณเพิ่มขึ้น
- ลดต้นทุนการผลิตสินค้า
- ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ
● ขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจเพิ่มเติมเพื่อให้การรวมตัวทางเศรษฐกิจสมบูรณ์แบบ
● จัดตั้งเขตลงทุนอาเซียน
ในปี 2550 อาเซียนได้จัดทาพิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เป็นแผนบูรณาการงานด้านเศรษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุ่งไปสู่ AEC ซึ่งประกอบด้วย
แผนงานเศรษฐกิจในด้าน ต่าง ๆ พร้อมกรอบระยะเวลาที่ชัดเจนในการดาเนินมาตรการต่าง ๆ
จนบรรลุเป้ าหมายในปี 2558 รวมทั้งการให้ความยืดหยุ่นตามที่ประเทศสมาชิกได้ตกลงกัน
ล่วงหน้า ภายในปี 2558 จัดแผนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเพื่อให้อาเซียนมีการเคลื่อนย้าย
สินค้าบริการ การลงทุน แรงงานฝีมือ อย่างเสรี และเงินทุนที่เสรี
ปี 2552 ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนให้การรับรองแผนงานจัดตั้ง
ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งกาหนดกรอบและกิจกรรมที่จะทาให้อาเซียน
บรรลุเป้ าหมายการเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนซึ่งมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง
ซึ่งประกอบด้วย6 ด้าน ได้แก่
1.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เช่น ให้ความสาคัญกับการศึกษา, การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ , ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม
2.การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม เช่น รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด, การเพิ่มศักยภาพในการ
ควบคุมโรคติดต่อ
3.สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม เช่น การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน, ส่งเสริม
ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
4.ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก, การจัดการและการป้ องกัน
ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน
5.การสร้างอัตลักษณ์อาเซียนเช่น การส่งเสริมและการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน,
ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม
6.การลดช่องว่างทางการพัฒนา
1. สานักเลขาธิการอาเซียน หรือ ASEAN Secretariat
ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียเป็นศูนย์กลางในการติดต่อระหว่างประเทศสมาชิก
โดยมีเลขาธิการอาเซียนเป็นหัวหน้าสานักงาน ผู้ดารงตาแหน่งคนปัจจุบันคนไทย
คือ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ ซึ่งมีวาระดารงตาแหน่ง 5 ปี (ค.ศ. 2008-2012)
2. สานักงานอาเซียนแห่งชาติ หรือ ASEAN National Secretariat
เป็นหน่วยงานระดับกรมในกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน
มีหน้าที่ประสานกิจการอาเซียนในประเทศนั้นและติดตามผลการดาเนินงาน
สาหรับประเทศไทยหน่วยงานที่รับผิดชอบคือ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
จะมีกรอบความร่วมมือของอาเซียน+3 และอาเซียน+6
อาเซียน+3
คือมีประเทศเพิ่มมา 3 ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และรวม 10ประเทศ
ซึ่งจะเข้ามามีบทบาทเป็นแรงขับเคลื่อนสาคัญที่จะพัฒนาเศรษฐกิจให้มีความก้าวหน้า
ต่อไปในอนาคต
อาเซียน+6
คือมีจีน เกาหลี ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย อินเดีย และนิวซีแลนด์ ซึ่งทั้ง 6 ประเทศที่
กล่าวมาไม่ได้อยู่ในกลุ่มสมาชิกของอาเซียน สาหรับญี่ปุ่น อาเซียนกาลังสร้าง
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างกันให้ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นรวมทั้งการสร้างเขตการค้าเสรี
ในบางส่วนที่จะดาเนินการให้สาเร็จในทันทีที่เป็นไปได้และภายในสิบปี ที่สาคัญกว่านั้น
คือ อาเซียนอาจทาให้การประชุมสุดยอดอาเซียนบวกสาม (ซึ่งคือ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้และ
จีน) กลายเป็นการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit) และสร้างเขต
การค้าเสรีเอเชียตะวันออกซึ่งมีผู้บริโภค 2 พันล้านคน อย่างช้า ๆ
เมืองหลวง : บันดาร์ เสรี เบกาวัน
ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษและจีน
ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 66%, จีน11%,อื่นๆ 23%
นับถือศาสนา : อิสลาม 67%, พุทธ 13%, คริสต์ 10%
ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
จุดแข็ง
- การเมืองค่อนข้างมั่นคง
- รายได้เฉลี่ยต่อคนเป็นอันดับ 2 ในอาเซียน อันดับ 26 ของโลก
- ผู้ส่งออกและมีปริมาณสารองน้ามันอันดับ 4 ในอาเซียน
ข้อควรรู้
- ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถทาวีซ่าที่ ตม.ที่ประเทศบรูไนฯ สามารถ
อยู่ได้นาน 2 สัปดาห์
- ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตริย์
การปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ภายใต้รัฐธรรมนูญ - เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ (Phnom Penh)
พระมหากษัตริย์ : พระมหากษัตริย์ คือ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี
นายกรัฐมนตรี : สมเด็จฮุนเซน - ภาษาราชการ : ภาษาเขมร
 จุดแข็ง
- ค่าจ้างแรงงานต่าที่สุดในอาเซียน
- มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและสมบูรณ์
 ข้อควรรู้
- ผู้ที่เดินทางเข้ากัมพูชา และประสงค์จะอยู่ทาธุรกิจเป็นระยะเวลาเกิน 3 เดือน
ควรฉีดยาป้ องกันโรคไทฟอยด์ และไวรัส เอและบี
