SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 13
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ปี ที่ 1 ฉบับที่ 7
ประจำเดือน ธันวำคม 2560
เมืองไทยมีดีอะไร
ทำไม Digital Nomad ทั่วโลกต้องมำ
นครำภิวัตน์
กับกำรปฏิรูปประเทศไทย
บรรณาธิการ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
กองบรรณาธิการ
ณัฐธิดา เย็นบารุง
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ออกแบบและรูปเล่ม
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ภาพปก
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
Freepik.com
ภาพในเล่ม
อภิชญา โออินทร์
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
Freepik.com
เผยแพร่
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
CONTACT US
www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826
Fax. (+66) 2938 8864
ในที่สุด เราก็เดินทางมาถึงเดือนสุดท้ายของปี 2560 กันแล้ว ทางศูนย์ศึกษามหานครและเมืองขอส่ง
ท้ายปีด้วยเรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับ ‘ที่ที่สาม (Third Place)’ ที่กาลังเป็นกระแสนิยมและสะท้อนถึงพฤติกรรมคน
เมืองในยุคปัจจุบันที่มีแนวโน้มใช้ที่ที่สามเพิ่มมากขึ้น ส่วนหนึ่งเกิดจากการเข้าสู่โลกยุคดิจิทัล ทาให้ที่ที่สาม
กลายเป็นสถานที่ที่ตอบโจทย์กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่นิยมหันมาทางานอิสระและใช้เทคโนโลยีในการทางาน ซึ่งเรา
เรียกคนกลุ่มนี้ว่า ‘ดิจิทัลโนแมด (Digital Nomad)’ ที่น่าทึ่งคือ เมืองในไทยเป็นเมืองที่กลุ่มคนเหล่านี้เข้ามา
มากเป็นอันดับต้นๆ ของโลก โดยเฉพาะกรุงเทพฯ และเชียงใหม่
ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองจึงให้ความสนใจในประเด็นที่ที่สามในประเทศไทย ซึ่งไม่ได้มีเพียงแค่ใน
กรุงเทพฯ และเชียงใหม่ แต่มีกระจายอยู่ตามเขตเมืองในต่างจังหวัด เพื่อให้ท้องถิ่นที่เป็นฝ่ายกาหนดนโยบาย
และผู้ประกอบการที่เป็นฝ่ายเอกชน ได้ตระหนักและเห็นโอกาสถึงแนวทางและบทบาทในการใช้ที่ที่สาม
รองรับคนรุ่นใหม่และตอบโจทย์การพัฒนาเมือง
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
เมืองไทยมีดีอะไร
ทำไม Digital Nomad ทั่วโลกต้องมำ
THIRD PLACE
กับกำรพัฒนำใจของเมือง
นครำภิวัตน์
กับกำรปฏิรูปกำรเมือง
1 | FURD Cities Monitor December 2017 FURD Cities Monitor December 2017 | 2
ในประเทศไทย เรามีความใกล้ชิดกับ
‘ที่ที่สาม’ เป็นอย่างดี ตั้งแต่วัดวาอาราม ร้าน
กาแฟ ตลาดนัด ไปจนถึงห้างสรรพสินค้า ล้วน
เป็นสถานที่ที่คนไทยผูกพันมานาน เปรียบได้ว่า
หากโรงเรียนกับที่ทางานคือบ้านหลังที่สอง ที่
เหล่านี้ก็คือบ้านหลังที่สามของคนเรานั่นเอง
ในทางวิชาการ ศาสตราจารย์เรย์
โอลเดนเบิร์ก (Ray Oldenburg) นักสังคมวิทยา
เมืองชาวอเมริกัน ได้ให้นิยาม ‘ที่ที่สาม’ ไว้
กว้างๆ ว่า เป็นพื้นที่ที่เปิดรับการรวมกลุ่มเป็น
ประจา ด้วยความสมัครใจ และคาดหวัง
บรรยากาศที่มีความสุขของคนเมือง โดยไม่นับ
รวมอาณาบริเวณของ ‘ที่บ้าน’ และ ‘ที่ทางาน’
เช่น สวนสาธารณะ คาเฟ่ ร้านกาแฟ ร้าน
หนังสือ บาร์ เหล่านี้เป็นองค์ประกอบที่จาเป็น
และสาคัญในการสร้างสุขภาวะสังคม อารย
ธรรมและเมืองที่ยิ่งใหญ่ แต่พื้นที่เหล่านี้ใน
สหรัฐอเมริกากลับค่อยๆ หายไปตั้งแต่ยุคหลัง
สงครามโลกครั้งที่สอง เพราะคนเมืองต่างหัน
มาพึ่งพารถยนต์และย้ายไปอยู่ชานเมืองกันมาก
ขึ้น เราจึงต้องหันมาให้ความสนใจกับ ‘ที่ที่สาม’
กันมากขึ้น โดยศาสตราจารย์โอลเดนเบิร์กได้
อ ธิ บ า ย คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ที่ ที่ ส า ม ไ ว้
8 ประการ ดังนี้
- อภิชญำ โออินทร์ -
นักวิจัยภำยใต้ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง
3 | FURD Cities Monitor December 2017
ประการแรก ที่ที่สามมีความเป็ นกลาง
(Neutral Ground) นั่นคือ ต้องเป็นสถานที่ที่คนจะมา
หรือไปได้ตามใจชอบ ผู้มาเยือนมีอิสระในการเข้าออก
ได้เท่าที่ต้องการ
ประการที่สอง ที่ที่สามสร้างความเท่าเทียม
และการผสมผสาน (Leveler and Mixer) กล่าวคือ
ไม่ได้เป็นเพียงที่ที่เอื้ออานวยให้มีการเข้าออกอย่าง
เสรีเท่านั้น แต่ยังทาหน้าที่ในการลบเลือนความ
