SlideShare a Scribd company logo
1 of 89
Download to read offline
“ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต:
อุปสรรคทางนโยบายและกลไกที่ต้องก้าวข้าม”
ประชุมระดมสมอง ณ ห้องประชุม Virgo
โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพฯ
วันจันทร์ที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๘
การประชุมเวทีวิชาการ
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 2
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 3
น้าท่วมนิคมอุตสาหกรรมในนาข้าว
น้าท่วมข้าวในนาข้าว
สาเหตุ “น้าท่วมเมือง” ที่แท้จริง:
• เกิดจากการขยายเมืองลงที่ลุ่มที่น้าท่วมถึง... จนเกินขีด
ความสามารถในการรองรับตามธรรมชาติของพื้นที่
วิธีป้องกันที่ยั่งยืนได้แก่…
• การหยุดขยายเมืองในที่ลุ่ม... แล้วหาพื้นที่ใหม่ที่น้าไม่ท่วม
ปลอดจากภัยพิบัติและมีดินที่ไม่เหมาะกับการเกษตร
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 4
แก่นสาระ
ดังนั้น ในเชิงของ การวางแผนเชิงพื้นที่...
การวางแผนภูมิทัศน์ขนาดใหญ่จึงเป็นกระบวนการขั้นต้น…
การวางแผนเชิงพื้นที่อย่างระมัดระวัง...
สามารถหลีกเลี่ยงปัญหาจากภัยธรรมชาติได้ผลดีที่สุด
ปัจจุบันความรู้และเทคโนโลยีใหม่ด้านภูมิศาสตร์สารสนเทศ…
เอื้อให้การวางแผนเชิงพื้นที่มีค่าใช้จ่ายที่ถูกและแม่นยา
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 5
...ซึ่งจะต้องวางแผนจากระดับมหภาค... สู่ -> จุลภาค
จากธรรมชาติ... สู่ -> สิ่งมนุษย์สร้าง
เพราะ... ประเทศไทยยังไม่ได้นามาใช้อย่างจริงจัง
ในกระบวนวางผัง (แผน) เมือง....
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 6
แต่... มีอุปสรรค
...เนื่องจากไม่มีการวางแผนภาคเชิงพื้นที่
ที่ถูกต้องเพื่อบังคับใช้อย่างเป็ นทางการสาหรับ...
ใช้ในการทา ผังพัฒนา ที่สอดคล้องและตอบรับกับธรรมชาติ
และวัฒนธรรมเพื่อใช้เป็ นผังแม่บทแก่ผังเมืองท้องถิ่น
...
กลไกและกระบวนการวางผังเมือง
ที่มีปัญหาเชิงระบบ คือ...
ตัวถ่วงสาคัญต่อการพัฒนาเมือง
สู่ความยั่งยืน...
... ที่เป็นต่อเนื่องกันมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๖
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 7
อุปสรรค
• ขาดนโยบายการตั้งถิ่นฐานและการผัง-
เมืองระดับชาติที่นาไปสู่อนาคตที่ยั่งยืน
• ขาดหน่วยงานนโยบายและแผนเชิงพื้นที่
ระดับชาติเพื่อ....
...กากับการพัฒนาพื้นที่ ให้สอดคล้องกับ
ธรรมชาติของพื้นที่
และสอดคล้องกับการวางแผนเศรษฐกิจและสังคม
...ที่ขัดแย้งต่อเนื่องมามากว่า ๕๐ ปี
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 8
อุปสรรค
• การออก-ปรับปรุงกฎหมายผังเมืองทาได้
ยากมาก (กฎหมายให้สิทธิ์ส่วนบุคคลเหนือสิทธิ์ส่วนรวม)
• การแก้ไขปรับปรุงหรือออกกฎหมายผัง
เมืองล่วงหน้าก่อนเกิดปัญหามีความสาคัญ
ยิ่งยวด... (‘Opportunists’ ซื้อที่ดินรอให้ผังเมืองหมดอายุเพื่อ
พัฒนาได้ตามใจชอบ – หรือบีบให้เปลี่ยน “สี” การใช้ที่ดิน)
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 9
อุปสรรค
• การเพิ่มประชากรเมืองจาก ๑๕% -> ๓๕% -> ๗๕%
• การกระจายอานาจให้ท้องถิ่น ๗,๘๕๓ แห่งวาง
ผังเมืองได้เป็นอิสระ... ฯลฯ เหล่านี้
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 10
อุปสรรค
...ทาให้สถานการณ์ด้านการผังเมือง
เลวร้ายลงในวงกว้างทั่วประเทศ
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 11
** ปัญหาที่เกิดจาก **
การใช้ที่ดินผิดลักษณะธรรมชาติ
การผังเมือง
“แก้”ปัญหาอุทกภัยกรุงเทพฯ ได้แบบยั่งยืนได้จริงหรือ?
