Start
Entdecken
Suche senden
Hochladen
Einloggen
Registrieren
Nächste SlideShare
รายงาน จ๊ะ
Wird geladen in ... 3
1
von
13
Top clipped slide
สมพร เหมทานนท์
18. Feb 2013
•
0 gefällt mir
0 gefällt mir
×
Sei der Erste, dem dies gefällt
Mehr anzeigen
•
267 Aufrufe
Aufrufe
×
Aufrufe insgesamt
0
Auf Slideshare
0
Aus Einbettungen
0
Anzahl der Einbettungen
0
Jetzt herunterladen
Downloaden Sie, um offline zu lesen
Melden
Bildung
Jiraprapa Noinoo
Folgen
ยังเรียนไม่จบจบแล้วบอกโอเค
Recomendados
รายงาน จ๊ะ
Jiraprapa Noinoo
379 Aufrufe
•
13 Folien
รายงานก้อย
Jiraprapa Noinoo
257 Aufrufe
•
13 Folien
รายงาน โอ
Jiraprapa Noinoo
326 Aufrufe
•
13 Folien
รายงานโจ
Jiraprapa Noinoo
361 Aufrufe
•
13 Folien
รายงาน พืด
Jiraprapa Noinoo
213 Aufrufe
•
13 Folien
รายงาน อาย
Jiraprapa Noinoo
305 Aufrufe
•
13 Folien
Más contenido relacionado
Presentaciones para ti
(13)
รายงานแพรว
Kamonwan Choophol
•
343 Aufrufe
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
Kamonchapat Boonkua
•
849 Aufrufe
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
Kamonchapat Boonkua
•
646 Aufrufe
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
Nukaem Ayoyo
•
382 Aufrufe
งานคอมฯ
Kannaree Jar
•
249 Aufrufe
จิรทีปต์+..
Sirisak Promtip
•
257 Aufrufe
จิตรดิลก
อภิมหึมา มหาแก็ปกังหันลม
•
323 Aufrufe
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ แกล้วกล้า
•
260 Aufrufe
อาชญากรรม นิว
ไตรภพ หนูเซ่ง
•
672 Aufrufe
คอมเปา
paochumnumset
•
87 Aufrufe
ตุก Pdf
Konsiput Promjun
•
157 Aufrufe
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
Tidatep Kunprabath
•
679 Aufrufe
นาย ศิริศักดิ์ พรหมทิพย์
Sirisak Promtip
•
317 Aufrufe
Similar a สมพร เหมทานนท์
(20)
รายงาน พืด
Jiraprapa Noinoo
•
292 Aufrufe
รายงานเมย์
Kanjana ZuZie NuNa
•
12.9K Aufrufe
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1
Kamonchapat Boonkua
•
429 Aufrufe
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
Tidatep Kunprabath
•
417 Aufrufe
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
Tidatep Kunprabath
•
188 Aufrufe
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
Tidatep Kunprabath
•
109 Aufrufe
คอมเปา
paotogether
•
308 Aufrufe
คอมเปา
dowsudarat
•
77 Aufrufe
งานคอมฯ
Kannaree Jar
•
233 Aufrufe
อาชญากรรม บาว
Mind Candle Ka
•
515 Aufrufe
อาชญากรรม ปอ
Hatairat Srisawat
•
338 Aufrufe
ตุก Pdf
Konsiput Promjun
•
260 Aufrufe
อาชญากรรม เบส
Mind Candle Ka
•
307 Aufrufe
ดาว
Hatairat Srisawat
•
928 Aufrufe
ดาว
Nu Daw Kunlee
•
72 Aufrufe
ดาว
Nu Daw Kunlee
•
67 Aufrufe
อาชญากรรม เอ๋
AY'z Felon
•
212 Aufrufe
อาชญากรรม เอ๋
AY'z Felon
•
187 Aufrufe
อาชญากรรม บอล
AY'z Felon
•
218 Aufrufe
คอมน องใหม
Nongniiz
•
110 Aufrufe
Más de Jiraprapa Noinoo
(10)
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
Jiraprapa Noinoo
•
12.3K Aufrufe