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหาร
ประธานาธิบดี : ดร.ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน
เมืองหลวง : จาการ์ตา (Jakarta)
ภาษาราชการภาษาอินโดนีเซีย และภาษามากกว่า 583 ภาษา
จุดแข็ง
- มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- มีจานวนประชากรมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ข้อควรรู้
- ไม่ควรใช้มือซ้ายในการรับ-ส่งของ คนมุสลิมอินโดนีเซียถือว่ามือซ้ายไม่สุภาพ
- นิยมใช้มือกินข้าว
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People's Democratic Republic)
ระบอบการปกครอง : ระบบการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์
(ทางการลาวใช้คาว่าระบอบประชาธิปไตยประชาชน) โดยพรรคการเมืองเดียวเป็นองค์กร
ชี้นาประเทศ คือพรรคประชาชนปฏิวัติลาว มีอานาจสูงสุดตั้งแต่ลาวเริ่มปกครองในระบอบ
สังคมนิยม ประธานาธิบดี : พลโท จูมมะลี ไชยะสอน
หัวหน้ารัฐบาล-นายกรัฐมนตรี : นายบัวสอน บุบผาวัน -ภาษา : ภาษาลาวเป็นภาษาราชการ
สกุลเงิน : กีบ (Kip) อัตราแลกเปลี่ยน 1 บาท : 276 กีบ
จุดแข็ง
- ค่าจ้างแรงงานต่าอันดับ 2 ในอาเซียน
- การเมืองมีเสถียรภาพ
ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia)
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา(Parliamentary Democracy)
ประมุข : สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่าน มีซาน ไซนัล อาบิดีน
นายกรัฐมนตรี : ดาโต๊ะ ซรี อับดุลลาห์ บิน ฮาจิ อาหมัด บาดาวี
ภาษาราชการ : มาเลย์ (Bahasa Malaysia )
สกุลเงิน : ริงกิตมาเลเซีย (Malaysian Ringgit : MYR)
จุดแข็ง
- มีปริมาณสารองน้ามันมากเป็นอันดับ 3 ในเอเชียแปซิฟิค
- มีปริาณก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิค
ชื่อทางการ : สหภาพพม่า (Union of Myanmar)
ระบอบการปกครอง :เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใต้สภา
สันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ
ประมุขประเทศ : พลเอกอาวุโส ตาน ฉ่วย
นายกรัฐมนตรี (หัวหน้ารัฐบาล) คือ พล.อ.เทียน เส่ง
เมืองหลวง : เนปีดอ (Naypyidaw) ภาษา : ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ
จุดแข็ง
- มีพรมแดนเชื่อมต่อกับจีน และอินเดีย
- ค่าจ้างแรงงานต่าเป็นอันดับ 3 ในอาเซียน
- มีปริมาณก๊าซธรรมชาติเป็นจานวนมาก
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines)
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหาร
ประธานาธิบดี : นางกลอเรีย มาคาปากัล อาร์โรโย
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา (MANILA) ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษ เป็นภาษาราชการ
 จุดแข็ง
- แรงงานทั่วไป ก็มีความรู้สื่อสารภาษาอังกฤษได้
 ข้อควรรู้
- การเข้าไปประกอบธุรกิจในฟิลิปปินส์ในลักษณะต่างๆ เช่น การลงทุนร่วมกับฝ่าย
ฟิลิปปินส์จาเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูลให้ละเอียด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย การจด
ทะเบียนภาษี และปัญหาทางด้านแรงงาน เป็นต้น
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of SINGAPORE)
ระบอบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว)
โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุข และนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร
ประธานาธิบดี คือ นายเอส อาร์ นาธาน -นายกรัฐมนตรี คือ นายลี เซียน ลุง
เมืองหลวง : สิงคโปร์ -สกุลเงิน : ดอลลาร์สิงคโปร์
ภาษา : ภาษาทางราชการ คือ ภาษามาเลย์ (ภาษาประจาชาติ) จีนกลาง (แมนดาริน)
ทมิฬ และอังกฤษ สิงคโปร์ส่งเสริมให้ประชาชนพูด 2 ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะที่
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้ในการติดต่องานและในชีวิตประจาวัน
จุดแข็ง
- รายได้เฉลี่ยต่อคน เป็นอันดับ 1 ในอาเซียน และอันดับ 15 ของโลก
- แรงงานมีทักษะสูง
ชื่อทางการ : ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
ระบอบการปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
พระมหากษัตริย์ คือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช
บรมนาถบพิตร เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร (Bangkok)
ภาษา : ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ สกุลเงิน : บาท (Baht : THB)
จุดแข็ง
- เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน
- มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มีชื่อเสียง
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam)
ระบอบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็นพรรค
การเมืองเดียว
ประมุข-ประธานาธิบดี คือ นายเหงียน มินห์ เจี๊ยต (Nguyen Minh Triet)
หัวหน้ารัฐบาล-นายกรัฐมนตรี คือ นายเหงียน ถัน ดุง (Nguyen Tan Dung)
เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ คือ นายหน่ง ดึ๊ก หมั่น (Nong Duc Manh)
เมืองหลวง : กรุงฮานอย (Hanoi)
สกุลเงิน : ด่อง (Dong : VND) อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 461 ด่อง/ 1 บาท
จุดแข็ง
- มีปริมาณสารองน้ามันดิบมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิก
 หนังสือ อาเซียนศึกษา (ASEAN Studies)
 http://www.nwvoc.ac.th/asean/Asean+6.html
 http://www.mfa.go.th/asean/th/other/2361
 http://www.thai-aec.com/418
 http://hilight.kapook.com/view/67028