แตกต่างของผู้มาเยือนได้อีกด้วย
ประการที่สาม บทสนทนาที่สนุกสนานเป็น
กิจกรรมหลักที่เกิดขึ้นในที่ที่สาม (Conversation
is the main activity) กล่าวคือ ในที่ที่สามจะต้องเกิด
การพูดคุยที่มีชีวิตชีวา จุดประกายความคิด มีสีสัน
และเกิดการปะทะสังสรรค์ระหว่างผู้มาเยือน
ประการที่สี่ ที่ที่สามมักมีขาประจา (The
Regulars) เพราะขาประจาที่มาเยือนและใช้เวลาอยู่ที่
นั่นจะเป็นผู้กาหนดบุคลิก ลักษณะ บรรยากาศ และ
โทนของการพบปะสังสรรค์ของสถานที่นั้น ๆ
ประการที่ห้า ที่ที่สามจะต้องเข้าถึงได้ง่าย
แ ล ะ เ ปิ ด รับ ผู้ ค น ที่ เ ข้ า ม า เ ป็ น ป ร ะ จ า
(Accessibility & Accommodation)
ประการที่หก ผู้มาเยือนจะไม่เป็นที่จับตา
มองมากนัก (A Low Profile) เป็นที่ซึ่งให้ความรู้สึก
เหมือนบ้านและปราศจากการเรียกร้องใด ๆ
ประการที่เจ็ด อารมณ์ของสถานที่จะ
สนุกสนาน ( The mood is playful) อารมณ์
โดยทั่วไปของสถานที่ผ่อนคลาย มีชีวิตชีวา ไม่เป็น
จริงเป็นจังมาก
ประการสุดท้าย ที่ที่สามเปรียบเป็นบ้าน
หลังที่สอง (A home away from home) คือ ให้
บรรยากาศเสมือนอยู่บ้าน รู้สึกเป็นเจ้าของ อบอุ่น
สัมพันธ์แน่นแฟ้นกับคนอื่น
FURD Cities Monitor December 2017 | 4
การทาความเข้าใจ “ที่ที่สาม” นับเป็นจุดเริ่มต้นของการทาความเข้าใจคุณภาพชีวิต
ของคนเมือง นอกเหนือจากการดูแค่ตัวเลขการจ้างงานและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
นักเศรษฐศาสตร์เมืองหลายท่านชี้ว่า คนเมืองจะพอใจเมืองที่เขาอยู่หรือไม่นั้นขึ้นอยู่ 3 สิ่ง
ด้วยกัน คือ คุณภาพชีวิต ค่าจ้างที่แท้จริง และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง อีกทั้งยังให้ข้อสรุป
ในแนวทางเดียวกันว่า สิ่งอานวยความสะดวกของเมือง (Urban Amenities) และความน่า
ดึงดูดทางธรรมชาติ (Natural Amenities) มีความสาคัญต่อคุณภาพชีวิต ฉะนั้น แนวคิด
เรื่อง ‘ที่ที่สาม’ จึงมีความเกี่ยวโยงกับคุณภาพชีวิตในเมืองอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
5 | FURD Cities Monitor December 2017
ศาสตราจารย์โอลเดนเบิร์กได้อธิบายเพิ่มเติม
ถึงความสาคัญของ “ที่ที่สาม” ต่อคนและชุมชนเมืองว่า
แท้จริงแล้ว “ที่ที่สาม” มีประโยชน์หลายอย่าง ได้แก่
หนึ่ง ที่ที่สามช่วยทาให้ผู้คนในละแวกนั้น
มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน (Unifying Neighbourhoods)
สอง ที่ที่สามเป็นเสมือนประตูแรกเข้า
สาหรับผู้มาเยือนและผู้มาอยู่ใหม่ในชุมชนหนึ่ง (Ports
of Entry) เพราะที่ที่สามมักเป็นศูนย์รวมข้อมูลข่าวสาร
ของชุมชน
สาม ที่ที่สามเป็นพื้นที่คัดสรรค์ (Sorting
Areas) เพราะเป็นที่ที่คนซึ่งมีความสนใจพิเศษตามหา
กันและกัน และเป็นพื้นฐานของการเกิดวัฒนธรรม
ท้องถิ่นในย่านหรือบริเวณนั้น
สี่ ที่ที่สามทาให้เยาวชนคนรุ่นใหม่และคน
รุ่นเก่าได้ปฏิสัมพันธ์กัน (Association of Youth and
Adults)
ห้า ที่ที่สามช่วยดูแลชุมชน (Caring for the
Neighbourhood) เพราะคนที่เป็นเจ้าของที่ที่สามโดย
ส่วนใหญ่จะมีบุคลิกที่ใส่ใจต่อสาธารณะ (Public Char-
acters ตามคาเรียกของ Jane Jacobs) รู้จักทุกคนใน
ละแวก และคอยสอดส่องดูแลเยาวชน รวมทั้งให้ข้อมูล
ข่าวสารใหม่ ๆ กับขาประจา ด้วย
หก ที่ที่สามส่งเสริมให้เกิดการอภิปราย
ถกเถียงทางการเมือง (Fostering Political Debate)
เจ็ด ที่ที่สามช่วยลดค่าครองชีพ (Reducing
the Cost of Living) เพราะเมื่อผู้คนเข้าหาและมี
ปฏิสัมพันธ์ต่อกันก็จะมีแนวโน้มช่วยเหลือกันในเรื่อง
ต่าง ๆ
แปด ที่ ที่ ส า ม ใ ห้ ค ว า ม ส นุก ส น า น
(Entertaining)
เก้า ที่ที่สามให้มิตรภาพที่ดี (Giving the
Gift of Friendship) เพราะลักษณะของความเป็นกลาง
(Neutral Ground) ของที่ที่สามทาให้ความรับผิดชอบ
ในการจัดการและความกดดันไม่ได้ตกอยู่ กับใครคน
ใดคนหนึ่ง
สิบ ที่ที่ส าม มีค วาม สาคัญต่อ ค น วัย
เกษียณ (Important for Retired People)
FURD Cities Monitor December 2017 | 6
จากนิยาม “ที่ที่สาม” จะเห็นได้ว่า ใจกลางสาคัญอยู่ที่คนว่าไป
ในที่แห่งนั้นเพราะเหตุใด ไปทากิจกรรมอะไร มากกว่าการกาหนด
ลักษณะทางกายภาพและเงื่อนไขในการเข้าถึงเป็นสาคัญ ดังนั้น นิยาม
ดังกล่าวจึงนับรวมสถานที่ของเอกชนที่การจับจ่ายใช้สอยและดื่มกิน