ไม่มีทางแก้ได้ ทาได้เพียงบรรเทา ...เพราะ
...น้าหลากท่วมที่ราบลุ่มเป็นธรรมชาติที่มีมาแต่ดึกดาบรรพ์
และจะหลากท่วมต่อไปอีกนับหมื่นนับแสนปี
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 12
NO WAY...
...เพราะน้ากาลังปฏิบัติหน้าที่ใน
กระบวนการสร้างที่ราบตามธรรมชาติ
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 13
กรุงเทพฯ คือ...
“ก้อน(เมือง)”
ขวางทางน้าลงทะเล
ทาให้น้าท่วมพื้นที่
ตอนบนนานขึ้น
ขวางอย่างไรน้าก็จะ
หาทางข้ามไปจนหมด
“ป่ วยการ” ขวาง
ยิ่งขวางยิ่งท่วมสูง
ปี 2554 พื้นที่ประเทศไทยที่ถูกน้าทยอยท่วม – 24,000 ตารางกิโลเมตร
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 14
น้าฝนไหลตามความ
ลาดที่เทไปออกทะเล
รอบหน้า
ประมาณอีก +-10 ปี? หนักแน่
ครัวของโลก?
ปี 2600 อู่ข้าวอู่น้า
ของชาติกลายเป็น
ชุมชนเมือง..ทาไม?
แต่... ทาไมจึงยังคงกาหนดให้
เมืองใหญ่-น้อยในปี 2600
มาชุมนุม
ในที่เกษตรน้าท่วมอีก?
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 15
วิสัยทัศน์ประเทศไทย ?
ครัวของโลก?
อู่ข้าวอู่น้า
ของชาติ+โลก
แต่...
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 16
วิสัยทัศน์
ประเทศไทย
พ.ศ. 2600 !
กลายเป็น “ภัย” สาหรับเมืองใหญ่สมัยใหม่ที่อยู่ในที่ลุ่ม
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 17
อุทกคุณ
อุทก
ภัย
“อุทก” ที่เคยเป็นคุณสาหรับชุมชนเกษตรโบราณ
อุทกคุณ
อุทก
ภัย
วิธีการป้องกันน้าหลากท่วมเมืองที่เด็ดขาด
หาที่ดอนใหม่ที่ดินไม่เหมาะต่อการเพาะปลูกขนาดใหญ่
...
...แล้วพัฒนาเมืองใหม่อย่างมีระบบเป็นเมืองยั่งยืน
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 18
หาถิ่นฐานเดิมบนที่ดอนน้าท่วมไม่ถึง...
