SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
เศรษฐกิจพอเพียง
       “อั น ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ที่ ค อยเลี้ ย งกายใจให้ พ อมี
และทาชี วิ ต ให้ แ ต่ พ อดี                       และสุ ขี สุ ข สั น ต์ แ ต่ พอตั ว
        เศรษฐกิ จ พอเพี ย งเลี้ ย งชี วิ ต        จากดวงจิ ต พ่ อ เราเจ้ า อยู่ หั ว
ทาชี วิ ต ที่ จ ากเคยหมองมั ว                     พอสร้ า งตั ว อยู่ ไ ด้ ก าย ใจเย็ น ”
                                          น้ อ มเกล้ า น้ อ มกระหม่ อ มถวาย
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ..

 เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนใน
  ทุกระดับ
 พัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ
  การพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
 ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง
  ความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการ
  กระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก
การนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน


   เศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการพัฒนาที่นา
  ไปสู่ความสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดับต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับ
  ความผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณ
    และความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี มีความรู้ ความเพียร และความอดทน สติ และ
  ปัญญา การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และความสามัคคี
              เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบ
  แนวคิดที่ชี้บอกหลักการ และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ แนวพระราชดาริเกี่ยวกับ
  ทฤษฎีใหม่ หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนนั้น
  เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมเฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม
ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบ
  พื้นฐาน กับ แบบก้าวหน้า ได้ดังนี้ความพอเพียงในระดับบุคคล และครอบครัว โดยเฉพาะเกษตรกร
  เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน เทียบได้กับทฤษฎีใหม่
หลักการสาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง
 ประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้
  ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน
  ตนเองและผู้อื่น
  ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมี
  เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทา
  นั้นๆ อย่างรอบคอบ
  ๓. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะ
  เกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
 มี เงื่อนไข ของการตัดสินใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังนี้
  ๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความ
  รอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความ
  ระมัดระวังในการปฏิบัติ
  ๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ
  ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
เศรษฐกิจพอเพียงกับคณิตศาสตร์

 แนวพระราชดาริในการดาเนินชีวิตแบบพอเพียง
  ๑. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยใน
  การใช้ชีวิต
  ๒. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ซื่อสัตย์สุจริต
  ๓. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้าแบบต่อสู้
  กันอย่างรุนแรง
  ๔. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก ด้วยการ
  ขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้มีรายได้เพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมาย
  สาคัญ
  ๕. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว ประพฤติตนตามหลักศาสนา
คณิตศาสตร์และทฤษฎีใหม่

 ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น
             ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมายถึง
              พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเก็บกักน้าเพื่อใช้เก็บกักน้าฝน
  ในฤดูฝน และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้าต่างๆ
               พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็นอาหาร
  ประจาวันสาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเอง
  ได้
                 พื้นทีส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่
                       ่
  พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจาวัน หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่าย
                 พื้นทีส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และ
                         ่
  โรงเรือนอื่นๆ
              ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง
                           เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่
    สอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกันดาเนินการในด้าน
                           (๑) การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
                           - เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิต โดยเริ่ม ตั้งแต่ขั้นเตรียมดิน การหาพันธุ์พืช ปุ๋ย การ
    จัดหาน้า และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก
                           (๒) การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจาหน่ายผลผลิต)
                           - เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรียมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น
    การเตรียมลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหาเครื่องสีข้าว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้
    ได้ราคาดีและลดค่าใช้จายลงด้วย
                             ่
                           (๓) การเป็นอยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ)
                           - ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐานในการ
    ดารงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้าปลา เสื้อผ้า ที่พอเพียง
                           (๔) สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้)
                           - แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริการที่จาเป็น เช่น มีสถานีอนามัยเมื่อยามป่วยไข้ หรือ
    มีกองทุนไว้กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน
                           (๕) การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา)
                           - ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่าเรียนให้แก่
    เยาวชนของชมชนเอง
                           (๖) สังคมและศาสนา
                           - ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยว
                           โดยกิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่วา่
    ส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้นเป็นสาคัญ
 ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม
                      เมื่อดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกร หรือกลุ่มเกษตรกรก็
  ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน
  เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต
                      ทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะได้รับ
  ประโยชน์รวมกัน กล่าวคือ
             ่
                      - เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา)
                      - ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่า (ซื้อ
  ข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง)
                      - เกษตรกรซื้อเครืองอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้อ
                                           ่
  เป็นจานวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ง)
                      - ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไป
  ดาเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดี
การนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน

 การประหยัด
   การดาเนินชีวิตในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันนี้ ควรตัดทอนค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็นในทุก
      ด้าน รวมทั้งลดละความฟุ่มเฟือยในการดารงชีวิตอย่างจริงจัง


 การประกอบอาชีพที่สุจริต
     การทามาหากินด้วยการประกอบอาชีพต่าง ๆ จะต้องยึดหลักความซื่อสัตย์สุจริต
      และความถูกต้อง แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดารงชีวิตก็ตาม
 การหารายได้เพิ่มพูน
   การดาเนินชีวิตในปัจจุบันจะต้องไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์
    ยาก ต้องรู้จักขวนขวายใฝ่หาความรู้ ให้เกิดมีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงเป็น
    เป้าหมายสาคัญ


 การไม่แก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกัน
   การประกอบอาชีพด้านการค้าขายจะต้องลดละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์แบบต่อสู้
    และแข่งขันกันอย่างรุนแรงเช่นในอดีต
 การไม่กระทาชั่ว
   การปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ต้องลดละสิ่งทีเป็นความชั่วต่างๆให้หมดสิ้นไปทั้งนี้
                                              ่
    เนื่องจากสังคมไทยที่ล่มสลายลงในครั้งนี้ เป็นเพราะยังมีบุคคลจานวนมิใช่น้อยที่
    ดาเนินการโดยปราศจากความละอายต่อแผ่นดิน
การปฏิบัติตนในชีวิตประจาวัน

 ใช้เงินไม่เกินตัว ให้พอดีกับรายได้ที่มี

 รู้จักช่วยเหลือผู้อื่น แบ่งปันสิ่งของให้ผู้อื่นบ้าง

 มีความขยันหมั่นเพียร อดทน ซื่อสัตย์ สุจริต ไม่คดโกงใคร

 สามารถพึ่งพาตนเองได้ ไม่ไปกู้หนี้ยืมสินใคร

 พอใจในสิ่งที่ตัวเองมี

 ไม่ควรประหยัดเกินไป ควรใช้ให้พอดี
ที่มา

 http://www.chaipat.or.th/chaipat/content/
 http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&f
  ile=readknowledge&id=1575%C2%AD%1C%C2%
  AD
 http://www.chaipat.or.th/chaipat/content/porpe
  ing/porpeing.html
 http://www.fti.or.th/2008/thai/ftisufficiencyeco
  nomydetail.aspx?id=5
สมาชิกกลุ่ม

 ด.ช.ตะวัน       เหลืองวันทา                    เลขที่ 3
 ด.ช.วิธสรรค์
         ิ        พุฒลา                          เลขที่ 10
 ด.ญ.กันตพิชญ์   สุภาพ                          เลขที่ 18
 ด.ญ.ธวัลรัตน์   มีเมล์                         เลขที่ 22
 ด.ญ.ธัญวรัตม์   ปักษาจันทร์                    เลขที่ 24
 ด.ญ.เบญญทิพย์   ฤาชา                           เลขที่ 25
 ด.ญ.ประภัสรา    หน่อแดง                        เลขที่ 27
 ด.ญ.วันทนีย์    ตรีวัฒนาวงศ์                   เลขที่ 36
                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/16

More Related Content

What's hot

การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruemas Kerdpocha
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงfreelance
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงVinz Primo
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงSuttipong Pratumvee
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนิเวช แสงคำ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงpatcharapornfilmmii
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาPavana Numampornsiri
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
SufficiencyeconomyIct Krutao
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่kima203
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงWitayanun Sittisomboon
 