More Related Content

Viewers also liked

ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์Phongthon Changyom
 
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซียอินโดนีเซีย
อินโดนีเซียThanthup Zied
 
สนุกกับภาษาอินโดนีเซีย
สนุกกับภาษาอินโดนีเซียสนุกกับภาษาอินโดนีเซีย
สนุกกับภาษาอินโดนีเซียNamchai Chewawiwat
 
Mini book ภาษาอินโด
Mini book ภาษาอินโดMini book ภาษาอินโด
Mini book ภาษาอินโดarunrat bamrungchit
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 
รูปชุดประจำชาติ
รูปชุดประจำชาติ  รูปชุดประจำชาติ
รูปชุดประจำชาติ panida428
 
ฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์ฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์IceCreamWall
 
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์Manatchariyaa Thongmuangsak
 
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์Saowaluck Sangkoomphai
 
สถานที่ท่องเที่ยว ประเทศสหรัฐอเมริกา
สถานที่ท่องเที่ยว ประเทศสหรัฐอเมริกาสถานที่ท่องเที่ยว ประเทศสหรัฐอเมริกา
สถานที่ท่องเที่ยว ประเทศสหรัฐอเมริกาJamee Prasertsak
 
สถานที่ท่องเที่ยวในฮองกง
สถานที่ท่องเที่ยวในฮองกงสถานที่ท่องเที่ยวในฮองกง
สถานที่ท่องเที่ยวในฮองกงsuperjajj
 
ประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาBangon Suyana
 

Viewers also liked (20)

ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์
 
อินโดนีเซีย
อินโดนีเซียอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย
 
สนุกกับภาษาอินโดนีเซีย
สนุกกับภาษาอินโดนีเซียสนุกกับภาษาอินโดนีเซีย
สนุกกับภาษาอินโดนีเซีย
 