เป็นกิจกรรมหลักอย่างหนึ่งซึ่งมีต้นทุนต่อผู้เข้าใช้ ในขณะเดียวกัน “ที่ที่
สาม” ก็ยังนับรวมพื้นที่สาธารณะที่ใคร ๆ ก็เข้าถึงได้โดยไม่ต้องจ่าย
เป็นตัวเงิน (ไม่นับรวมค่าใช้จ่ายในการเดินทาง) อย่างไรก็ดี แม้ว่าพื้นที่
เหล่านี้จะไม่มีต้นทุนในการเข้าถึงเลย แต่ก็ใช่ว่าทุกแห่งจะประสบ
ความสาเร็จในการเป็นที่ที่สาม คาถามที่น่าสนใจคือ ปัจจัยอะไรที่ทาให้
พื้นที่สาธารณะบางแห่งไม่สามารถดึงดูดคนให้เข้ามาใช้ได้ ทั้ง ๆ ที่ไม่มี
ค่าใช้จ่าย แล้วทาไมคนบางกลุ่มจึงยอมจ่ายเงินเพื่อเข้าไปใช้ที่ที่สามบาง
ประเภท
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง จึงเห็นความสาคัญของแนวคิด
และมองเห็นโอกาสที่เราจะศึกษาทาความเข้าใจที่ที่สาม เพื่อให้พื้นที่
เหล่านี้ก่อให้เกิดประโยชน์แก่คนเมืองยุคใหม่ รวมถึงเป็นการเสนอ
แนวทางให้ท้องถิ่นปรับตัวปรับนโยบายการพัฒนาเมืองที่เอื้อให้เกิด
เมืองสุขภาวะอย่างแท้จริง
REFERENCE:
- Albouy, D. (2008). Are Big Cities Bad Places to Live? Estimating Quality of Life across Metro-
politan Areas (NBER Working Paper No. 14472). the National Bureau of Economic Research.
Retrieved from http://www.nber.org/papers/w14472
- Glaeser, E. L., Kolko, J., & Saiz, A. (2001). Consumer city. Journal of Economic Geography, 1
(1), 27–50. https://doi.org/10.1093/jeg/1.1.27
- Oldenburg, R. (1989). The Great Good Place: Cafe ́s, Coffee Shops, Community Centers,
Beauty Parlors, General Stores, Bars, Hangouts, and How They Get You Through The Day. New
York: Marlowe & Company.
- Oldenburg, R. (1996). Our Vanishing ‘Third Places’. Planning Commissions Journal, 25, 6–10.
7 | FURD Cities Monitor December 2017 FURD Cities Monitor December 2017 | 8
ในการทางานโดยทั่วไปแล้วจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีสถานที่ทางานเป็นหลักแหล่ง เพื่อให้ผู้ที่
เกี่ยวข้องสามารถทาและประสานงานระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว แต่ในปัจจุบันด้วยกระแส
ของโลกาภิวัตน์ทาให้ข้อจากัดเรื่องเวลาและสถานที่ลดลงไปมาก เป็นผลจากเทคโนโลยีใหม่ ๆ
โดยเฉพาะอิทธิพลของอินเทอร์เน็ตที่นับวันจะยิ่งมีราคาถูกลงและมีคุณภาพมากขึ้น ดังที่ผู้อ่าน
หลายท่านคงเคยวิดีโอคอล หรือกระทั่งประชุมออนไลน์มาแล้ว เรียกได้ว่าทุกวันนี้เราหยิบจับ
โทรศัพท์มือถือเพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ตมากกว่าใช้โทรหากันด้วยซ้า อีกประการคือการเดินทางมี
ราคาถูกลงจากอดีตมาก จากการเกิดขึ้นของสายการบินต้นทุนต่าทั่วโลกและการที่ประเทศต่าง ๆ
เห็นความสาคัญของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ด้วยเหตุนี้เองทาเกิดให้รูปแบบการทางานใหม่ที่ไม่จาเป็นต้องเป็น“พนักงานออฟฟิศ”อีกแล้ว
โดยเฉพาะหากงานนั้นสามารถทาจากที่ไหนก็ได้บนโลกขอเพียงมีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
เท่านั้น เช่น โปรแกรมเมอร์ นักเขียน และ นักธุรกิจ E-Commerce เมื่อสามารถทางานจากที่ไหนก็ได้
ทาให้มีคนกลุ่มหนึ่งเลือกรูปแบบการใช้ชีวิตที่เดินทางเปลี่ยนที่พักอาศัยอยู่เสมอด้วยกับหลาย
เหตุผล ซึ่งคนที่ใช้ชีวิตแบบนี้มีชื่อเรียกว่า “Digital Nomad” หรือ “นักพเนจรดิจิตัล” ซึ่งในอนาคต
จะมีมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามกระแสโลกาภิวัตน์ที่ไม่หยุดยั้ง
- อุสมำน วำจิ -
9 | FURD Cities Monitor December 2017
แม้ในปัจจุบันรัฐบาลจะพยายาม
ยกระดับเศรษฐกิจของไทยให้มีนวัตกรรม
ใหม่มากขึ้นตามนโยบาย Thailand 4.0
อย่างไรก็ตาม ยังไม่เห็นความคืบหน้าที่
เป็นรูปธรรมเท่าที่ควร แต่ในทางกลับกัน
กลับมีชาวต่างชาติซึ่งเป็น Digital No-
mad จานวนมากที่เข้ามาใช้ชีวิตและ
ทางานในไทยโดยที่ภาครัฐไม่ต้องกระตุ้น
มากนัก เนื่องจากเหตุผลหลายประการที่
เป็นจุดเด่นของไทยอยู่แล้ว
ประการแรก คือ ค่าครองชีพที่ไม่
สูงนัก เนื่องจากชาว Digital Nomad นั้น
มักจะเปลี่ยนที่อยู่เป็นประจาทาให้มี
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าที่พัก
มากกว่าปกติ และสาหรับ Digital Nomad
ที่เริ่มทางานในระยะแรกนั้นมักไม่