What's hot (19)

การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
Sufficiencyeconomy
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

Viewers also liked

ณัฐพงษ์ ชะนะพยัคฆ์ ชั้น ม.4/10 เลขที่ 18
ณัฐพงษ์ ชะนะพยัคฆ์ ชั้น ม.4/10 เลขที่ 18ณัฐพงษ์ ชะนะพยัคฆ์ ชั้น ม.4/10 เลขที่ 18
ณัฐพงษ์ ชะนะพยัคฆ์ ชั้น ม.4/10 เลขที่ 18fluk08015
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าpatarapan
 
My Self+Our Everyday Life3+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f29-4page
My Self+Our Everyday Life3+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f29-4pageMy Self+Our Everyday Life3+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f29-4page
My Self+Our Everyday Life3+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f29-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ชื่อนันนท์นภัส บัคลี่ ชั้นม4/10
ชื่อนันนท์นภัส  บัคลี่ ชั้นม4/10ชื่อนันนท์นภัส  บัคลี่ ชั้นม4/10
ชื่อนันนท์นภัส บัคลี่ ชั้นม4/10toeyislove
 
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213Jintananicha
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนPattama Poyangyuen
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ krudeaw
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2fainaja
 
ใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-1page
ใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-1pageใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-1page
ใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ภูมิอากาศเอเชีย
ภูมิอากาศเอเชียภูมิอากาศเอเชีย
ภูมิอากาศเอเชียchanok
 
โครงการรวมพลังรับมือภัยพิบัติ
โครงการรวมพลังรับมือภัยพิบัติโครงการรวมพลังรับมือภัยพิบัติ
โครงการรวมพลังรับมือภัยพิบัติPoramate Minsiri
 
ใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-4page
ใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-4pageใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-4page
ใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPattama Poyangyuen
 

Viewers also liked (20)

ณัฐพงษ์ ชะนะพยัคฆ์ ชั้น ม.4/10 เลขที่ 18
ณัฐพงษ์ ชะนะพยัคฆ์ ชั้น ม.4/10 เลขที่ 18ณัฐพงษ์ ชะนะพยัคฆ์ ชั้น ม.4/10 เลขที่ 18
ณัฐพงษ์ ชะนะพยัคฆ์ ชั้น ม.4/10 เลขที่ 18
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
My Self+Our Everyday Life3+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f29-4page
My Self+Our Everyday Life3+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f29-4pageMy Self+Our Everyday Life3+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f29-4page
My Self+Our Everyday Life3+ป.1+104+dltvengp1+54en p01 f29-4page
 
ชื่อนันนท์นภัส บัคลี่ ชั้นม4/10
ชื่อนันนท์นภัส  บัคลี่ ชั้นม4/10ชื่อนันนท์นภัส  บัคลี่ ชั้นม4/10
ชื่อนันนท์นภัส บัคลี่ ชั้นม4/10
 
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้ พุทธประวัติ 423213
 
Educational Media Apply
Educational Media ApplyEducational Media Apply
Educational Media Apply
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
 
ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2ทรัพยากรอากาศ2
ทรัพยากรอากาศ2
 
ใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-1page
ใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-1pageใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-1page
ใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-1page
 
Science sm by kru.jiraporn
Science sm by kru.jirapornScience sm by kru.jiraporn
Science sm by kru.jiraporn
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
ภูมิอากาศเอเชีย
ภูมิอากาศเอเชียภูมิอากาศเอเชีย
ภูมิอากาศเอเชีย
 
โครงการรวมพลังรับมือภัยพิบัติ
โครงการรวมพลังรับมือภัยพิบัติโครงการรวมพลังรับมือภัยพิบัติ
โครงการรวมพลังรับมือภัยพิบัติ
 
ใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-4page
ใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-4pageใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-4page
ใบความรู้ ส่วนประกอบของพืช(ใบ) ป.1+209+dltvscip1+54sc p01 f18-4page
 