Mini book ภาษาอินโด
Mini book ภาษาอินโดMini book ภาษาอินโด
Mini book ภาษาอินโด
 
Singapore
SingaporeSingapore
Singapore
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
รูปชุดประจำชาติ
รูปชุดประจำชาติ  รูปชุดประจำชาติ
รูปชุดประจำชาติ
 
ฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์ฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์
 
ประเทศบรูไน
ประเทศบรูไนประเทศบรูไน
ประเทศบรูไน
 
ฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์ฟิลิปปินส์
ฟิลิปปินส์
 
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
 
Setting the Scene: The SME and SMP Landscape in Singapore
Setting the Scene: The SME and SMP Landscape in Singapore Setting the Scene: The SME and SMP Landscape in Singapore
Setting the Scene: The SME and SMP Landscape in Singapore
 
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์
 
บรูไน
บรูไนบรูไน
บรูไน
 
Score m.5
Score m.5Score m.5
Score m.5
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
สถานที่ท่องเที่ยว ประเทศสหรัฐอเมริกา
สถานที่ท่องเที่ยว ประเทศสหรัฐอเมริกาสถานที่ท่องเที่ยว ประเทศสหรัฐอเมริกา
สถานที่ท่องเที่ยว ประเทศสหรัฐอเมริกา
 
สถานที่ท่องเที่ยวในฮองกง
สถานที่ท่องเที่ยวในฮองกงสถานที่ท่องเที่ยวในฮองกง
สถานที่ท่องเที่ยวในฮองกง
 