...แล้วขยายอย่างหนาแน่น-โปร่งด้วยแผนที่ดี
หรือ
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 19
น้าจะไม่ท่วมพื้นที่..ที่สูงกว่าระดับน้าท่วม....ไม่ว่าที่ใดในโลก
บราซิล ไทย
ชุมชนเกษตร
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 20
** ปัญหาที่เกิดจาก...**
การกระจายตัวของประชากร
ที่ไม่สมดุล
สาเหตุที่คนไทยสมัยใหม่ต้องทนอยู่ในเมืองที่ลุ่ม - กรุงเทพฯ
- มีสิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็นแก่วิถีการดารงชีวิตแบบใหม่พร้อม
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 21
- มีโอกาสได้งานดีๆ สาหรับทุกระดับความรู้-อายุ / ได้ตาแหน่ง-รายได้สูง
- มีความมั่นคงในชีวิตการงานและครอบครัว มีสวัสดิภาพ
มาอยู่กรุงเทพฯ เพราะไม่มีทางอดตาย
ลาดับ เมือง พื้นที่ (กม.2) ประชากร
(ตามทะเบียนบ้าน)
เล็กกว่ากรุงเทพฯ
(เท่า)** ลาดับ
1 กรุงเทพมหานคร 1,568.73 5,701,394 - 1
2 เทศบาลนครนนทบุรี 38.90 261,474 นนทบุรี 22
6 เทศบาลนครเชียงใหม่ 40.00 141,366 เชียงใหม่ 40
9 เทศบาลนครขอนแก่น 46.00 113,754 ขอนแก่น 50
16 เทศบาลนครภูเก็ต 12.00 74,218 ภูเก็ต 77
19 เทศบาลนครแหลมฉบัง 109.65 70,770 ชลบุรี 80
24 เทศบาลนครลาปาง 22.17 57,558 ลาปาง 99
29 เทศบาลนครแม่สอด 27.2 35,365 ตาก 161
รายชื่อเมืองใหญ่ของประเทศไทยเรียงตามจานวนประชากร (ตามทะเบียนราษฎร์)
เมืองโตเดี่ยว (Primate city) – ปัญหาใหญ่ของการตั้งถิ่นฐานของประเทศไทย
(กรุงเทพฯ ถูกยกให้เป็นตัวอย่างเมืองเลวที่ดีที่สุดของโลก)
****** เมืองโตเดี่ยวเป็นตัวดูดความเจริญจากภูมิภาค******
ใกล้อัมพาตรักษาไม่ได้ – “Unmanageable Size!!!” –ใกล้มากแล้ว!!!
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 22
ขั้นโคม่า!!
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 23
BLACK HOLE
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 24
สาเหตุของความล้มเหลว
ด้านนโยบายและแผนการตั้งถิ่นฐาน
และการผังเมืองของประเทศไทย...
...เพราะกลไกและกระบวนการวางแผนเชิงพื้นที่
จากระดับชาติสู่ --> ระดับท้องถิ่น…ติดขัด
ไม่ต่อเนื่อง ขัดแย้ง และไร้ประสิทธิภาพ
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 25
** ...ซ้าเติมด้วยปัญหาที่เกิดจาก
การกระจายอานาจ (ผังเมือง) ฯ
สู่ท้องถิ่น **
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 26
วงดุริยางค์ (ผังเมือง) แห่งชาติ
ประเทศไทย
Thailand’s National Planning Orchestra
การผังเมืองระดับชาติ / ระดับท้องถิ่น – ระยะยาว / ระยะสั้น และระยะพัฒนา
...ไม่เคยสอดคล้องกลมกลืน --> มุ่งสู่อนาคตที่สดใสยั่งยืนมาก่อนเลย
ลองฟัง... การบรรเลงเพลงอันไพเราะของดุริยางค์ขนาดใหญ่
Thailand National Planning Orchestra
อบต
กทม
อบต
พัทยา
เทศบาลนคร
อบต
เทศบาลเมือง
เทศบาลตาบล
อบจ
อบต
อบต
อบต
อบต
อบต
เทศบาลนคร
เทศบาลนคร
เทศบาลนคร
เทศบาลเมือง
เทศบาลเมือง
เทศบาลเมือง
เทศบาลเมือง
เทศบาลเมือง
เทศบาลตาบล
เทศบาลตาบล
เทศบาลตาบล
เทศบาลตาบล
เทศบาลตาบล
อบจ
อบจ
อบจ
อบจ
อบจ
7,800 คน