ภาษาอาเซียน
ภาษาอาเซียนภาษาอาเซียน
ภาษาอาเซียน
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

Similar to กลุ่ม4

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKruhy LoveOnly
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงfreelance
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรtualekdm
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...freelance
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนAnantaya
 

Similar to กลุ่ม4 (20)

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Econ
EconEcon
Econ
 
Econ
EconEcon
Econ
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
Crumu
CrumuCrumu
Crumu
 

More from Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctJiraprapa Suwannajak
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษาJiraprapa Suwannajak
 

More from Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
 
กราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษากราฟิกเพื่อการศึกษา
กราฟิกเพื่อการศึกษา
 

กลุ่ม4

  • 1. เศรษฐกิจพอเพียง “อั น ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ที่ ค อยเลี้ ย งกายใจให้ พ อมี และทาชี วิ ต ให้ แ ต่ พ อดี และสุ ขี สุ ข สั น ต์ แ ต่ พอตั ว เศรษฐกิ จ พอเพี ย งเลี้ ย งชี วิ ต จากดวงจิ ต พ่ อ เราเจ้ า อยู่ หั ว ทาชี วิ ต ที่ จ ากเคยหมองมั ว พอสร้ า งตั ว อยู่ ไ ด้ ก าย ใจเย็ น ” น้ อ มเกล้ า น้ อ มกระหม่ อ มถวาย
  • 2. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ..  เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนใน ทุกระดับ  พัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ การพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์  ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการ กระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก
  • 3.
  • 4. การนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน เศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการพัฒนาที่นา ไปสู่ความสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดับต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นตอน โดยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับ ความผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณ และความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี มีความรู้ ความเพียร และความอดทน สติ และ ปัญญา การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และความสามัคคี เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบ แนวคิดที่ชี้บอกหลักการ และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ แนวพระราชดาริเกี่ยวกับ ทฤษฎีใหม่ หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนนั้น เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมเฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบ พื้นฐาน กับ แบบก้าวหน้า ได้ดังนี้ความพอเพียงในระดับบุคคล และครอบครัว โดยเฉพาะเกษตรกร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน เทียบได้กับทฤษฎีใหม่
  • 5. หลักการสาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง  ประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้ ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อื่น ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทา นั้นๆ อย่างรอบคอบ ๓. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะ เกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต  มี เงื่อนไข ของการตัดสินใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังนี้ ๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความ ระมัดระวังในการปฏิบัติ ๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
  • 6. เศรษฐกิจพอเพียงกับคณิตศาสตร์  แนวพระราชดาริในการดาเนินชีวิตแบบพอเพียง ๑. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยใน การใช้ชีวิต ๒. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ซื่อสัตย์สุจริต ๓. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้าแบบต่อสู้ กันอย่างรุนแรง ๔. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก ด้วยการ ขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้มีรายได้เพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมาย สาคัญ ๕. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว ประพฤติตนตามหลักศาสนา
  • 7. คณิตศาสตร์และทฤษฎีใหม่  ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมายถึง พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเก็บกักน้าเพื่อใช้เก็บกักน้าฝน ในฤดูฝน และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้าต่างๆ พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็นอาหาร ประจาวันสาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเอง ได้ พื้นทีส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ ่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจาวัน หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่าย พื้นทีส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และ ่ โรงเรือนอื่นๆ