บรูไน
บรูไนบรูไน
บรูไน
 
ประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชา
 

งานนำเสนอ.pdf

  • 2. อาเซียนมีจุดเริ่มต้นจากสมาคมอาสาก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์กัมพูชาในปี 2505 แต่ได้ถูกยกเลิกไปเมื่อไทยเสียดินแดนปราสาทเขาพระวิหาร ให้ต่อมาวันที่ 8 สิงหาคม 2510 ได้มีการลงนามใน ปฏิญญากรุงเทพ อาเซียนได้ถือกาเนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ซึ่งผู้แทนทั้ง 5 ประเทศที่ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพ ประกอบด้วย ● นายอาดัม มาลิก รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย ● ตุล อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน รองนายกรัฐมนตรีกลาโหมและรัฐมนตรีพัฒนาการแห่งชาติมาเลเซีย ● นายราซิโซ รามอส รัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์ ● นายเอส ราชารัตนัม รัฐมนตรีต่างประเทศสิงคโปร์ ● พันเอก(พิเศษ) ดร. ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีต่างประเทศจากประเทศไทย
  • 3. ต่อมาก็มีอีก5ประเทศเข้าร่วมตามลาดับดังนี้ ● บรูไนดารุสซาลาม (เข้ามาเป็นสมาชิกตั้งแต่ 8 มกราคม 2527 ) ● สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (เข้ามาเป็นสมาชิกตั้งแต่28 กรกฎาคม2538 ) ● สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว(เข้ามาเป็นสมาชิกตั้งแต่23กรกฎาคม2540 ) ● สหภาพพม่า (เข้ามาเป็นสมาชิกตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2540 ) ● ราชอาณาจักรกัมพูชา (เข้ามาเป็นสมาชิกตั้งแต่ 30 เมษายน 2542 ) ตามลาดับ การเข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนของประเทศสมาชิกใหม่เหล่านี้ทาให้อาเซียนมี สมาชิกครบ 10 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สอดคล้องกับปฏิญญา อาเซียน ซึ่งระบุว่า อาเซียนพร้อมรับทุกประเทศที่อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ที่พร้อมที่จะรับเป้ าหมาย หลักการ และวัตถุประสงค์ขององค์กรเป็นสมาชิก
  • 4. ต่อมา ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนได้ตกลงกันที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ได้ประกาศ“ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียนฉบับที่2 ซึ่งกาหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนที่ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก กาหนดการภายในปี2558 ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง ประชาสังคมและวัฒนธรรม ประชาคมเศรษฐกิจ
  • 5.
  • 6.  วัตถุประสงค์เริ่มแรก ─ ด้านการเมืองและความมั่นคง เพื่อสร้างสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ─ ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ─ ความเจริญก้าวหน้าทางสังคม และวัฒนธรรม ● วัตถุประสงค์หลักที่กาหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน มี 7 ประการ ดังนี้ ─ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรม ─ ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค ─ ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และด้านการบริหาร ─ ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย ─ ส่งเสริมความร่วมมือด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การาสื่อสาร และปรับปรุงมาตรฐานการดารงชีวิต ─ ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ─ ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ
  • 7. การเป็นประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างสันติภาพ และความมีเสถียรภาพทางการเมืองของภูมิภาค ถือเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนา ด้านต่างๆ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสร้างค่านิยมและแนวปฏิบัติร่วมกันของอาเซียน ในด้าน ต่างๆ เสริมสร้างขีดความสามารถของอาเซียนในการเผชิญกับภัยคุกคาม ความมั่นคงทั้งในรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ บนพื้นฐานของหลักการว่าด้วยความ มั่นคงของมนุษย์ บทบาทของไทยในด้านการเมืองและความมั่นคง เช่น  เร่งให้กฎบัตรอาเซียนมีผลบังคับใช้ในช่วงที่ไทยเป็นประธานอาเซียน (ธันวาคม 2551)  ส่งเสริมให้คณะมนตรีของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนมีผลงานเป็น รูปธรรม เช่น การส่งเสริมความร่วมมือด้านการรักษาสันติภาพในภูมิภาค  ส่งเสริมให้อาเซียนเป็นเขตปลอดอาวุธที่มีอานาจทาลายล้างสูง
  • 8. ● ได้ลงนามจัดตั้งเขตการค้าอาเซียน ในปี 2535 - เพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกัน - เพื่อช่วยส่งเสริมการค้าภายในอาเซียนให้มีปริมาณเพิ่มขึ้น - ลดต้นทุนการผลิตสินค้า - ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ ● ขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจเพิ่มเติมเพื่อให้การรวมตัวทางเศรษฐกิจสมบูรณ์แบบ ● จัดตั้งเขตลงทุนอาเซียน ในปี 2550 อาเซียนได้จัดทาพิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป็นแผนบูรณาการงานด้านเศรษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุ่งไปสู่ AEC ซึ่งประกอบด้วย แผนงานเศรษฐกิจในด้าน ต่าง ๆ พร้อมกรอบระยะเวลาที่ชัดเจนในการดาเนินมาตรการต่าง ๆ จนบรรลุเป้ าหมายในปี 2558 รวมทั้งการให้ความยืดหยุ่นตามที่ประเทศสมาชิกได้ตกลงกัน ล่วงหน้า ภายในปี 2558 จัดแผนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเพื่อให้อาเซียนมีการเคลื่อนย้าย สินค้าบริการ การลงทุน แรงงานฝีมือ อย่างเสรี และเงินทุนที่เสรี