พลิกล็อกหัวใจ นายยากูซ่าสุด
Jiraprapa Noinoo
•
596 Aufrufe
นิยายเดียว
Jiraprapa Noinoo
•
329 Aufrufe
นิยายเดียว
Jiraprapa Noinoo
•
559 Aufrufe
งานโจ
Jiraprapa Noinoo
•
1.7K Aufrufe
Point นวนิยาย
Jiraprapa Noinoo
•
333 Aufrufe
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
Jiraprapa Noinoo
•
16.4K Aufrufe
จิตรปทา ฉันท์ 8
Jiraprapa Noinoo
•
324 Aufrufe
Point นวนิยาย
Jiraprapa Noinoo
•
210 Aufrufe
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์(ณัฐกิจ)
Jiraprapa Noinoo
•
2.1K Aufrufe
Último
(20)
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 5.pdf
PhanumatPH
•
12 Aufrufe
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 3.pdf
PhanumatPH
•
14 Aufrufe
โครงงานวิทย์(แพ ฟอร์มาลีน).ppt
Supat Buddee
•
8 Aufrufe
ประมวลจริยธรรม กระทรวงการอุดมศึกษาฯ.pdf
Postharvest Technology Innovation Center
•
28 Aufrufe
research 653.pdf
peter dontoom
•
17 Aufrufe
นิ่วในไต.pdf
ssuser49a477
•
7 Aufrufe
คลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdf
Bangkok University
•
5 Aufrufe
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 5.pdf
PhanumatPH
•
12 Aufrufe
Lat Lum Kaeo Mapping.pdf
Bangkok University
•
4 Aufrufe
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 4.pdf
PhanumatPH
•
8 Aufrufe
4conic_formula.pdf
SunisaTheswan
•
2 Aufrufe
How to play welcome to.pptx
RawichW
•
2 Aufrufe
เทคโนโลยี RFID (1).pptx
piyapongauekarn
•
15 Aufrufe
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 6.pdf
PhanumatPH
•
7 Aufrufe
ด้านการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ 1.pdf
PhanumatPH
•
13 Aufrufe
Water_Cycle_watcchakrnam.pdf
Kru Bio Hazad
•
5 Aufrufe
คุณเป็นใคร 3.docx
SunnyStrong
•
12 Aufrufe
การทำวิทยฐานะ.ppt
send2temp1
•
12 Aufrufe
Luận văn thạc sĩ toán học.
ssuser499fca
•
9 Aufrufe
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
Dr.Woravith Chansuvarn
•
42 Aufrufe
สมพร เหมทานนท์
รายงาน
เรื่ อง กฎหมายอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เสนอ อาจารย์จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทาโดย นายสมพร เหมทานนท์ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 9 โรงเรี ยนรัษฏานุประดิษฐ์อนุสรณ์ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2555
คานา
รายงานเล่มนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีที่มีเนื้อหา เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ ในทางที่ผิด คณะผูจดทาหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะให้ประโยชน์แก่ผที่สนใจศึกษาเป็ น ้ั ู้ อย่างมาก ถ้ามีขอผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่น้ ีดวย และจะนาไปปรับปรุ ง ้ ้ ในโอกาสต่อไป ผู้จดทำ ั นำยสมพร เหมทำนนท์
สารบัญ เรื่อง
หน้ า อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 1 อินเตอร์ เน็ตในทางที่ผิด 3 กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) 6 สภาพปัญหาในปัจจุบน ั 8