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 27
กรมโยธาธิการและผังเมือง
โปรดฟัง
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 28
นั่นคือวงดุริยางค์ “การผังเมือง” ของประเทศไทย
Thailand’s National Spatial Planning Orchestra
บทเพลง... ? (ไม่มีวิสัยทัศน์ –เช่น ถิ่นฐานที่ยั่งยืน น้าไม่ท่วม เมืองสะดวกน่าอยู่)
ผู้ประพันธ์เพลงรวม... ? (ไม่มีผู้กาหนดนโยบายแห่งชาติตามวิสัยทัศน์)
วาทยกร... ? (มีแต่กรมโยธาฯ (เด็ก)– ไม่มีหน่วยงานวางแผนระดับชาติ)
โน้ตกลาง...? (ไม่มีผังภาค ไม่มีมาตรฐานและเกณฑ์กลางที่ใช้การได้จริง)
ผู้แสดง... ๗,๘๕๓ คน (ท้องถิ่นต่างคนต่างเล่น...จาต้องเล่นโดยที่เล่นไม่เป็น)
เด็กเล็กในกรมโยธาฯ
รัฐมนตรีกระทรวง
ไหนก็ไม่เชื่อฟังตู
...เด็กโยธา
การแก้ไขเชิงระบบ
ที่อาจเป็นกุญแจสาคัญต่อความสาเร็จ
ประกอบด้วย
องค์ประกอบที่ครบ ๓ ประการได้แก่
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 29
การแก้ไขเชิงระบบ
• ต้องมีนโยบายการตั้งถิ่นฐานมนุษย์และการพัฒนา
เมืองในระดับชาติ (เพื่อนาประเทศสู่อนาคตที่ยั่งยืนและน่าอยู่)
• ต้องจัดตั้งสานักงานคณะกรรมการการตั้งถิ่นฐาน
มนุษย์และการผังเมืองแห่งชาติในสังกัดสานัก-
นายกรัฐมนตรี (ให้แผนระดับชาติอยู่เหนือระดับกระทรวงจริง)
• รัฐสภาต้องตั้ง กรรมาธิการการตั้งถิ่นฐานและการ
ผังเมือง ให้มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบด้านกฎหมายที่
เกี่ยวข้อง (ทาให้การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายได้ทันสถานการณ์)
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 30
การแก้ไขเชิงระบบ
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 31
ตั้งแล้ว... ขั้นต่อไปทาอย่างไร...??
Priority
ภายใต้กรรมาธิการสามัญการตั้งถิ่นฐานและการผังเมือง
จัดทาแผนปฏิบัติสู่เป้าหมาย
(Road Map – Action Plans)
ออก-ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
• กฎหมายซ้าซ้อน
• กฎหมายล้าสมัย
• กฎหมายฉบับใหม่ที่เอื้อให้กลไกใหม่
บรรลุเป้าหมายตามนโยบาย
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 32
กฎหมาย
ภายใต้กรรมาธิการสามัญการตั้งถิ่นฐานและการผังเมือง
จัดทาแผนปฏิบัติสู่เป้าหมาย
(Road Map --> Action Plans)
• ระยะสั้น...
• ภายใต้กฎหมายเดิม ทาอะไรได้ก็ทาไป...เช่น
• ออกกฎกระทรวงให้มีขั้นตอน “Planning permit” ฯลฯ
• วางนโยบายการตั้งถิ่นฐานมนุษย์และการพัฒนาเมืองแห่งชาติ
ระยะยาว ประกาศเป็น พ.ร.ฎ. (ในพระปรมาภิไธย)
• ออกแบบ – สร้างระบบการวางแผน (Planning systems) ของ
ประเทศใหม่ทั้งหมด
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 33
ปรับรูปองค์กรให้สอดคล้อง
• องค์ประกอบกรรมการนโยบาย 9+4 (ผู้ทรงคุณวุฒิ +
ผู้แทนหน่วยงานนโยบาย)
• ออกมาตรฐาน-เกณฑ์การวางแผน-กากับตรวจสอบ
(Planning criteria - standards - monitoring)
• จัดทาแผนภาคเชิงพื้นที่ (Regional spatial planning)
• ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผังเมืองท้องถิ่น (On-job training –
7,500 อปท.)
