SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและ 
การเกิดปฎิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงของสาร หมายถึงการที่สารมีสมบัติต่างไปจากเดิม อาจเกิดขึ้นเองตาม 
ธรรมชาติหรือเกิดจากการกระทา อย่างใดอย่างหนึ่ง 
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 
1. การเปลี่ยนสถานะของสาร เช่น น้า แข็งเปลี่ยนมาเป็นของเหลว 
2. การละลายของสาร เช่น น้า ตาลละลายในน้า เป็นน้า เชื่อม 
3. การเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น เหล็กโดนความรอ้นทา ปฎิกิริยากับอากาศ 
ทา ใหเ้กิดสนิม 
การเปลี่ยนแปลงของสาร
ระบบกับการเปลี่ยนแปลง 
ระบบ (System) คือ สิ่งที่อยู่ภายในขอบเขตที่ตอ้งการศึกษา 
สิ่งแวดล้อม คือ สิ่งต่างที่อยู่นอกเขตที่ตอ้งการศึกษา ตัวอย่าง เช่นการศึกษา 
การละลายของน้า ตาลทรายในน้า
การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ 
การเปลี่ยนแปลงประเภทคายความรอ้นหรือคายพลังงาน 
การเปลี่ยนแปลงที่ระบบคายพลังงานใหสิ้่งแวดล้อม เนื่องจากระบบ 
มีอุณหภูมิสูงกว่าสิ่งแวดล้อม จึงถ่ายพลังงานจากระบบสู่สิ่งแวดล้อม
จากรูป ระบบเป็นอุณหภูมิสูงขึ้นจาก 30 องสาเซลเซียสเป็น 45 องศาเซลเซียส 
จึงเกิดการถ่ายเทพลังงานให้กับเทอร์มอมิเตอร์และภาชนะซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อม 
เพื่อทา ให้อุณหภูมิของระบบลดลงจนอุณหภูมิของระบบเท่ากับอุณหภูมิของ 
สิ่งแวดล้อม
การเปลี่ย 
นแปลงประเภทดูดความรอ้นหรือ 
ประเภทดูดพลงังาน 
คือ การเปลี่ยนแปลงที่ระบบดูดพลังงานจากสิ่งแวดล้อม 
เนื่องจากระบบมีอุณหภูมิต่า กว่า 
การหลอมเหลว หมายถึง 
การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร 
จากของแข็งเป็นของเหลว
การเปลี่ยนแปลงแบบดูดความรอ้นหรือดูดพลังงาน 
ระบบมีอุณหภมูิต่า 
ดูดความร้อน 
สิ่งแวดล้อมมีอุณหภูมิสูง
น้ำแข็ง + ควำมร้อน น้ำ 
ระบบก่อนกำรเปลี่ยนแปลง ระบบหลังกำรเปลี่ยนแปลง 
เทอร์มอมิเตอร์อ่ำนอุณหภูมิ 
ได้ 0 °C 
เทอร์มอมิเตอร์อ่ำนอุณภูมิได้ 25 °C 
น้ำแข็ง (0 °C) 
น้ำอุณหภูมิห้อง 
น้า แข็ง ซึ่งจะดูดพลังงานจากสิ่งแวดล้อม ทา ใหน้้า แข็งหลอมเหลวเป็นน้า 
และมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนเท่ากับอุณหภูมิหอ้งโดยมีความสัมพันธ์ระหว่างระบบกับพลังงาน
ประเภทของระบบ 
แบ่งได้ 2 ประเภท คือ ระบบเปิด และระปิด 
1. ระบบเปิด หมายถึง ระบบที่มีการถ่ายเทมวลให้กับสิ่งแวดล้อม 
เช่น มวลของสารก่อนปฎิกิริยา ไม่เท่ากับ มวลสารหลังปฎิกิริยา
2. ระบบปิด หมายถึง ระบบที่ไม่มีการถ่ายเทมวลให้กับสิ่งแวดล้อม 
มวลสารก่อนทา ปฎิกิริยา เท่ากับ มวลสารหลังทา ปฎิกิริยา
ปฎิกิริยาเคมี คือ การเปลี่ยนแปลงที่ทา ให้เกิดสารใหม่ โดยการเกิดจะ 
มีองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีแตกต่างจากเดิม
การดุลสมการ
โลหะหรืออโลหะ + O2 ออกไซด์(Oxide) 
ธาตุโลหะหรืออโลหะเมื่อสัมผัสกับอากาศหรือเมื่อถูกความร้อนจะทา ปฏิกิริยากับแก๊ส 
ออกซิเจนในอากาศไดผ้ลิตภัณฑ์เป็นสารประกอบออกไซต์ 
C (s) + O2 (g) CO2 (g) 
สีของอะลูมิเนียม 
Al (s) + O2 (g) Al2O3 
4 3 2 
วาว ขุ่นมัว
โลหะ + กรด H2 (g) 
โลหะที่ใชเ้ป็นเครื่องมือและเครื่องใชเ้ช่น ตะปูเหล็ก มีด จอบ หลังคาสังกะสี เมื่อถูกกรดจะ 
เกิดการผุกร่อนไดแ้ก๊สไฮโดรเจน 
ชอ้นสังกะสี(Zn)เมื่อจุ่มลงไปในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก จะไดส้ารละลายซิงค์ 
คลอไรด์(ZnCl2 )และแก๊สไฮโดรเจน(H2 )เขียนสมการไดดั้งนี้ 