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ประเภทต่างๆ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Cyber-Crime)
เป็ นการกระทาที่ผิดกฎหมายโดยใช้ ่ วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลที่อยูบนระบบ ดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการกระทาที่ผิดกฎหมายใดๆ ซึ่ งอาศัยหรื อมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบ คอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่าย อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็ น อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยตรง ในการประชุมสหประชาชาติครั้งที่ 10 ว่าด้วยการป้ องกันอาชญากรรมและการ ปฏิบติต่อผูกระทาผิด (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of ั ้ Crime and the Treatment of Offenders) ซึ่ งจัดขึ้นที่กรุ งเวียนนา เมื่อวันที่ 10-17 เมษายน 2543 ได้มีการจาแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดย แบ่งเป็ น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสี ยหายแก่ ข้อมูลหรื อโปรแกรมคอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและภายในระบบหรื อเครื อข่ายโดยไม่ได้ รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอมพิวเตอร์ โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและ เผยแพร่ ขอมูล และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับ ้ ความนิยม ซึ่ งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผูบริ โภค นอกจากนี้ยงทา ้ ั หน้าที่เผยแพร่ ความรู้เกี่ยวกับขอบเขตและความซับซ้อนของปัญหา รวมถึงนโยบาย ปัจจุบนและความพยายามในการปัญหานี้ ั
อาชญากรรม 6 ประเภทดังกล่าวได้แก่ การเงิน
– อาชญากรรมที่ขดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทาธุรกรรม ั อี-คอมเมิร์ซ(หรื อพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์) การละเมิดลิขสิ ทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิ ทธิ์ ในปัจจุบนคอมพิวเตอร์ ส่วน ั บุคคลและอินเทอร์ เน็ตถูกใช้เป็ นสื่ อในการก่ออาชญากรรม แบบเก่า โดยการ โจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง การละเมิดลิขสิ ทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ อินเทอร์ เน็ตเพื่อจาหน่ายหรื อเผยแพร่ ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการคุมครองลิขสิ ทธิ์ ้ การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่ งสิ ทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ หรื อเครื อข่าย โดยไม่ได้รับอนุญาต และในบางกรณี อาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้ รับอนุญาต นอกจากนี้การเจาะระบบยังอาจรองรับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ใน รู ปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การก่อการร้าย ฯลฯ) การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ – ผลสื บเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อสร้างความหวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทัวไป โดยการกระทาที่เข้าข่าย ่ การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาระบบ คอมพิวเตอร์ เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคลหรื อทรัพย์สิน หรื ออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมาย เพื่อสร้างความหวาดกลัว ภาพอนาจารทางออนไลน์ – ตามข้อกาหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A การ ประมวลผลหรื อการเผยแพร่ ภาพอนาจารเด็กถือเป็ นการกระทาที่ผิดกฎหมาย และ