สามารถสร้างรายได้มากนักอีกทั้งอาจยัง
ต้องใช้จ่ายลงทุนเพิ่มเติม ฉะนั้น คนกลุ่ม
นี้จึงชื่นชอบเมืองที่มีค่าครองชีพไม่สูง
ด้วยค่าใช้จ่ายเฉลี่ยเพียงราย 1,000
เหรียญสหรัฐฯ ต่อเดือนในไทยก็ทาให้
พวกเขาได้รับคุณภาพชีวิตที่ดีมากแล้ว
หากต้องการอาศัยอย่างประหยัดค่าครอง
ชีพเพียง 300 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเดือน ก็
นับว่าเพียงพอ โดยอาจต้องอาศัยในเมือง
ที่ไม่ใหญ่นักและรู้จักปรับตัวเข้ากับวิถี
ชีวิตท้องถิ่น อีกทั้งการเช่าหรือซื้อสินค้า
ต่าง ๆ นั้นมีขั้นตอนทางเอกสารที่ไม่
ยุ่งยากอีกด้วย ทาให้การตั้งถิ่นฐาน
ชั่วคราวในไทยเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้
การอาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ในสหรัฐฯ และ
ยุโรปอาจจะต้องใช้เงินมากกว่า 2 - 3 เท่า
ทีเดียว และยังมีขั้นตอนทางเอกสาร
มากมาย
FURD Cities Monitor December 2017 | 10
ประการต่อมา คือ สถานที่ท่องเที่ยว
และพักผ่อน เหตุผลที่หลายคนโดยเฉพาะคน
รุ่นใหม่ตัดสินใจใช้ชีวิตแบบนี้เนื่องจากรักใน
การท่องเที่ยวและเดินทาง ซึ่งเมืองไทยนั้นมี
แหล่งท่องเที่ยวมากมายและหลากหลายทา
ให้สามารถท่องเที่ยวได้ตลอดปี อีกทั้งมี
วัฒนธรรมประเพณีที่เป็นที่ชื่นชอบของ
ชาวต่างชาติอีกด้วย นอกจากนี้ นิสัยของคน
ไทยที่มีความโอบอ้อมอารี ยิ้มแย้มแจ่มใส
และเป็นมิตร แม้แต่กับชาวต่างชาติที่พูด
ภาษาไทยไม่ได้ ยังเป็นเรื่องที่ชาวต่างชาติ
ประทับใจอย่างยิ่ง ทาให้ Digital Nomad บาง
คนนั้นกลายเป็น Blogger แนะนาสถานที่
ท่องเที่ยวหรืออาหารท้องถิ่นทั้งเป็นงาน
อดิเรก
คุณภาพของอินเทอร์เน็ตก็นับว่า
สาคัญไม่แพ้กัน แม้อินเทอร์เน็ตของไทยจะไม่
เร็วเท่าประเทศพัฒนาแล้วบางประเทศ แต่ถือ
ว่าอยู่ในระดับที่สามารถใช้งานได้ดีในราคาที่
ไม่สูงนัก และในปัจจุบันด้วยกระแสการ
ทางานผ่านอินเทอร์เน็ตที่มากขึ้นทาให้มี Co-
Working Space เกิดขึ้นมากมาย และหลาย
แห่งนั้นมีความพร้อมที่จะต้อนรับ Digital No-
mad ชาวต่างชาติเป็นการเฉพาะอีกด้วย
แม้แต่ตามเกาะที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวก็มี
อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงและ Co-Working
Space แล้วเพื่อรองรับความต้องการจาก
ชาวต่างชาติที่มากขึ้นเรื่อย ๆ
สุดท้ายเมื่อประเทศไทยดึงดูดให้ Digi-
tal Nomad เข้ามาอย่างมากแล้วจึงกลายเป็น
ข้อดีอีกข้อหนึ่ง จริงอยู่ที่คนกลุ่มนี้จะย้ายที่
พักเป็นระยะ แต่การที่ได้พบปะสังสรรค์กับ
คนแบบเดียวกันย่อมเป็นการสร้างมิตรภาพที่
ดีได้ และหากมีสิ่งใดที่ต้องการความ
ช่วยเหลือหรือคาแนะนา หรือแม้แต่การจ้าง
งานแล้ว การมีเครือข่ายของ Digital Nomad
ที่สามารถพบปะกันได้จริง ๆ ก็ยังมีประโยชน์
มาก
ด้วยความพร้อมดังที่กล่าวมาข้างต้น
จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่เว็บไซต์ Nomadlist.com
ซึ่งเป็นแหล่งรวมตัวสาคัญของ Digital No-
mad จากทั่วโลกจะเลือกให้กรุงเทพฯ และ
เชียงใหม่ติดหนึ่งในสิบของเมืองที่ดีที่สุด
สาหรับการใช้ชีวิตรูปแบบนี้ อีกทั้งมีประเทศ
ไทยและสหรัฐฯ เท่านั้นที่มีเมืองถึงสองเมือง
ติดใน 10 อันดับแรก (อันดับจะมีการ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามความนิยมของ
Digital Nomad ในแต่ละช่วง โดยเฉลี่ยแล้ว
กรุงเทพฯ มักจะเป็นอันดับ 1 - 2 ของโลก
และเชียงใหม่ มักเป็นอันดับ 6 - 7 ของโลก)
11 | FURD Cities Monitor December 2017
ที่ผ่านมาเคยมีความไม่เข้าใจกันระหว่างภาครัฐ
และกลุ่ม Digital Nomad เนื่องจาก digital nomad ไม่ได้
มองว่าตนเข้ามาทางานเต็มรูปแบบหากแต่เป็นกึ่งการ
ทางานกึ่งการท่องเที่ยวมากกว่า จึงใช้วีซ่าสาหรับ
นักท่องเที่ยวในการเข้ามายังประเทศไทย จนบางครั้งนามา
สู่การถูกควบคุมตัวจากเจ้าหน้าที่รัฐเพราะเข้าใจผิดว่าเป็น
การทางานอย่างเต็มตัวที่ผิดจากข้อกาหนดในวีซ่าสาหรับ
การท่องเที่ยว
แต่ปัญหานี้มีแนวโน้มที่จะได้รับการแก้ไข เมื่อเดือน
สิงหาคมที่ผ่านรัฐบาลไทยได้อนุมัติ “Smart VIsa” ซึ่งจะ
เป็นประโยชน์ต่อกลุ่ม digital nomad บางส่วนมาก ความ
พิเศษของวีซ่าประเภทนี้คือผู้ถือวีซ่านั้นได้รับสิทธิขยาย
เวลามารายงานตัวจากทุก ๆ 90 วันเป็นปีละ 1 ครั้ง โดยไม่