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 34
ภายใต้กรรมาธิการสามัญการตั้งถิ่นฐานและการผังเมือง
จัดทาแผนปฏิบัติสู่เป้าหมาย
(Road Map – Action Plans)
หน่วยงาน
ทาได้หรือ?
ปี 2600 ประเทศไทยจะต้องการพื้นที่เมืองเพียง 5% ของพื้นที่ประเทศ
- 16,000,000 ไร่ หรือ 25,600 ตร.กม. (รวมเมืองเก่า)
(ข้อมูลจากรายงานผังประเทศ พ.ศ. 2600-กรมโยธาธิการและผังเมือง)
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 35
ถ้าไม่ทาอะไรเลย - อะไรจะเกิดขึ้น?
ปี 2600 ประชากรเมืองจะเพิ่มจาก 35%(ของ 67 ล้าน) -> 60%(ของ 75 ล้าน)
- หรือ เพิ่มจากปัจจุบันอีก 22 ล้านคน - ต้องเพิ่มแน่นอนอยู่แล้ว
ทาได้แน่... เพราะ....ทาได้อย่างไร?
มีกรุงเทพ-ปริมณฑล 12,5 ล้าน คน 1 เมือง
มีเมืองประชากร 1 – 5 ล้าน คน 5 เมือง
มีเมืองประชากร 1 แสน – 5 แสน คน 28 เมือง
มีเมืองประชากร 5 หมื่น –1 แสน คน 170 เมือง
มีเมืองประชากร 1 -5 หมื่น คน 1,020 เมือง
ที่เหลือจะเป็นชุมชนประชากรต่ากว่า 1 หมื่น คน - ชุมชน
ปี 2600 หรือ อีก 42 ปีข้างหน้า
ประเทศไทยต้องการเมืองตามหลักวิชาการผังเมือง
(เพื่อการกระจายประชากรที่สมดุล)
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 36
แต่เมืองในทุ่งน้าหลากนี้
-ใหญ่เกินไปหรือไม่?
อุปสรรคใหญ่ของการผังเมืองคือ
การให้สิทธิ์ส่วนบุคคลที่สูงมาก..และปล่อยให้ราคาที่ดินที่สูงมาก
(...เป็นสิ่งมนุษย์ก่อเองทั้งสิ้น)
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 37
บทเรียนสาหัส - ที่ไม่จดจา
ไม่รับรู้ธรรมชาติต่อไป-ขวางทางน้าลงทะเล
ผังลิชฟิลด์ปรับปรุงใหม่ 2515ผังลิชฟิลด์ 2503 ผังปัจจุบัน 2549
รับรู้ธรรมชาติทางน้าหลาก ไม่รับรู้ธรรมชาติ
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 38
ผังลิชฟิลด์เริ่มวาง
เมื่อ พ.ศ. 2500
(ใช้บังคับ 2503-2533)
•ตอนนั้นประชากร
1.8 ล้านคน
•ปัจจุบัน 10 ล้าน
(รวมประชากรแฝง)
มีคลองผันน้าตะวันออก
มีคลองผันน้าตะวันตก
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 39
“กรุงเทพฯ” ผังเมืองทึบน้า
“ฮานอย” ผังเมืองหยุ่นน้า
Floodway
พื้นที่ที่มีศักยภาพ
เป็นถิ่นฐานชุมชน
เมืองใหม่ขนาดใหญ่
ในระยะยาวบริเวณ
ภาคกลาง
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 40
(สังเกต!) เรากลับ
วางแผนให้กรุงเทพฯ
ขยายปิดทางน้าลง
อ่าวไทย
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 41
ผังภาคบูรณาการเชิงพื้นที่รายลุ่มน้า
เพื่อกากับการวางผังเมืองของท้องถิ่นในพื้นที่
**การจัดทาแผนภาคเชิงบูรณาการ **
Integrated Regional Planning
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 42
ประเทศไทยมี
9 กลุ่มลุ่มน้า
25 ลุ่มน้าใหญ่
254 ลุ่มน้าย่อย
ลุ่มน้า
เจ้าพระยา
ลุ่มน้าย่อย
เขตที่น้าท่วมซ้าซาก
จัดทาแผนที่แสดงเขตน้าท่วมให้ครบทุกน้าลุ่มย่อย
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 43
นี่คือ... พื้นที่ชุมชนเมืองที่จะขยายในอีก 10 ปีข้างหน้า (ตัวอย่างตตางตระเทศ )
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 44
นี่คือ... พื้นที่ถูกน้าท่วมรอบ 100 ปี-ที่บริษัทประกันไม่จ่าย (ตัวอย่างตตางตระเทศ )
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 45
แสดงพื้นที่ ถูก-ไม่ถูก น้าท่วม เมื่อใช้เทคนิคซ้อนทับ (ตัวอย่างตตางตระเทศ )
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 46
ภงพซ้ยนโด่: จะัสโะจน์ บถดงะิห์ 2556 กะมโ่ธงธิกงะแลเผัตทมืยต