ตามข้อกาหนด 47 USC
223 การเผยแพร่ ภาพลามกอนาจารในรู ปแบบใดๆ แก่ เยาวชนถือเป็ นการกระทาที่ขดต่อกฎหมาย อินเทอร์ เน็ตเป็ นเพียงช่องทางใหม่ ั สาหรับอาชญากรรม แบบเก่า อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่ องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการ ควบคุมช่องทางการสื่ อสารที่ครอบคลุมทัวโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุน้ ีได้ก่อให้เกิด ่ การถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง ภายในโรงเรี ยน – ถึงแม้ว่าอินเทอร์ เน็ตจะเป็ นแหล่งทรัพยากรสาหรับการศึกษาและ สันทนาการ แต่เยาวชนจาเป็ นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่ องมืออันทรง พลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ โดยเป้ าหมายหลักของโครงการนี้คือ เพื่อกระตุนให้เด็กได้เรี ยนรู้เกี่ยวกับข้อกาหนดทางกฎหมาย สิ ทธิของตนเอง และวิธี ้ ที่เหมาะสมในการป้ องกันการใช้ อินเทอร์ เน็ตในทางที่ผด ิ เทคโนโลยีที่ทนสมัย แม้จะช่วยอานวยความสะดวกได้มากเพียงใดก็ตาม สิ่ งที่ตอง ั ้ ยอมรับความจริ งก็คือ เทคโนโลยีทุกอย่างมีจุดเด่น ข้อด้อยของตนทั้งสิ้ น ทั้งที่มาจาก ตัวเทคโนโลยีเอง และมาจากปัญหาอื่นๆ เช่น บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้าย ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เป็ นปัญหาหลักที่นบว่ายิ่งมีความรุ นแรง เพิ่ม ั มากขึ้น ประมาณกันว่ามีถึง 230% ในช่วงปี 2002 และ แหล่งที่เป็ นจุดโจมตีมากที่สุด ก็คือ อินเทอร์ เน็ต นับว่ารุ นแรงกว่าปัญหาไวรัสคอมพิวเตอร์ เสี ยด้วยซ้ า หน่วยงาน ทุกหน่วยงานที่นาไอทีมาใช้งาน จึงต้องตระหนักในปัญหานี้เป็ นอย่างยิ่ง จาเป็ นต้อง ลงทุนด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัย ระบบซอฟต์แวร์ ฮาร์ ดแวร์ ที่มีประสิ ทธิภาพ การวางแผน ติดตาม และประเมินผลที่ตองกระทาอย่าง ้ สม่าเสมอต่อเนื่อง
แต่ไม่ว่าจะมีการป้ องกันดีเพียงใด ปัญหาการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์
ก็มีอยูเ่ รื่ อยๆ ทั้งนี้ระบบการโจมตีที่พบบ่อยๆ ได้แก่ Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลกระทบต่อสังคมไอ ทีเป็ นอย่างยิง บุลากรในองค์กร หน่วยงานคุณไล่พนักงานออกจากงาน, สร้างความ ่ ั ไม่พึงพอใจให้กบพนักงาน นี่แหล่ะปัญหาของอาชญกรรมได้เช่นกัน Buffer overflow เป็ นรู ปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทาอันตรายให้กบระบบ ั ได้มากที่สุด โดยอาชญากรจะอาศัยช่องโหว่ของระบบปฏิบติการ และขีดจากัดของ ั ทรัพยากรระบบมาใช้ในการจู่โจม การส่งคาสังให้เครื่ องแม่ข่ายเป็ นปริ มาณมากๆ ่ ในเวลาเดียวกัน ซึ่ งส่งผลให้เครื่ องไม่สามารถรันงานได้ตามปกติ หน่วยความจาไม่ เพียงพอ จนกระทังเกิดการแฮงค์ของระบบ เช่นการสร้างฟอร์ มรับส่งเมล์ที่ไม่ได้ ่ ป้ องกัน