ต้องขอ work permit และสามารถอาศัยในประเทศได้สูงสุด
ถึง 4 ปี ขึ้นกับลักษณะของงานที่ทา นอกจากนี้คู่สมรสและ
บุตรของผู้ถือวีซ่ายังได้รับสิทธิทั้งหมดเช่นเดียวกัน แม้
เบื้องต้นวีซ่าประเภทนี้จะอนุญาตเฉพาะผู้เริ่มธุรกิจใหม่โดย
เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี นักลงทุน และผู้มีทักษะ
วิชาชีพระดับสูง แต่คาดว่าในอนาคตอาจจะมีการผ่อนผัน
ให้ครอบคลุม digital nomad หลากหลายสาขาอาชีพขึ้น
FURD Cities Monitor December 2017 | 12
ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า ไทยมีปัจจัยที่เอื้อต่อการเป็นฮับของ Digital No-
mad แต่ยังมีแง่มุมที่ไทยสามารถพัฒนาให้ดีขึ้นได้อีก ซึ่งด้านที่ควรพัฒนามากที่สุดคือ
ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน จากรายงานของ The Economist ได้จัด
อันดับให้กรุงเทพฯ เป็นเมืองที่มีความปลอดภัยอยู่ในอันดับที่ 49 ในขณะที่กรุง
กัวลาลัมเปอร์ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศมาเลเซียอยู่ในอันดับที่ 31 ทั้งที่มาเลเซีย
มีความเจริญทางเศรษฐกิจไม่ต่างจากไทยมากนัก และจากการจัดอันดับขององค์การ
อนามัยโลก ไทยยังมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนมากเป็นอันดับ 2 ของโลกอีก
ด้วย ซึ่งปัจจัยสาคัญมาจากการละเลยในการบังคับใช้กฎหมายและการขาดการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐาน จากการแสดงความเห็นของ Digital Nomad ใน Nomadlist.com
ได้ระบุตรงกันว่าด้านที่แย่ที่สุดของไทยคือ ด้านความปลอดภัยทางถนน อย่างไรก็ตาม
เมื่อพิจารณาโดยรวมอย่างรอบด้านแล้ว ไทยก็ยังดึงดูดให้ Digital Nomad จากทั่วโลก
เข้ามามากขึ้นทุกปี ซึ่งเป็นบทบาทที่ทั้งภาครัฐและเอกชนต้องร่วมกันคิดและทาเพื่อ
รับมือแนวโน้มนี้ต่อไป
REFERENCE :
- http://safecities.economist.com/safe-cities-index-2017
- https://www.forbes.com/sites/niallmccarthy/2016/02/22/the-countries-with-the-most-
per-capita-road-deaths-infographic/#735b277b361a
13 | FURD Cities Monitor December 2017สรุปความจากปาฐกถาเรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง ในงานเสวนา "เมือง กิน คน : นคราภิวัตน์ การพัฒนาเมือง และสุขภาวะของคนเ FURD Cities Monitor December 2017 | 14สรุปความจากปาฐกถาเรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง ในงานเสวนา "เมือง กิน คน : นคราภิวัตน์ การพัฒนาเมือง และสุขภาวะของคนเมืองใหญ่” ที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 31 ตุลาคม 2560
15 | FURD Cities Monitor December 2017 FURD Cities Monitor December 2017 | 16
ประเทศไทยเวลานี้มีกระบวนการที่เรียกว่า “นคราภิวัตน์”
คือ กาลังกลายเป็นเมือง นคราภิวัตน์ อาจเกิดขึ้นเมื่อเรานา
ประเทศเข้าสู่ความ “อารยะ” มีเมืองเป็นศูนย์กลาง หรือหน่วยการ
ปกครองในการบริหารประเทศ ต่อมาเมืองขยายตัวเพราะการซื้อ
ขายสินค้าเกษตร เมืองกลายเป็นโกดัง เป็นร้านค้ารับซื้อ รับขาย
สินค้าเกษตร ต่อมายังขยายตัวอีกเพราะอุตสาหกรรม กรุงเทพ
ชลบุรี นครปฐม เติบโตจากภาคอุตสาหกรรมด้วย ภาคตะวันออก
ภาคกลาง ปริมณฑลก็เติบโตด้วยภาคอุตสาหกรรมทั้งสิ้น ต่อมาอีก
ระยะหนึ่งนคราภิวัตน์ เกิดจากการท่องเที่ยว เมืองหลายเมืองโต
ขึ้นมาเพราะการท่องเที่ยว เช่น ภูเก็ต สมุย พัทยา เชียงใหม่
เชียงราย เมื่อ 10-20 ปีที่ผ่านมา นคราภิวัตน์ เกิดคู่กับการกระจาย
อานาจการพัฒนาการปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นมีบทบาทอย่างมากในการปรับปรุงเมือง และล่าสุดนี้กระแส
นคราภิวัตน์เกิดจากกระแสการท่องเที่ยวของไทย เมืองของเรา
ทั้งหมดรับแขกต่างประเทศปีละหลายสิบล้าน โดยเฉพาะกรุงเทพ
รับแขกจากต่างประเทศปีละ 20 ล้านได้
โลกของเราเป็น “เมือง” มากกว่า “ชนบท” แล้ว เวลานี้
ประชากรทั้งโลกที่อยู่ในเขตเมืองมากกว่าที่อยู่ในเขตชนบทแล้ว
ในไทยขณะนี้ เมืองกับชนบทก็น่าจะมีประชากรเท่าๆ กัน นับจาก
ประชากรที่อยู่ใน กรุงเทพฯ อยู่ในเทศบาลนคร และอยู่ในเทศบาล
เมือง กับประชากรที่อยู่ใน อบต. อยู่ในเทศบาลตาบล จานวน
ใกล้เคียงกัน และตาบลและหมู่บ้านที่เรายังไม่เต็มใจที่จะเรียกว่า