พื้นที่ถูกน้าท่วมใหญ่
พ.ศ. 2554
ที่ตั้งเมืองตามผังประเทศ
พ.ศ. 2600
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 47
ที่ตั้งเมืองตามผังประเทศไทย พ.ศ. 2600 และพื้นที่น้าท่วม 2554
เมื่อนาพื้นที่มาซ้อนทับ
โดยสังเขป
เมืองต่างๆ พ.ศ. 2600
ยังคงชุมนุมในพื้นที่น้า
ท่วม
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 48
“โลกร้อน-การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ”
มีความหมายต่อการตั้งถิ่นฐาน (การผังเมือง)
ของประเทศไทยหรือไม่...??
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 49
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 50
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 51
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 52
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 53
พ.ศ. 2443 (1900)
ระดับปี พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2643 (2100)
ระดับน้ำทะเลในช่วง 200 ปี
ระดับน้าทะเล
คาดการณ์เกิดแล้วจริง
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 54
ไม่นับระดับยอด
คลื่นพายุซัดฝั่ง
ไม่นับระดับน้าขึ้นน้าลง
**ระดับ...
ที่ยังไม่รวม
ระดับน้าขึ้น-ลงสูงสุด
ยังไม่รวม
ระดับยอดคลื่น
พายุซัดฝั่ง..!!
+อีก 2-4.5 เมตร..!!
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 55
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 56
นี่คือระดับ 2 เมตร... ที่ยังไม่รวมระดับน้าขึ้น-ลงสูงสุด
ยังไม่รวมระดับยอดคลื่นพายุซัดฝั่ง..!!
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 57
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 58
นี่คือระดับ 5 เมตร... ที่รวมช่วงที่ระะดับน้าขึ้น-ลงสูงสุด
+ ระดับยอดคลื่นพายุซัดฝั่ง + น้าเหนือหลากลง ..!!
(…แต่เฉพาะชายฝั่ง อาจไม่ท่วมถึงชั้นในตามภาพที่แสดงระดับ 5 เมตร)
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 59
กรุงเทพฯ ทรุดปีละ 3 ซม.
+
ระดับน้าทะเลที่สูงขึ้น
จะถูกท่วมถึงระดับ
2.00 เมตร
Time, September 2014, from NOAA
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 60
ปรากฏการณ์ที่
ได้พิสูจน์ให้
เห็นแจ้งแล้ว
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 61
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 62
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 63
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 64
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 65
นั่นคืองานที่ได้พยายามรณรงค์เกี่ยวกับ
การผังเมืองในวุฒิสภา แต่... Flop!
...จึงขอนามาเล่าสู่กันฟัง
ก่อนสวัสดี... ขออนุญาตต่ออีกเล็กน้อย
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 66
ทาไมเราจึงควรสร้างเมืองสวรรค์
(เมืองใหม่)
น้อมเกล้าถวายพระเจ้าอยู่หัวฯ
“ครึ่งแซยิด ๙๐”
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 67
๒๑ ปีมาแล้ว
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 68
ปี ๒๕๔๒ – ๑๖ ปีที่แล้วปี ๒๕๕๔ - ๔ ปีที่แล้ว
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 69
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 70
Fallacies: เว้นที่ว่างมากเศรษฐกิจล่มสลาย
ความเชื่อที่ผิดในยุคที่ผ่านมา - ต้นเหตุที่ทาให้บ้านเมืองรู้สึกแออัด
“เมืองแน่นแต่โปร่ง” ทาได้อย่างไร?