Zn (s) + HCL(aq) ZnCl2 (aq)+H2 (g) 
Zn (s) + 2 HCL (aq) ZnCl2 (aq)+H2 (g)
คาร์บอเนต+กรด H2O ( l) + CO2 (g) เช่น หินปูนหรือหินอ่อน 
สารประกอบคาร์บอเนตเมื่อใส่ลงในกรดซัลฟิวริกจะได้แคลเซียมซัลเฟต น้า และ 
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 
CaCO3 (s) + H2SO4 (aq) CaSO4 (aq) + H2O ( l) + CO2 (g) 
แคลเซียมคาร์บอเนต +กรดซัลฟิวริก แคลเซียมซัลเฟต + น้า + คาร์บอนไดออกไซด์
ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส เมื่ 
อทา ปฎิกิริยาได้เกลือกบันา้ 
กรด + เบส เกลือ + น้า 
เช่น HCl (aq) + NaOH (aq) NaCl (aq) + H2 O (l) 
กรดไฮโดรคลอริก + โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมคลอไรด์+ น้า
สารละลายกรดไฮโดรคลอริก(HCl)ทา ปฏิกิริยากับน้า ปูนใส(Ca(OH) 2 )ได้เกลือ 
แคลเซียมคลอไรด์(CaCl 2 )และน้า ดังนี้ 
2 HCl (aq) + (Ca(OH) 2 ) (aq) CaCl 2(s) + 2 H2 O (l)
ประโยชน์จากปฎิกิริยาเคมี 
1. ปฎิกิริยาการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง ใหพ้ลังงานความรอ้น เพื่อใชท้า งานของเครื่องยนต์ 
ต่างๆ 
2. การสันดาปสารอาหารในร่างกายจากกระบวนการหายใจ ใหพ้ลังงานในการทา กิจกรรม 
ต่างๆ 
3. ปฎิกิริยาเคมีทา ใหเ้กิดหินงอกและหินย้อย ทา ใหเ้ศรษฐกิจของชุมชนดีข้นึ 
4. ปฎิกิริยาเคมีในการผลิตสารที่ตอ้งการนา มาใชป้ระโยชน์ เช่น การหมักน้า ตาลและแป้ง 
ใหไ้ดแ้อลกฮอล์ 
5. การปรับปรุงสภาพความเป็นกรดของดิน โดยใชปู้นขาว 
6. การลดความเป็นกรดในกระเพาะอาหาร กินยาลดกรดมีส่วนผสมของแมกนีเซียม 
ออกไซด์ หรือ เกลือแคลเซียมคาร์บอเนต
ผลกระทบที่เกิดจากปฎิกิริยาเคมี 
1. เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก เกิดจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ คลอโรฟลูออโรคาร์บอน 
และมีเทน แก๊สส่วนใหญ่ที่ทา ใหเ้กิดปรากฎการณ์เรือนกระจกคือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เกิดจาก 
1. โรงงานอุตสาหกรรม 
2. การเผาเชื้อเพลิงจากยานพาหนะ 
3. การตัดไม้ทา ลายป่า 
แนวทางป้องกัน 
1. ควบคุมเครื่องยนต์ในยานพาหนะใหดี้ 
2. ไม่ตัดไม้ทา ลายป่า 
3. ปฎิบัตติามกฎเกี่ยวกับเรื่องควบคุมควนัไอเสียจากโรงงาน
2. โอโซนถูกทา ลาย บรรยากาศของโลกรอ้นข้นึ เกิดจากแก๊สคลอโรฟลูออโรคาร์บอน 
หรอื CFC ทา ลายทา ใหเ้กิดรูโหว่ของชนั้บรรยากาศ ทา ใหแ้สงอัลตราไวโอเลต ส่องมาก 
ยังโลกมากเกิน 
3. ฝนกรด เกิดจากน้า ฝนในธรรมชาตเิป็นตัวละลายแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) 
และแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ในอากาศเกิดเป็นสารละลายกรด 
4. อันตรายจากการใชธ้าตุกัมมันตรังสี เกิดจากการรั่วไหลจากกิจกรรมต่างๆ เช่น 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทางการแพทย์ ทางอุตสาหกรรม ทางการเกษตร
การใช้สารเคมีที่ถูกตอ้งและปลอดภัย 
1. ผู้ใชค้วรมีความรูเ้กี่ยวกับสมบัติของสารที่ใช้ 
2. ก่อนใชส้ารตอ้งอ่านฉลากก่อน 
3. ไม่ใชส้ารมากเกินไปและไม่ทิ้งลงในที่สารธารณะ 
4. รูจั้กสัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย 
5. ถ้ามีผู้กลืนสารพิษประเภทยาฆ่าแลง ใหดื้่มนมสดหรือไข่ขาวเพื่อใหเ้กิดการ 
ตกตะกอนของสารพิษแล้วอาเจียน 
6. ถ้าถูกสารเคมีใหรี้บล้างน้า สะอาดทันที 
7. ไม่ควรกา จัดขยะประเภทพลาสติกโดยการเผา เนื่องจากเกิดควนัที่เป็นพิษ
สัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
ความชื้น
ความชื้นความชื้น
ความชื้นdnavaroj
 