ผูไม่ประสงค์อาจจะใช้ฟอร์ มนั้นในการส่งข้อมูลกระหน่าระบบได้ ้ Backdoors นักพัฒนาเกือบทุกราย มักสร้างระบบ Backdoors เพื่อช่วยอานวย ความสะดวกในการทางาน ซึ่ งหากอาชญากรรู้เท่าทัน ก็สามารถใช้ประโยชน์จาก Backdoors นั้นได้เช่นกัน CGI Script ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นิยมมากในการพัฒนาเว็บเซอร์ วิส มักเป็ น ช่องโหว่รุนแรงอีกทางหนึ่งได้เช่นกัน Hidden HTML การสร้างฟอร์ มด้วยภาษา HTML และสร้างฟิ ลด์เก็บรหัส ั แบบ Hidden ย่อมเป็ นช่องทางที่อานวยความสะดวกให้กบอาชญากรได้เป็ นอย่างดี โดยการเปิ ดดูรหัสคาสัง (Source Code) ก็สามารถตรวจสอบและนามาใช้งานได้ ่ ทันที
Failing to Update
การประกาศจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ เพื่อให้ผใช้นาไป ู้ ปรับปรุ งเป็ นทางหนึ่งที่อาชญากร นาไปจู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์ น้ นๆ ได้เช่นกัน ั เพราะกว่าที่เจ้าของเว็บไซต์ หรื อระบบ จะทาการปรับปรุ ง (Updated) ซอตฟ์ แวร์ ที่มี ช่องโหว่น้ น ก็สายเกินไปเสี ยแล้ว ั Illegal Browsing ธุรกรรมทางอินเทอร์ เน็ต ย่อมหนีไม่พนการส่งค่าผ่านทาง ้ บราวเซอร์ แม้กระทังรหัสผ่านต่างๆ ซึ่ งบราวเซอร์ บางรุ่ น หรื อรุ่ นเก่าๆ ย่อมไม่มี ่ ความสามารถในการเข้ารหัส หรื อป้ องกันการเรี ยกดูขอมูล นี่ก็เป็ นอีกจุดอ่อนของ ้ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้เช่นกัน Malicious scripts ก็เขียนโปรแกรมไว้ในเว็บไซต์ แล้วผูใช้เรี ยกเว็บไซต์ดูบน ้ เครื่ องของตน มันใจหรื อว่าไม่เจอปัญหา อาชญากรอาจจะเขียนโปรแกรมแผงใน ่ เอกสารเว็บ เมื่อถูกเรี ยก โปรแกรมนันจะถูกดึงไปประมวลผลฝั่งไคลน์เอ็นต์ และ ่ ทางานตามที่กาหนดไว้อย่างง่ายดาย โดยเราเองไม่รู้ว่าเรานันแหล่ะเป็ นผูสงรัน ่ ้ ั่ โปรแกรมนั้นด้วยตนเอง น่ากลัวเสี ยจริ งๆๆ Poison cookies ขนมหวานอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บข้อมูลต่างๆ ตามแต่จะกาหนด จะถูกเรี ยกทางานทันทีเมื่อมีการเรี ยกดูเว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้ และไม่ยากอีก เช่นกันที่จะเขียนโปรแกรมแฝงอีกชิ้น ให้ส่งคุกกี้ที่บนทึกข้อมูลต่างๆ ของผูใช้ ั ้ ส่งกลับไปยังอาชญากร ่ ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ายสาหรับหน่วยงานที่ใช้ไอทีต้งแต่เริ่ มแรก และดารงอยูอย่าง ั อมตะตลอดกาล ในปี 2001 พบว่าไวรัส Nimda ได้สร้างความเสี ยหายได้สูงสุด เป็ น
มูลค่าถึง 25,400 ล้าบบาท
ในทัวโลก ตามด้วย Code Red, Sircam, LoveBug, ่ Melissa ตามลาดับที่ไม่หย่อนกว่ากัน กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) หนึ่งที่มีความล่าช้ามากในบรรดากฎหมายสารสนเทศทั้ง 6 ฉบับ ความล่าช้านั้นก็มา จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่ องที่จะต้องดูตวอย่างกฎหมายจากหลายๆประเทศที่ ั บังคับใช้ไปก่อนแล้ว เพื่อจะมาปรับเข้ากับบริ บทของประเทศไทย แน่นอนครับว่า การคัดลอกมาทั้งหมดโดยไม่คานึงถึงความแตกต่าง สภาพวัฒนธรรม ความ เจริ ญก้าวหน้าที่ไม่เท่ากันแล้ว ย่อมจะเกิดปัญหาเมื่อนามาใช้อย่างแน่นอน อีกทั้งเรื่ องนี้ยงเป็ นเรื่ องใหม่ในสังคมไทย และในกระบวนการยุติธรรมของบ้านเรา ั ด้วย กฎหมายบางเรื่ องต้องใช้เวลานานถึง 5 ปี