Más contenido relacionado
Similar a ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Similar a ภารกิจระดับครูผู้ช่วย(20)
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
- 4. ครูบุญมี
กระบวนทัศน์การสอนของครูบุญมีจะเน้นให้นักเรียนมี
การท่องจ้าซ้้าๆ และมีการจดบันทึก
การสอนอยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพฤติกรรมนิยม ซึ่ง
ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า กับการตอบสนอง
สามารถสังเกตได้จากพฤติกรรมที่แสดงออกมา ในแนวคิดของ
กลุ่มนี้จะเชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า
กับการตอบสนองหรือการแสดงพฤติกรรมนิยมและถ้าหากได้รับ
การเสริมแรงจะท้าให้มีการแสดงพฤติกรรมนั้นถีมากขึ้น ดังเช่น
่
การสอบเก็บคะแนนของครูบุญมี
- 5. ครูบุญช่วย
กระบวนทัศน์การสอนของครูบุญช่วยจะเน้นให้นักเรียน
ได้ท้างานเป็นกลุ่ม มีการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
การสอนที่อยู่บนพื้นฐานของกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ คือ
การจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมที่ให้ผู้เรียนได้ส้ารวจ ค้นหา ตามด้วย
ตัวเอง ท้าให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง
- 6. ครูบุญชู
กระบวนทัศน์การสอนของครูบุญมีจะใช้วิธีการท่องจ้า
โดยการใช้เทคนิค เช่น การแต่งเป็นบทเพลง คล้องจอง
การสอนที่อยู่บนพื้นฐานของกลุ่มพุทธิปัญญา คือการ
เปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้าน
คุณภาพ ซึ่งนอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้วยัง
สามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ
เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถถ่าย
โยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้วไปสู่บริบทและ
ปัญหาใหม่ได้
- 8. ครูบญมี
ุ
ข้อดี
นักเรียนสามารถจ้าเนื้อหารายวิชาที่ครูบุญมีสอน
ได้ แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นการท่องจ้า ซึ่งเป็นการจ้า
ระยะสั้น
ข้อเด่น
เน้นย้้าให้นักเรียนจดบันทึกและท่องจ้าซ้้าๆ เพื่อให้
เกิดความช้านาญ
- 9. ครูบญช่วย
ุ
ข้อดี
นักเรียนสามารถหาค้าตอบได้ด้วยตนเอง จากการลงมือ
ปฏิบัตินอกจากนี้ผู้เรียนสามรถน้าความรู้ที่ได้ เชื่อมโยง
กับประสบการณเดิมได้อีกด้วย
ข้อเด่น
เน้นให้ผู้เรียนค้นหาค้าตอบ และร่วมมือกันเรียนรู้มีการ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ลงมือทดลอง โดยมีครูเป็นผู้ให้
ครูจะกระตุ้นให้นักเรียนได้คิด และร่วมกันสรุปบทเรียน
เป็นความเข้าใจของตนเอง
- 10. ครูบญชู
ุ
ข้อดี
นักเรียนสามารถจดจ้าเนื้อหาได้มากกว่าการท่องจ้าแบบ
ธรรมดา จากการใช้เทคนิคของครู เช่น การใช้รูปภาพ
ประกอบ การแต่งเป็นบทเพลง หรือการใช้ค้าคล้องจอง
ข้อเด่น
ใช้บทเพลง ค้าคล้องจอง หรือแผนภูมิรูปภาพประกอบ
เนื้อหาเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
องค์ประกอบ ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมที่
ผู้เรียนรู้จักมาช่วยในการจดจ้าค้าศัพท์
- 12. สาระส้าคัญ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ในหมวด 4 แนวการจัดการศึกษา กล่าวว่า “ การจัดการศึกษา
ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความส้าคัญที่สุด สามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้ ” และหมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา กล่าวว่า “ ให้
มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษา อันจะน้าไปสู่การแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองอย่าง
ต่อเนื่องตลอดชีวิต ”
ซึ่งการจัดการเรียนการสอนตามแบบครูบญช่วย ที่มีการ
ุ
เน้นให้ผู้เรียนได้ค้นหาค้าตอบลงมือทดลองด้วยตัวเอง รวมทั้ง
ให้ผู้เรียนได้ร่วมมือกันเรียนรู้เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์
- 15. นักเรียน
ตัวนักเรียนเองยังไม่มีความเข้าใจที่ท่องแท้กับรายวิชา
คณิตศาสตร์ จึงท้าให้ตัวนักเรียนเอง ไม่สามารถน้าความรู้ที่
มีอยู่น้าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ที่นอกเหนือจากการน้าความรู้
ทางคณิตศาสตร์ที่เรียนนั้น ไปใช้ในการท้าข้อสอบเพียงอย่าง
เดียว เพราะว่าหลักสูตรการเรียนการสอนคณิตศาสตร์นั้น
เป็นแผนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับความรู้ให้
มากที่สุด แต่ตัวผู้เรียนเองยังไม่สามารถคิดต่อยอด เกิด
ความคิดใหม่ๆในรายวิชานี้ได้
- 16. ครู
ครูผู้สอนมักจะสอนทฤษฎี ต่อมาก็จะเป็นการ
ยกตัวอย่าง แน่นอนว่าสิ่งที่ครูผู้สอนได้สอนมานั้นเป็นสิ่ง
ที่ผู้เรียนสามารถท้าความเข้าใจได้และสามารถแก้โจทย์ปัญหา
ได้ด้วยตนเอง แต่ในบางเรื่อง ซึ่งเป็นการยากที่จะท้าความ
เข้าใจต่อเนื้อหาแล้ว ตัวเด็กเองก็ยังไม่มีความสามารถในการ
น้าความรู้เหล่านี้ไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาต่างๆ ซึ่งในจุดนี้
เอง เป็นข้อบกพร่องที่ครูผู้สอนควรให้การแนะน้าและให้
แนวคิด เพื่อให้ผู้เรียนสามารถที่จะต่อยอดความรู้ได้ต่อไป
- 18. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ที่เน้นการ
สร้างความรู้ด้วยตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติที่ผ่ากระบวนการ
คิดและอาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว
เชื่อมโยงกับประสบการณ์หรือความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้าง
ทางปัญญา (Schema) ซึ่งเชื่อว่า ครูไม่สามารถขยายโครงสร้าง
ทางปัญญาให้แก่ผู้เรียนได้ ผู้เรียนต้องเป็นผู้สร้างและขยาย
โครงสร้างทางปัญญาด้วยตนเอง โดยครูเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อมที่
เอื้อต่อการเรียนรู้หรือสร้างความรู้ของผู้เรียน ด้วยการน้า
วิธีการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือสื่อตลอดจนภูมิปัญญา
ท้องถิ่นมาใช้ร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้
- 21. กระตุน
้
ข้อมูลใหม่
โครงสร้างทางปัญญา
เสียสมดุลทางปัญญา
ปรับสมดุลทางปัญญา
การปรับเปลี่ยน การดูดซึม
(Accommodation) (Assimilation)
ความรู้ใหม่
- 22. จัดท้าโดย
1. นายวุฒินันท์ กัลยา 543050064-4
2. นางสาวศรัญย์ภร ติงมหาอินทร์ 543050066-0
3. นางสาวมารีนา บาซอ 543050556-3