การตากผ้า (Clothes drying)
การตากผ้า (Clothes drying)การตากผ้า (Clothes drying)
การตากผ้า (Clothes drying)Beerza Kub
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมmedfai
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์Mod DW
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 

What's hot (20)

ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
ความชื้น
ความชื้นความชื้น
ความชื้น
 
การตากผ้า (Clothes drying)
การตากผ้า (Clothes drying)การตากผ้า (Clothes drying)
การตากผ้า (Clothes drying)
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 

Viewers also liked

สารประกอบ
สารประกอบสารประกอบ
สารประกอบJanejira Meezong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร Janejira Meezong
 
ระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตJanejira Meezong
 
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงJanejira Meezong
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายJanejira Meezong
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีJanejira Meezong
 
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ ดีโด้ ดีโด้
 
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงJanejira Meezong
 
ม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำ
ม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำ
ม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำJanejira Meezong
 
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2Janejira Meezong
 

Viewers also liked (11)

สารประกอบ
สารประกอบสารประกอบ
สารประกอบ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อาหารและสารอาหาร
 
ระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิตระบบหมุนเวียนโลหิต
ระบบหมุนเวียนโลหิต
 
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้ การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
การเปรียบเทียบความเข้มข้นของวิตามินซีในผลไม้
 
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
 
ม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำ
ม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำ
ม.2/1 วิตามิน แร่ธาตุ น้ำ
 
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
 

Similar to เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2

บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือnn ning
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบชัยยันต์ ไม้กลาง
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 

Similar to เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2 (15)

บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
 
020 gas liquid-solid-3
020 gas liquid-solid-3020 gas liquid-solid-3
020 gas liquid-solid-3
 
กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือ
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
แข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊สแข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊ส
 
กรด เบส 6
กรด เบส 6กรด เบส 6
กรด เบส 6
 
Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]Ppt [compatibility mode]
Ppt [compatibility mode]
 

เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2

  • 2. การเปลี่ยนแปลงของสาร หมายถึงการที่สารมีสมบัติต่างไปจากเดิม อาจเกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติหรือเกิดจากการกระทา อย่างใดอย่างหนึ่ง แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. การเปลี่ยนสถานะของสาร เช่น น้า แข็งเปลี่ยนมาเป็นของเหลว 2. การละลายของสาร เช่น น้า ตาลละลายในน้า เป็นน้า เชื่อม 3. การเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น เหล็กโดนความรอ้นทา ปฎิกิริยากับอากาศ ทา ใหเ้กิดสนิม การเปลี่ยนแปลงของสาร
  • 3. ระบบกับการเปลี่ยนแปลง ระบบ (System) คือ สิ่งที่อยู่ภายในขอบเขตที่ตอ้งการศึกษา สิ่งแวดล้อม คือ สิ่งต่างที่อยู่นอกเขตที่ตอ้งการศึกษา ตัวอย่าง เช่นการศึกษา การละลายของน้า ตาลทรายในน้า
  • 5. จากรูป ระบบเป็นอุณหภูมิสูงขึ้นจาก 30 องสาเซลเซียสเป็น 45 องศาเซลเซียส จึงเกิดการถ่ายเทพลังงานให้กับเทอร์มอมิเตอร์และภาชนะซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อม เพื่อทา ให้อุณหภูมิของระบบลดลงจนอุณหภูมิของระบบเท่ากับอุณหภูมิของ สิ่งแวดล้อม
  • 6. การเปลี่ย นแปลงประเภทดูดความรอ้นหรือ ประเภทดูดพลงังาน คือ การเปลี่ยนแปลงที่ระบบดูดพลังงานจากสิ่งแวดล้อม เนื่องจากระบบมีอุณหภูมิต่า กว่า การหลอมเหลว หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร จากของแข็งเป็นของเหลว
  • 8. น้ำแข็ง + ควำมร้อน น้ำ ระบบก่อนกำรเปลี่ยนแปลง ระบบหลังกำรเปลี่ยนแปลง เทอร์มอมิเตอร์อ่ำนอุณหภูมิ ได้ 0 °C เทอร์มอมิเตอร์อ่ำนอุณภูมิได้ 25 °C น้ำแข็ง (0 °C) น้ำอุณหภูมิห้อง น้า แข็ง ซึ่งจะดูดพลังงานจากสิ่งแวดล้อม ทา ใหน้้า แข็งหลอมเหลวเป็นน้า และมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนเท่ากับอุณหภูมิหอ้งโดยมีความสัมพันธ์ระหว่างระบบกับพลังงาน
  • 9. ประเภทของระบบ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ ระบบเปิด และระปิด 1. ระบบเปิด หมายถึง ระบบที่มีการถ่ายเทมวลให้กับสิ่งแวดล้อม เช่น มวลของสารก่อนปฎิกิริยา ไม่เท่ากับ มวลสารหลังปฎิกิริยา
  • 10. 2. ระบบปิด หมายถึง ระบบที่ไม่มีการถ่ายเทมวลให้กับสิ่งแวดล้อม มวลสารก่อนทา ปฎิกิริยา เท่ากับ มวลสารหลังทา ปฎิกิริยา
  • 11. ปฎิกิริยาเคมี คือ การเปลี่ยนแปลงที่ทา ให้เกิดสารใหม่ โดยการเกิดจะ มีองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีแตกต่างจากเดิม
  • 13. โลหะหรืออโลหะ + O2 ออกไซด์(Oxide) ธาตุโลหะหรืออโลหะเมื่อสัมผัสกับอากาศหรือเมื่อถูกความร้อนจะทา ปฏิกิริยากับแก๊ส ออกซิเจนในอากาศไดผ้ลิตภัณฑ์เป็นสารประกอบออกไซต์ C (s) + O2 (g) CO2 (g) สีของอะลูมิเนียม Al (s) + O2 (g) Al2O3 4 3 2 วาว ขุ่นมัว
  • 14. โลหะ + กรด H2 (g) โลหะที่ใชเ้ป็นเครื่องมือและเครื่องใชเ้ช่น ตะปูเหล็ก มีด จอบ หลังคาสังกะสี เมื่อถูกกรดจะ เกิดการผุกร่อนไดแ้ก๊สไฮโดรเจน ชอ้นสังกะสี(Zn)เมื่อจุ่มลงไปในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก จะไดส้ารละลายซิงค์ คลอไรด์(ZnCl2 )และแก๊สไฮโดรเจน(H2 )เขียนสมการไดดั้งนี้ Zn (s) + HCL(aq) ZnCl2 (aq)+H2 (g) Zn (s) + 2 HCL (aq) ZnCl2 (aq)+H2 (g)