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 71
ทุกโครงการขายได้
640,000 ม2 เท่ากัน
FALLACIES: เว้นที่ว่างมากเศรษฐกิจล่ม
ความเชื่อที่ผิดในยุคที่ผ่านมา - ต้นเหตุที่ทาให้บ้านเมืองรู้สึกแออัด
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 72
FALLACIES: เว้นที่ว่างมากเศรษฐกิจล่ม
ความเชื่อที่ผิดในยุคที่ผ่านมา - ต้นเหตุที่ทาให้บ้านเมืองรู้สึกแออัด
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 73
FALLACIES: เว้นที่ว่างมากเศรษฐกิจล่ม
ความเชื่อที่ผิดในยุคที่ผ่านมา - ต้นเหตุที่ทาให้บ้านเมืองรู้สึกแออัด
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 74
FALLACIES: เว้นที่ว่างมากเศรษฐกิจล่ม
ความเชื่อที่ผิดในยุคที่ผ่านมา - ต้นเหตุที่ทาให้บ้านเมืองรู้สึกแออัด
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 75
AXIOM: เว้นที่ว่างมากเศรษฐกิจรุ่งเรือง
เปลี่ยนความเชื่อใหม่- บ้านเมืองจะรู้สึกโล่งโปร่งสวยงามกาไรมาก
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 76
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 77
ตัวอย่างเมืองใหม่ยั่งยืนในจีน
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 78
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 79
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 80
ตัวอย่างชุมชนเกษตรแอ่งเขาในญี่ปุ่ น
ออกโฉนดโดยมิชอบ ???
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 81
ตัวอย่างชุมชนเกษตรเชิงเขาในญี่ปุ่ น
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 82
ประเทศไทยยังขาดการจัด
ประเภทการใช้ที่ดินประเภทใหม่ๆ
ตามการเปลี่ยนแปลงของสังคม
ประเภทการใช้ที่ดินล้าสมัย
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 83ชุมชนนาล่ม โมชาฟ เยโฮชัว
ประเทศอิสราเอล
**การผังเมือง - ต้องไม่ทิ้งชุมชนชนบท**
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 84
เราควรมีธรรมนูญผังเมืองเพื่อกากับ
กฎหมายต่างๆ เกี่ยวกับการวางแผนและ
การพัฒนาเชิงทุกพื้นที่ของประเทศ
ทั้งหมดหรือไม่...??
**ธรรมนูญการผังเมือง**
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 85
ธรรมนูญการตั้งถิ่นฐานและการพัฒนาเมือง
(Seven Commandments)
1. ห้ามสร้างเมืองใหม่ หรือขยายชุมชนเดิมในพื้นที่เสี่ยง
ภัยธรรมชาติ รวมทั้งให้ชะลอการเจริญเติบโตของ
เมือง/ชุมชนเดิมในพื้นที่ดังกล่าว
2. ให้สงวนพื้นที่ที่เหมาะสมกับการเกษตรกรรม และ
พื้นที่สงวนประเภทอื่นๆ กาหนดที่ราบเกษตรกรรมที่
น้าท่วมถึงให้เป็ นพื้นที่รับน้าและเป็ นทางน้าผ่าน
(Flood plains and floodways) ด้วย
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 86
ธรรมนูญการตั้งถิ่นฐานและการพัฒนาเมือง (ต่อ)
3. ห้ามพัฒนาเมือง/ชุมชนในพื้นที่ทางศิลปะ วัฒนธรรม
พื้นที่ธรรมชาติ พื้นที่สวยงาม และพื้นที่ท่องเที่ยว ยกเว้น
สิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็น
4. กาหนดการกระจายตัวประชากรเมืองเพื่อลดความ
แตกต่างระหว่างเมืองกับชนบท (Urban-rural disparity)
ชะลอการเติบโตของกรุงเทพฯ กาหนดให้มีเมืองขนาด
ใหญ่ในพื้นที่เหมาะสมมากขึ้นเพื่อกระจายความเจริญให้มี
ความสมดุล
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 87
5. วางแนวทางพัฒนาเมืองใหม่/ฟื้นฟูเมืองเดิม รองรับประชากร