เมืองก็ไม่ใช่ชนบทอย่างเดิมแล้ว ไม่มีชนบทที่ล้าหลัง ไกลปืนเที่ยง
คนส่วนใหญ่ก็เป็นผู้ประกอบการหรือเป็นชนชั้นกลาง ไม่ใช่
ผู้ประกอบการที่มั่งมี สรุปคือประเทศไทยขณะนี้เป็นประเทศเมือง
ไปแล้ว
17 | FURD Cities Monitor December 2017
วิธีที่เราบริหารเมือง นคร และมหานคร ถ้า
ถามว่าหน่วยงานไหนของราชการที่สร้างเมือง
มากที่สุด ผมคิดว่าน่าจะกรมทางหลวงและน่าจะ
เป็นการรถไฟ คือเมืองมันเกิดของมันเอง มัน
ไม่ได้มีหน่วยงานไหน สร้างอย่างมีแผน ในนานา
ประเทศที่อารยะ การบริหารเมืองเป็นเรื่องของ
การปกครองส่วนท้องถิ่น เมืองของต่างประเทศ
เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เมืองวอชิงตัน
ดี.ซี. คนที่ดูแล คือเทศบาลวอชิงตัน ดี.ซี.ใน
ประเทศไทย เราบริหารเมืองโดยใช้ราชการ
ส่วนกลางน่าจะเป็นหลัก แล้วมีราชการส่วน
ภูมิภาคลงมาช่วย ท้องถิ่นมีบทบาทน้อยในการ
สร้างเมือง กล่าวโดยสรุป เราเติบโตด้วย
ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่นนั้นมี
บทบาทเสริมเท่านั้น
นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง
ประเด็นที่สาคัญ คือต้องพยายามคิด พยายามทา
ให้มากขึ้น โดยให้เมือง นคร กรุง หรือพื้นที่มี
บทบาท มีความคิดริเริ่ม มีความสร้างสรรค์ให้
มากขึ้น การพัฒนาประเทศของเรา การพัฒนา
การเมืองของเรา การปฏิรูประบบราชการของเรา
น้อยครั้งที่เราจะคิดจากพื้นที่ เราจะคิดจากกรม
หรือกระทรวง คิดจากลักษณะของงานเป็นหลัก
เราต้องพยายามคิดเป็นพื้นที่ให้มากขึ้น เช่น เรา
จะปฏิรูป จะพัฒนาเมืองชายแดนอย่างไร เพราะ
เมืองชายแดนของไทยพิเศษมาก เมืองชายแดน
เติบโต และลงตัวได้เองโดยไม่ต้องมาขึ้นกับกรม
กระทรวงมากนัก วิธีคิดเดิมของเรานั้นทุกอย่าง
ขึ้นอยู่กับกรม กระทรวง พื้นที่เป็นเพียง
ภาคสนามของกรมและกระทรวง จังหวัดของเรา
ก็เป็นเพียงภาคสนามของภูมิภาคและส่วนกลาง
เมืองในฐานะหน่วยหลัก
ในการพัฒนาประเทศ
ทบทวนการบริหาร
FURD Cities Monitor December 2017 | 18
หากไม่มองเป็นประเทศ มองเป็นเมืองแทน ผมคิดว่าอนาคตค่อนข้าง
จะสดใส แต่ถ้าผมมองประเทศไทย ผมไม่ค่อยเห็นอะไรมากนัก
เพราะฉะนั้น ผมคิดว่าในการปฏิรูปการเมือง นคราภิวัตน์ก็เป็นความหวัง
เป็นพลัง เป็นเจ้าของการพัฒนาและปฏิรูปที่สาคัญ
กระบวนการรักบ้านหรือ “ฮักบ้าน” กระบวนการ “สร้างบ้านแปง
เมือง” หรือกระบวนการร่วมแรงร่วมใจสร้างบ้านสร้างเมืองของเรา มันจะ
ช่วยเสริมสร้างจิตใจ มันจะทาให้มีความหวัง จะยกระดับความเป็นจิตอาสา
ทาคนให้เป็นคนของเมืองจริงๆ ถ้ากล่าวในแง่การปฏิรูปการพัฒนาการเมือง
ก็จะคล้ายๆ กับที่พวกกรีกโบราณเรียกว่า เป็น Self-Government Democ-
racy คือเป็นประชาธิปไตยที่ประชาชนชาวเมืองปกครองตนเองมากขึ้น ต้อง
ใช้ชุมชน ใช้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทา ผลักดันการกระจายอานาจ
ผลักดันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้พัฒนายิ่งขึ้น ในการกระจายอานาจ
และการปกครองส่วนท้องถิ่นจะไม่ได้ทาเพื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเอง
แต่จะทาเพื่อจะให้สิ่งเหล่านี้เป็นพลังไปเสริมกับกระบวนการสร้างบ้านสร้าง
เมืองของประชาชนเอง ทาให้เกิดเป็นเศรษฐกิจ เกิดเป็นรายได้ เกิดเป็น
วัฒนธรรม เกิดเป็นความภาคภูมิใจของชาติของประเทศ
เพราะฉะนั้น นคราภิวัตน์กับการปฏิรูป ส่วนหนึ่งต้องคิดว่า ต้องทาอย่างไรให้
หน่วย (Unit) ในการคิดของเราไม่จากัดแค่เพียงชาติหรือประเทศ หรือบ้านเมืองที่
หมายถึงชาติ หรือเศรษฐกิจที่หมายถึงเศรษฐกิจชาติอย่างเดียว จะต้องสนใจเมือง
นคร ให้มากขึ้น จะต้องสร้างเมืองนิยม จะต้องสร้างประวัติศาสตร์เมือง จะต้อง
สร้างความภูมิใจ จะต้องเชิดชูเมืองให้มากกว่านี้ มันจะต้องมี “ใจของเมือง” ซึ่งมัน
จะต้องเปลี่ยนจากภายใน (Inner Revolution) ด้วย เป็นการปฏิรูปจากภายใน หล่อ
หลอมกันไปเป็นจิตใจของเมือง ชาวเมือง ขยันพัฒนาสร้างบ้านแปงมือง ถ้าทา
แบบนี้ได้ เมือง นคร มหานคร จะกลายเป็นหน่วยสาคัญของการปฏิรูปประเทศใน
ภาพรวมได้ ไม่ใช่แค่หน่วยงานราชการ
พลังสาคัญที่ไม่เป็นทางการ
ติดตามบทความฉบับเต็มได้ที่ นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง โดย ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
(http://furd-rsu.org/?page_id=4687)
เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนำคต
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ทุนทำงสังคมกับกำรพัฒนำเมือง
ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์
เมืองขวำงนำ
ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า
ชุดหนังสือเมือง
เอนกทรรศน์
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
เศรษฐศำสตร์บนทำงสำยกลำง
ศ.ดร. ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
หนังสือออกใหม่
สั่งซื้อได้ที่ ...
1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com
2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ)
3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies
เมืองนิยม
ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์
เมือง กิน คน
ผศ.ดร. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์
วิทยาลัยรัฐกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ
ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก
ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่
ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้
เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ
จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่
และระดับประเทศ
ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง
ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี
ประสิทธิภาพ
ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ
หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย
การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่
ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย
การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง
ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน
อนาคตสืบไป
ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต
637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
Website: www.furd-rsu.org
Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

Mehr von FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

FURD CITIES MONITOR VOL.7 (DECEMBER 2017)

  • 1. ปี ที่ 1 ฉบับที่ 7 ประจำเดือน ธันวำคม 2560 เมืองไทยมีดีอะไร ทำไม Digital Nomad ทั่วโลกต้องมำ นครำภิวัตน์ กับกำรปฏิรูปประเทศไทย
  • 2. บรรณาธิการ ยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ช่วยบรรณาธิการ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร กองบรรณาธิการ ณัฐธิดา เย็นบารุง จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ออกแบบและรูปเล่ม อรุณ สถิตพงศ์สถาพร ภาพปก อรุณ สถิตพงศ์สถาพร Freepik.com ภาพในเล่ม อภิชญา โออินทร์ อรุณ สถิตพงศ์สถาพร Freepik.com เผยแพร่ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 CONTACT US www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864 ในที่สุด เราก็เดินทางมาถึงเดือนสุดท้ายของปี 2560 กันแล้ว ทางศูนย์ศึกษามหานครและเมืองขอส่ง ท้ายปีด้วยเรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับ ‘ที่ที่สาม (Third Place)’ ที่กาลังเป็นกระแสนิยมและสะท้อนถึงพฤติกรรมคน เมืองในยุคปัจจุบันที่มีแนวโน้มใช้ที่ที่สามเพิ่มมากขึ้น ส่วนหนึ่งเกิดจากการเข้าสู่โลกยุคดิจิทัล ทาให้ที่ที่สาม กลายเป็นสถานที่ที่ตอบโจทย์กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่นิยมหันมาทางานอิสระและใช้เทคโนโลยีในการทางาน ซึ่งเรา เรียกคนกลุ่มนี้ว่า ‘ดิจิทัลโนแมด (Digital Nomad)’ ที่น่าทึ่งคือ เมืองในไทยเป็นเมืองที่กลุ่มคนเหล่านี้เข้ามา มากเป็นอันดับต้นๆ ของโลก โดยเฉพาะกรุงเทพฯ และเชียงใหม่ ศูนย์ศึกษามหานครและเมืองจึงให้ความสนใจในประเด็นที่ที่สามในประเทศไทย ซึ่งไม่ได้มีเพียงแค่ใน กรุงเทพฯ และเชียงใหม่ แต่มีกระจายอยู่ตามเขตเมืองในต่างจังหวัด เพื่อให้ท้องถิ่นที่เป็นฝ่ายกาหนดนโยบาย และผู้ประกอบการที่เป็นฝ่ายเอกชน ได้ตระหนักและเห็นโอกาสถึงแนวทางและบทบาทในการใช้ที่ที่สาม รองรับคนรุ่นใหม่และตอบโจทย์การพัฒนาเมือง ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ เมืองไทยมีดีอะไร ทำไม Digital Nomad ทั่วโลกต้องมำ THIRD PLACE กับกำรพัฒนำใจของเมือง นครำภิวัตน์ กับกำรปฏิรูปกำรเมือง