  • 8. ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่ สอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกันดาเนินการในด้าน (๑) การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) - เกษตรกรจะต้องร่วมมือในการผลิต โดยเริ่ม ตั้งแต่ขั้นเตรียมดิน การหาพันธุ์พืช ปุ๋ย การ จัดหาน้า และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก (๒) การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจาหน่ายผลผลิต) - เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรียมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์สูงสุด เช่น การเตรียมลานตากข้าวร่วมกัน การจัดหายุ้งรวบรวมข้าว เตรียมหาเครื่องสีข้าว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ ได้ราคาดีและลดค่าใช้จายลงด้วย ่ (๓) การเป็นอยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ) - ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็นอยู่ที่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐานในการ ดารงชีวิต เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ น้าปลา เสื้อผ้า ที่พอเพียง (๔) สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้) - แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริการที่จาเป็น เช่น มีสถานีอนามัยเมื่อยามป่วยไข้ หรือ มีกองทุนไว้กู้ยืมเพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน (๕) การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) - ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่าเรียนให้แก่ เยาวชนของชมชนเอง (๖) สังคมและศาสนา - ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยว โดยกิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่วา่ ส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้นเป็นสาคัญ
  • 9.  ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม เมื่อดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกร หรือกลุ่มเกษตรกรก็ ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะได้รับ ประโยชน์รวมกัน กล่าวคือ ่ - เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา) - ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่า (ซื้อ ข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง) - เกษตรกรซื้อเครืองอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้อ ่ เป็นจานวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ง) - ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไป ดาเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดี
  • 10. การนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน  การประหยัด  การดาเนินชีวิตในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันนี้ ควรตัดทอนค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็นในทุก ด้าน รวมทั้งลดละความฟุ่มเฟือยในการดารงชีวิตอย่างจริงจัง  การประกอบอาชีพที่สุจริต  การทามาหากินด้วยการประกอบอาชีพต่าง ๆ จะต้องยึดหลักความซื่อสัตย์สุจริต และความถูกต้อง แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดารงชีวิตก็ตาม
  • 11.  การหารายได้เพิ่มพูน  การดาเนินชีวิตในปัจจุบันจะต้องไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ ยาก ต้องรู้จักขวนขวายใฝ่หาความรู้ ให้เกิดมีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงเป็น เป้าหมายสาคัญ  การไม่แก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกัน  การประกอบอาชีพด้านการค้าขายจะต้องลดละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์แบบต่อสู้ และแข่งขันกันอย่างรุนแรงเช่นในอดีต
  • 12.  การไม่กระทาชั่ว  การปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ต้องลดละสิ่งทีเป็นความชั่วต่างๆให้หมดสิ้นไปทั้งนี้ ่ เนื่องจากสังคมไทยที่ล่มสลายลงในครั้งนี้ เป็นเพราะยังมีบุคคลจานวนมิใช่น้อยที่ ดาเนินการโดยปราศจากความละอายต่อแผ่นดิน
  • 13. การปฏิบัติตนในชีวิตประจาวัน  ใช้เงินไม่เกินตัว ให้พอดีกับรายได้ที่มี  รู้จักช่วยเหลือผู้อื่น แบ่งปันสิ่งของให้ผู้อื่นบ้าง  มีความขยันหมั่นเพียร อดทน ซื่อสัตย์ สุจริต ไม่คดโกงใคร  สามารถพึ่งพาตนเองได้ ไม่ไปกู้หนี้ยืมสินใคร  พอใจในสิ่งที่ตัวเองมี  ไม่ควรประหยัดเกินไป ควรใช้ให้พอดี
  • 14. ที่มา  http://www.chaipat.or.th/chaipat/content/  http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&f ile=readknowledge&id=1575%C2%AD%1C%C2% AD  http://www.chaipat.or.th/chaipat/content/porpe ing/porpeing.html  http://www.fti.or.th/2008/thai/ftisufficiencyeco nomydetail.aspx?id=5
  • 15. สมาชิกกลุ่ม  ด.ช.ตะวัน เหลืองวันทา เลขที่ 3  ด.ช.วิธสรรค์ ิ พุฒลา เลขที่ 10  ด.ญ.กันตพิชญ์ สุภาพ เลขที่ 18  ด.ญ.ธวัลรัตน์ มีเมล์ เลขที่ 22  ด.ญ.ธัญวรัตม์ ปักษาจันทร์ เลขที่ 24  ด.ญ.เบญญทิพย์ ฤาชา เลขที่ 25  ด.ญ.ประภัสรา หน่อแดง เลขที่ 27  ด.ญ.วันทนีย์ ตรีวัฒนาวงศ์ เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/16