  • 9. ปี 2552 ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียนให้การรับรองแผนงานจัดตั้ง ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งกาหนดกรอบและกิจกรรมที่จะทาให้อาเซียน บรรลุเป้ าหมายการเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนซึ่งมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งประกอบด้วย6 ด้าน ได้แก่ 1.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เช่น ให้ความสาคัญกับการศึกษา, การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ , ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม 2.การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม เช่น รับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด, การเพิ่มศักยภาพในการ ควบคุมโรคติดต่อ 3.สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม เช่น การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน, ส่งเสริม ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ 4.ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก, การจัดการและการป้ องกัน ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน 5.การสร้างอัตลักษณ์อาเซียนเช่น การส่งเสริมและการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน, ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม 6.การลดช่องว่างทางการพัฒนา
  • 10.
  • 11.
  • 12. 1. สานักเลขาธิการอาเซียน หรือ ASEAN Secretariat ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียเป็นศูนย์กลางในการติดต่อระหว่างประเทศสมาชิก โดยมีเลขาธิการอาเซียนเป็นหัวหน้าสานักงาน ผู้ดารงตาแหน่งคนปัจจุบันคนไทย คือ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ ซึ่งมีวาระดารงตาแหน่ง 5 ปี (ค.ศ. 2008-2012) 2. สานักงานอาเซียนแห่งชาติ หรือ ASEAN National Secretariat เป็นหน่วยงานระดับกรมในกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน มีหน้าที่ประสานกิจการอาเซียนในประเทศนั้นและติดตามผลการดาเนินงาน สาหรับประเทศไทยหน่วยงานที่รับผิดชอบคือ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
  • 13. จะมีกรอบความร่วมมือของอาเซียน+3 และอาเซียน+6 อาเซียน+3 คือมีประเทศเพิ่มมา 3 ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และรวม 10ประเทศ ซึ่งจะเข้ามามีบทบาทเป็นแรงขับเคลื่อนสาคัญที่จะพัฒนาเศรษฐกิจให้มีความก้าวหน้า ต่อไปในอนาคต อาเซียน+6 คือมีจีน เกาหลี ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย อินเดีย และนิวซีแลนด์ ซึ่งทั้ง 6 ประเทศที่ กล่าวมาไม่ได้อยู่ในกลุ่มสมาชิกของอาเซียน สาหรับญี่ปุ่น อาเซียนกาลังสร้าง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างกันให้ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นรวมทั้งการสร้างเขตการค้าเสรี ในบางส่วนที่จะดาเนินการให้สาเร็จในทันทีที่เป็นไปได้และภายในสิบปี ที่สาคัญกว่านั้น คือ อาเซียนอาจทาให้การประชุมสุดยอดอาเซียนบวกสาม (ซึ่งคือ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้และ จีน) กลายเป็นการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit) และสร้างเขต การค้าเสรีเอเชียตะวันออกซึ่งมีผู้บริโภค 2 พันล้านคน อย่างช้า ๆ
  • 14.
  • 15. เมืองหลวง : บันดาร์ เสรี เบกาวัน ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษและจีน ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 66%, จีน11%,อื่นๆ 23% นับถือศาสนา : อิสลาม 67%, พุทธ 13%, คริสต์ 10% ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ จุดแข็ง - การเมืองค่อนข้างมั่นคง - รายได้เฉลี่ยต่อคนเป็นอันดับ 2 ในอาเซียน อันดับ 26 ของโลก - ผู้ส่งออกและมีปริมาณสารองน้ามันอันดับ 4 ในอาเซียน ข้อควรรู้ - ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถทาวีซ่าที่ ตม.ที่ประเทศบรูไนฯ สามารถ อยู่ได้นาน 2 สัปดาห์ - ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตริย์
  • 16. การปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ - เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ (Phnom Penh) พระมหากษัตริย์ : พระมหากษัตริย์ คือ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี นายกรัฐมนตรี : สมเด็จฮุนเซน - ภาษาราชการ : ภาษาเขมร  จุดแข็ง - ค่าจ้างแรงงานต่าที่สุดในอาเซียน - มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและสมบูรณ์  ข้อควรรู้ - ผู้ที่เดินทางเข้ากัมพูชา และประสงค์จะอยู่ทาธุรกิจเป็นระยะเวลาเกิน 3 เดือน ควรฉีดยาป้ องกันโรคไทฟอยด์ และไวรัส เอและบี