กว่าจะออกมาใช้บงคับได้ บางเรื่ องใช้ ั เวลาถึง 10 ปี เลยทีเดียวครับ ปัญหาความล่าช้าเป็ นอุปสรรคที่สาคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนาประเทศของเรา ทั้งนี้ เกิดจากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็ นระบบงานราชการที่ยงยาก ซับซ้อน ต้องผ่านหลาย ุ่ หน่วยงาน หลายขั้นตอน หรื อแม้แต่ระบบการพิจารณาในสภา ที่มีการเปลี่ยนรัฐบาล กันบ่อยๆจึงทาให้ขาดความต่อเนื่อง และยังมีสาเหตุอื่นอีกมากที่ทาให้กฎหมายแต่ละ ฉบับนั้นออกมาใช้บงคับช้า ั ที่มาของกฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ทุกวันนี้คงปฏิเสธไม่ได้ว่าคอมพิวเตอร์ เข้าไปมีบทบาทในชีวิตมนุษย์มากขึ้นทุกวัน โดยเฉพาะในยุคแห่งข้อมูลข่าวสารอย่างในปัจจุบนนี้ จะเห็นได้ว่ามีพฒนาการ ั ั เทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว รวมทั้งพัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย แต่ถึงแม้ว่าพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นจะถูกนามาประยุกต์ใช้และ
ก่อให้เกิดประโยชน์มากมายก็ตาม หากนาไปใช้ในทางที่ไม่ดีไม่ชอบแล้วก็อาจ ก่อให้เกิดความเสี ยหายอย่างร้ายแรงทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมได้ ดังนั้นจึงเกิดรู
ปแบบใหม่ของอาชญากรรมที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ เป็ น เครื่ องมือในการกระทาผิดขึ้น จึงจาเป็ นต้องมีการพัฒนา กฎหมายอาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) ขึ้น ในบางประเทศอาจเรี ยกว่า กฎหมายเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ ในทางมิชอบ (Computer Misuse Law) หรื อในบางประเทศอาจต้องมีการปรับปรุ งแก้ไขประมวล กฎหมายอาญาเพื่อให้รองรับกับความผิดในรู ปแบบใหม่ๆได้ ด้วยการกาหนดฐาน ความผิดและบทลงโทษสาหรับการก่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ข้ ึนเพื่อให้เหมาะสม และมีประสิ ทธิภาพ สามารถเอาผิดกับผูกระทาความผิดได ้ ้้ในต่างประเทศนั้น มีลกษณะการบัญญัติกฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 2 ั รู ปแบบ คือ การบัญญัติในลักษณะแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา เช่น ประเทศเยอรมนี แคนาดา อิตาลี และสวิสเซอร์ แลนด์ ส่วนอีกรู ปแบบหนึ่งคือ การ บัญญัติเป็ นกฎหมายเฉพาะ เช่น ประเทศอังกฤษ สิ งคโปร์ มาเลเซี ย และ สหรัฐอเมริ กา สาหรับประเทศไทยนั้น เลือกใช้ในแบบที่สองคือบัญญัติเป็ นกฎหมายเฉพาะ โดยมี ชื่อว่า พระราชบัญญัติอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ….(ประกาศใช้ปีไหน ก็ใส่ พ.ศ. เข้าไปแทนจุดครับ-ผูเ้ ขียน) จะเห็นได้ว่าแม้รูปแบบกฎหมายของแต่ละประเทศอาจจะแตกต่างกัน แต่การกาหนด ฐานความผิดที่เป็ นหลักใหญ่น้ นมักจะคล้ายคลึงกัน ทั้งนี้ โดยมากแล้วต่างก็คานึงถึง ั ลักษณะของการใช้คอมพิวเตอร์ ในการกระทาความผิดเป็ นสาคัญ กฎหมายที่ออกมา จึงมีลกษณะที่ใกล้เคียงกัน ั
สภาพปัญหาในปัจจุบัน ปัญหาข้อกฎหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คือ หลักของกฎหมายอาญาที่ระบุ ว่า
ไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย (Nulla poena sinelege) และมุ่งคุมครองวัตถุที่มีรูปร่ าง ้ ่ เท่านั้น แต่ในยุคไอทีน้ น ข้อมูลข่าวสารเป็ นวัตถุที่ไม่มีรูปร่ าง เอกสารไม่ได้อยูใน ั ่ แผ่นกระดาษอีกต่อไป ซึ่ งกฎหมายที่มีอยูไม่อาจขยายการคุมครองไปถึงได้ ้ ตัวอย่างของการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การโจรกรรมเงินในบัญชี ลูกค้าของธนาคาร การโจรกรรมความลับของบริ ษทต่างๆที่เก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ ั การปล่อยไวรัสเข้าไปในคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ ในการปลอมแปลง เอกสารต่างๆ รวมไปถึงการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการก่อวินาศกรรมด้วย รู ปแบบการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบนทวีความซับซ้อนและรุ นแรง ั มากขึ้นเรื่ อยๆ ทาให้เจ้าหน้าที่ตารวจผูทาหน้าที่สืบสวนทางานได้อย่างยากลาบาก ้ ่ ั ทั้งยังต้องอ้างอิงอยูกบกฎหมายอาญาแบบเดิมซึ่ งยากที่จะเอาตัวผูกระทาความผิดมา ้ ลงโทษ นักกฎหมายจึงต้องเปลี่ยนแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่ องนี้โดยสิ้ นเชิง โดยเฉพาะในเรื่ อง ทรัพย์ที่ไม่มีรูปร่ าง ซึ่ งเป็ นทรัพย์สินอย่างหนึ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิ ชย์ ตัวอย่างเช่น การขโมยโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่ งไม่มีรูปร่ าง ไม่ สามารถจับต้องและถือเอาได้ แต่ก็ถือเป็ นทรัพย์และยอมรับกันว่ามีมูลค่ามหาศาล ปัญหาอีกประการหนึ่งเกี่ยวกับกฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือเรื่ อง พยานหลักฐาน เพราะพยานหลักฐานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ น้ นสามารถเปลี่ยนแปลง ั ได้ตลอดเวลาและกระทาได้ง่าย แต่ยากต่อการสื บหา รวมทั้งยังสูญหายได้ง่ายอีกด้วย ่ เช่น ข้อมูลที่ถูกบันทึกอยูในสื่ อบันทึกข้อมูลถาวรของเครื่ อง (Hard Disk) นั้น หาก ระหว่างการเคลื่อนย้ายได้รับความกระทบกระเทือนหรื อเกิดการกระแทก หรื อ
เคลื่อนย้ายผ่านจุดที่เป็ นสนามแม่เหล็ก ข้อมูลที่บนทึกใน
Hard Disk ดังกล่าวก็อาจ ั สูญหายได้ นอกจากนี้เรื่ องอานาจในการออกหมายค้นก็เป็ นสิ่ งที่ตองพิจารณาเช่นกัน เพราะการ ้ ค้นหาพยานหลักฐานใน Hard Disk นั้นต้องกาหนดให้ศาลมีอานาจบังคับให้ผตอง ู้ ้ สงสัยบอกรหัสผ่านแก่เจ้าหน้าที่ที่ทาการสื บสวนเพื่อให้ทาการค้นหาหลักฐานใน Hard Disk ได้ดวย ้ นอกจากนั้น ปัญหาเรื่ องขอบเขตพื้นที่ก็เป็ นเรื่ องที่มีความสาคัญ เพราะผูกระทา ้ ่ ความผิดอาจกระทาจากที่อื่นๆที่ไม่ใช่ประเทศไทย ซึ่ งอยูนอกเขตอานาจของศาล ไทย ดังนั้นกฎหมายควรบัญญัติให้ชดเจนด้วยว่าศาลมีเขตอานาจที่จะลงโทษ ั ผูกระทาผิดได้ถึงไหนเพียงไร และถ้ากระทาความผิดในต่างประเทศจะถือเป็ น ้ ความผิดในประเทศไทยด้วยหรื อไม ส่วนประเด็นที่สาคัญอีกประการหนึ่งที่ตองพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบก็คือ ้ ประเด็นเรื่ องอายุของผูกระทาความผิด เพราะผูกระทาความผิดทางอาชญากรรม ้ ้ คอมพิวเตอร์ ส่วนมาก โดยเฉพาะ Hacker และ Cracker นั้น มักจะเป็ นเด็กและ เยาวชน และอาจกระทาความผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์หรื อเพราะความคึกคะนองหรื อ ความซุกซนก็เป็ นได้
อ้ างอิง http://www.microsoft.com/thailand/piracy/cybercrime.aspx http://www.lawyerthai.com/articles/it/028.php