เมือง ๖๐ ล้านคน จากเดิม ๒๒ ล้านคน จากคาดการณ์
ประชากรทั้งประเทศใน ๕๐ ปีข้างหน้า ไม่รวมต่างด้าว ๗๕
ล้านคนและเป็นประชากรเมืองร้อยละ ๖๕
• เมืองใหม่รับ ประชากร ๓๘ ล้านคน ต้องกระชับ น่าอยู่ ยั่งยืน
ร่มรื่น หนาแน่นสูง เพื่อลดระยะเดินทาง ประหยัดพลังงาน
และต้องเชื่อมโยงสิ่งอานวยความสะดวกครบถ้วน
• หยุดขยายเมืองเดิม (ที่รองรับประชากร ๒๒ ล้านคนเดิม) ในทาง
ราบ ฟื้ นฟูโดยเพิ่มความหนาแน่นส่วนกลาง (ที่ไม่ทาลายย่าน
ประวัติศาสตร์) เพิ่มที่เว้นว่าง วางระบบทางเดินเท้า-จักรยาน
ทางเชื่อมระหว่างอาคารพาณิชย์กับระบบขนส่งมวลชน
ธรรมนูญการตั้งถิ่นฐานและการพัฒนาเมือง (ต่อ)
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 88
6. ให้พัฒนาชุมชนเกษตรประชากร ๑๕ ล้านคนให้มั่นคง มี
คุณภาพชีวิตที่ดี มีความสามารถในระดับนานาชาติ...
ด้วยการจัดรูปที่ดินตามความเหมาะสมของสมรรถนะ
ที่ดินและมีโครงสร้างพื้นฐานสมบูรณ์ในตัวเอง
7. ให้มีคณะกรรมการการตั้งถิ่นฐานและการผังเมือง
แห่งชาติ ทางานเชิงบูรณาการใกล้ชิดสอดคล้องกับ
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ธรรมนูญการตั้งถิ่นฐานและการพัฒนาเมือง (ต่อ)
18 พฤษภาคม 2558แนวคิดปฏิรูปการผังเมืองอย่างยั่งยืน / ศ.กิตติคุณ เดชา บุญค้า 89
สวัสดี
ปุจฉา: ใครทราบบ้างว่าประเทศไทยสูญเงินค่าจ้าง “คอนซัลท์”
เพื่อการวางผังเมืองและโครงสร้างพื้นฐานทั่วประเทศ
ในช่วงเวลา ๕๘ ปี ที่ผ่านมา โดยไม่ได้อะไรขึ้นมาสัก
เท่าใดนั้น... คิดเป็นเงินตามมูลค่าปัจจุบันเท่าใด...?
และ… ผู้บริหารประเทศที่ละเลยหรือยกเลิกควรมีภาระ
ความรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายหรือไม่ !!?

More Related Content

More from FURD_RSU

เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
FURD_RSU
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
FURD_RSU
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
FURD_RSU
 
Furd urban think tank นโยบายส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น ...
Furd urban think tank นโยบายส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น                 ...Furd urban think tank นโยบายส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น                 ...
Furd urban think tank นโยบายส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น ...
FURD_RSU
 
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทยเล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
 
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.11 (SEPTEMBER 2018)
 
Furd urban think tank นโยบายส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น ...
Furd urban think tank นโยบายส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น                 ...Furd urban think tank นโยบายส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น                 ...
Furd urban think tank นโยบายส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่น ...
 
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทยเล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
 

ทางออกในการพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรคทางนโยบายและกลไกที่ต้องก้าวข้าม โดย ศ.เดชา บุ