  • 17. ชื่อทางการ : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี : ดร.ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน เมืองหลวง : จาการ์ตา (Jakarta) ภาษาราชการภาษาอินโดนีเซีย และภาษามากกว่า 583 ภาษา จุดแข็ง - มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - มีจานวนประชากรมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข้อควรรู้ - ไม่ควรใช้มือซ้ายในการรับ-ส่งของ คนมุสลิมอินโดนีเซียถือว่ามือซ้ายไม่สุภาพ - นิยมใช้มือกินข้าว
  • 18. ชื่อทางการ : สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People's Democratic Republic) ระบอบการปกครอง : ระบบการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้คาว่าระบอบประชาธิปไตยประชาชน) โดยพรรคการเมืองเดียวเป็นองค์กร ชี้นาประเทศ คือพรรคประชาชนปฏิวัติลาว มีอานาจสูงสุดตั้งแต่ลาวเริ่มปกครองในระบอบ สังคมนิยม ประธานาธิบดี : พลโท จูมมะลี ไชยะสอน หัวหน้ารัฐบาล-นายกรัฐมนตรี : นายบัวสอน บุบผาวัน -ภาษา : ภาษาลาวเป็นภาษาราชการ สกุลเงิน : กีบ (Kip) อัตราแลกเปลี่ยน 1 บาท : 276 กีบ จุดแข็ง - ค่าจ้างแรงงานต่าอันดับ 2 ในอาเซียน - การเมืองมีเสถียรภาพ
  • 19. ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia) ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา(Parliamentary Democracy) ประมุข : สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่าน มีซาน ไซนัล อาบิดีน นายกรัฐมนตรี : ดาโต๊ะ ซรี อับดุลลาห์ บิน ฮาจิ อาหมัด บาดาวี ภาษาราชการ : มาเลย์ (Bahasa Malaysia ) สกุลเงิน : ริงกิตมาเลเซีย (Malaysian Ringgit : MYR) จุดแข็ง - มีปริมาณสารองน้ามันมากเป็นอันดับ 3 ในเอเชียแปซิฟิค - มีปริาณก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิค
  • 20. ชื่อทางการ : สหภาพพม่า (Union of Myanmar) ระบอบการปกครอง :เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใต้สภา สันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ ประมุขประเทศ : พลเอกอาวุโส ตาน ฉ่วย นายกรัฐมนตรี (หัวหน้ารัฐบาล) คือ พล.อ.เทียน เส่ง เมืองหลวง : เนปีดอ (Naypyidaw) ภาษา : ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ จุดแข็ง - มีพรมแดนเชื่อมต่อกับจีน และอินเดีย - ค่าจ้างแรงงานต่าเป็นอันดับ 3 ในอาเซียน - มีปริมาณก๊าซธรรมชาติเป็นจานวนมาก
  • 21. ชื่อทางการ : สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines) ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี : นางกลอเรีย มาคาปากัล อาร์โรโย เมืองหลวง : กรุงมะนิลา (MANILA) ภาษาฟิลิปิโน และภาษาอังกฤษ เป็นภาษาราชการ  จุดแข็ง - แรงงานทั่วไป ก็มีความรู้สื่อสารภาษาอังกฤษได้  ข้อควรรู้ - การเข้าไปประกอบธุรกิจในฟิลิปปินส์ในลักษณะต่างๆ เช่น การลงทุนร่วมกับฝ่าย ฟิลิปปินส์จาเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูลให้ละเอียด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย การจด ทะเบียนภาษี และปัญหาทางด้านแรงงาน เป็นต้น
  • 22. ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of SINGAPORE) ระบอบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว) โดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุข และนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คือ นายเอส อาร์ นาธาน -นายกรัฐมนตรี คือ นายลี เซียน ลุง เมืองหลวง : สิงคโปร์ -สกุลเงิน : ดอลลาร์สิงคโปร์ ภาษา : ภาษาทางราชการ คือ ภาษามาเลย์ (ภาษาประจาชาติ) จีนกลาง (แมนดาริน) ทมิฬ และอังกฤษ สิงคโปร์ส่งเสริมให้ประชาชนพูด 2 ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะที่ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้ในการติดต่องานและในชีวิตประจาวัน จุดแข็ง - รายได้เฉลี่ยต่อคน เป็นอันดับ 1 ในอาเซียน และอันดับ 15 ของโลก - แรงงานมีทักษะสูง
  • 23. ชื่อทางการ : ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) ระบอบการปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข พระมหากษัตริย์ คือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร (Bangkok) ภาษา : ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ สกุลเงิน : บาท (Baht : THB) จุดแข็ง - เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน - มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มีชื่อเสียง
  • 24. ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) ระบอบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็นพรรค การเมืองเดียว ประมุข-ประธานาธิบดี คือ นายเหงียน มินห์ เจี๊ยต (Nguyen Minh Triet) หัวหน้ารัฐบาล-นายกรัฐมนตรี คือ นายเหงียน ถัน ดุง (Nguyen Tan Dung) เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ คือ นายหน่ง ดึ๊ก หมั่น (Nong Duc Manh) เมืองหลวง : กรุงฮานอย (Hanoi) สกุลเงิน : ด่อง (Dong : VND) อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 461 ด่อง/ 1 บาท จุดแข็ง - มีปริมาณสารองน้ามันดิบมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิก
  • 25.  หนังสือ อาเซียนศึกษา (ASEAN Studies)  http://www.nwvoc.ac.th/asean/Asean+6.html  http://www.mfa.go.th/asean/th/other/2361  http://www.thai-aec.com/418  http://hilight.kapook.com/view/67028