  • 15. คาร์บอเนต+กรด H2O ( l) + CO2 (g) เช่น หินปูนหรือหินอ่อน สารประกอบคาร์บอเนตเมื่อใส่ลงในกรดซัลฟิวริกจะได้แคลเซียมซัลเฟต น้า และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ CaCO3 (s) + H2SO4 (aq) CaSO4 (aq) + H2O ( l) + CO2 (g) แคลเซียมคาร์บอเนต +กรดซัลฟิวริก แคลเซียมซัลเฟต + น้า + คาร์บอนไดออกไซด์
  • 16. ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส เมื่ อทา ปฎิกิริยาได้เกลือกบันา้ กรด + เบส เกลือ + น้า เช่น HCl (aq) + NaOH (aq) NaCl (aq) + H2 O (l) กรดไฮโดรคลอริก + โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมคลอไรด์+ น้า
  • 17. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก(HCl)ทา ปฏิกิริยากับน้า ปูนใส(Ca(OH) 2 )ได้เกลือ แคลเซียมคลอไรด์(CaCl 2 )และน้า ดังนี้ 2 HCl (aq) + (Ca(OH) 2 ) (aq) CaCl 2(s) + 2 H2 O (l)
  • 18. ประโยชน์จากปฎิกิริยาเคมี 1. ปฎิกิริยาการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง ใหพ้ลังงานความรอ้น เพื่อใชท้า งานของเครื่องยนต์ ต่างๆ 2. การสันดาปสารอาหารในร่างกายจากกระบวนการหายใจ ใหพ้ลังงานในการทา กิจกรรม ต่างๆ 3. ปฎิกิริยาเคมีทา ใหเ้กิดหินงอกและหินย้อย ทา ใหเ้ศรษฐกิจของชุมชนดีข้นึ 4. ปฎิกิริยาเคมีในการผลิตสารที่ตอ้งการนา มาใชป้ระโยชน์ เช่น การหมักน้า ตาลและแป้ง ใหไ้ดแ้อลกฮอล์ 5. การปรับปรุงสภาพความเป็นกรดของดิน โดยใชปู้นขาว 6. การลดความเป็นกรดในกระเพาะอาหาร กินยาลดกรดมีส่วนผสมของแมกนีเซียม ออกไซด์ หรือ เกลือแคลเซียมคาร์บอเนต
  • 19. ผลกระทบที่เกิดจากปฎิกิริยาเคมี 1. เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก เกิดจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ คลอโรฟลูออโรคาร์บอน และมีเทน แก๊สส่วนใหญ่ที่ทา ใหเ้กิดปรากฎการณ์เรือนกระจกคือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เกิดจาก 1. โรงงานอุตสาหกรรม 2. การเผาเชื้อเพลิงจากยานพาหนะ 3. การตัดไม้ทา ลายป่า แนวทางป้องกัน 1. ควบคุมเครื่องยนต์ในยานพาหนะใหดี้ 2. ไม่ตัดไม้ทา ลายป่า 3. ปฎิบัตติามกฎเกี่ยวกับเรื่องควบคุมควนัไอเสียจากโรงงาน
  • 20. 2. โอโซนถูกทา ลาย บรรยากาศของโลกรอ้นข้นึ เกิดจากแก๊สคลอโรฟลูออโรคาร์บอน หรอื CFC ทา ลายทา ใหเ้กิดรูโหว่ของชนั้บรรยากาศ ทา ใหแ้สงอัลตราไวโอเลต ส่องมาก ยังโลกมากเกิน 3. ฝนกรด เกิดจากน้า ฝนในธรรมชาตเิป็นตัวละลายแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ในอากาศเกิดเป็นสารละลายกรด 4. อันตรายจากการใชธ้าตุกัมมันตรังสี เกิดจากการรั่วไหลจากกิจกรรมต่างๆ เช่น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทางการแพทย์ ทางอุตสาหกรรม ทางการเกษตร
  • 21. การใช้สารเคมีที่ถูกตอ้งและปลอดภัย 1. ผู้ใชค้วรมีความรูเ้กี่ยวกับสมบัติของสารที่ใช้ 2. ก่อนใชส้ารตอ้งอ่านฉลากก่อน 3. ไม่ใชส้ารมากเกินไปและไม่ทิ้งลงในที่สารธารณะ 4. รูจั้กสัญลักษณ์เกี่ยวกับสารที่เป็นอันตราย 5. ถ้ามีผู้กลืนสารพิษประเภทยาฆ่าแลง ใหดื้่มนมสดหรือไข่ขาวเพื่อใหเ้กิดการ ตกตะกอนของสารพิษแล้วอาเจียน 6. ถ้าถูกสารเคมีใหรี้บล้างน้า สะอาดทันที 7. ไม่ควรกา จัดขยะประเภทพลาสติกโดยการเผา เนื่องจากเกิดควนัที่เป็นพิษ