  • 3. 1 | FURD Cities Monitor December 2017 FURD Cities Monitor December 2017 | 2 ในประเทศไทย เรามีความใกล้ชิดกับ ‘ที่ที่สาม’ เป็นอย่างดี ตั้งแต่วัดวาอาราม ร้าน กาแฟ ตลาดนัด ไปจนถึงห้างสรรพสินค้า ล้วน เป็นสถานที่ที่คนไทยผูกพันมานาน เปรียบได้ว่า หากโรงเรียนกับที่ทางานคือบ้านหลังที่สอง ที่ เหล่านี้ก็คือบ้านหลังที่สามของคนเรานั่นเอง ในทางวิชาการ ศาสตราจารย์เรย์ โอลเดนเบิร์ก (Ray Oldenburg) นักสังคมวิทยา เมืองชาวอเมริกัน ได้ให้นิยาม ‘ที่ที่สาม’ ไว้ กว้างๆ ว่า เป็นพื้นที่ที่เปิดรับการรวมกลุ่มเป็น ประจา ด้วยความสมัครใจ และคาดหวัง บรรยากาศที่มีความสุขของคนเมือง โดยไม่นับ รวมอาณาบริเวณของ ‘ที่บ้าน’ และ ‘ที่ทางาน’ เช่น สวนสาธารณะ คาเฟ่ ร้านกาแฟ ร้าน หนังสือ บาร์ เหล่านี้เป็นองค์ประกอบที่จาเป็น และสาคัญในการสร้างสุขภาวะสังคม อารย ธรรมและเมืองที่ยิ่งใหญ่ แต่พื้นที่เหล่านี้ใน สหรัฐอเมริกากลับค่อยๆ หายไปตั้งแต่ยุคหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง เพราะคนเมืองต่างหัน มาพึ่งพารถยนต์และย้ายไปอยู่ชานเมืองกันมาก ขึ้น เราจึงต้องหันมาให้ความสนใจกับ ‘ที่ที่สาม’ กันมากขึ้น โดยศาสตราจารย์โอลเดนเบิร์กได้ อ ธิ บ า ย คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ที่ ที่ ส า ม ไ ว้ 8 ประการ ดังนี้ - อภิชญำ โออินทร์ - นักวิจัยภำยใต้ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง
  • 4. 3 | FURD Cities Monitor December 2017 ประการแรก ที่ที่สามมีความเป็ นกลาง (Neutral Ground) นั่นคือ ต้องเป็นสถานที่ที่คนจะมา หรือไปได้ตามใจชอบ ผู้มาเยือนมีอิสระในการเข้าออก ได้เท่าที่ต้องการ ประการที่สอง ที่ที่สามสร้างความเท่าเทียม และการผสมผสาน (Leveler and Mixer) กล่าวคือ ไม่ได้เป็นเพียงที่ที่เอื้ออานวยให้มีการเข้าออกอย่าง เสรีเท่านั้น แต่ยังทาหน้าที่ในการลบเลือนความ แตกต่างของผู้มาเยือนได้อีกด้วย ประการที่สาม บทสนทนาที่สนุกสนานเป็น กิจกรรมหลักที่เกิดขึ้นในที่ที่สาม (Conversation is the main activity) กล่าวคือ ในที่ที่สามจะต้องเกิด การพูดคุยที่มีชีวิตชีวา จุดประกายความคิด มีสีสัน และเกิดการปะทะสังสรรค์ระหว่างผู้มาเยือน ประการที่สี่ ที่ที่สามมักมีขาประจา (The Regulars) เพราะขาประจาที่มาเยือนและใช้เวลาอยู่ที่ นั่นจะเป็นผู้กาหนดบุคลิก ลักษณะ บรรยากาศ และ โทนของการพบปะสังสรรค์ของสถานที่นั้น ๆ ประการที่ห้า ที่ที่สามจะต้องเข้าถึงได้ง่าย แ ล ะ เ ปิ ด รับ ผู้ ค น ที่ เ ข้ า ม า เ ป็ น ป ร ะ จ า (Accessibility & Accommodation) ประการที่หก ผู้มาเยือนจะไม่เป็นที่จับตา มองมากนัก (A Low Profile) เป็นที่ซึ่งให้ความรู้สึก เหมือนบ้านและปราศจากการเรียกร้องใด ๆ ประการที่เจ็ด อารมณ์ของสถานที่จะ สนุกสนาน ( The mood is playful) อารมณ์ โดยทั่วไปของสถานที่ผ่อนคลาย มีชีวิตชีวา ไม่เป็น จริงเป็นจังมาก ประการสุดท้าย ที่ที่สามเปรียบเป็นบ้าน หลังที่สอง (A home away from home) คือ ให้ บรรยากาศเสมือนอยู่บ้าน รู้สึกเป็นเจ้าของ อบอุ่น สัมพันธ์แน่นแฟ้นกับคนอื่น FURD Cities Monitor December 2017 | 4 การทาความเข้าใจ “ที่ที่สาม” นับเป็นจุดเริ่มต้นของการทาความเข้าใจคุณภาพชีวิต ของคนเมือง นอกเหนือจากการดูแค่ตัวเลขการจ้างงานและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นักเศรษฐศาสตร์เมืองหลายท่านชี้ว่า คนเมืองจะพอใจเมืองที่เขาอยู่หรือไม่นั้นขึ้นอยู่ 3 สิ่ง ด้วยกัน คือ คุณภาพชีวิต ค่าจ้างที่แท้จริง และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง อีกทั้งยังให้ข้อสรุป ในแนวทางเดียวกันว่า สิ่งอานวยความสะดวกของเมือง (Urban Amenities) และความน่า ดึงดูดทางธรรมชาติ (Natural Amenities) มีความสาคัญต่อคุณภาพชีวิต ฉะนั้น แนวคิด เรื่อง ‘ที่ที่สาม’ จึงมีความเกี่ยวโยงกับคุณภาพชีวิตในเมืองอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
  • 5. 5 | FURD Cities Monitor December 2017 ศาสตราจารย์โอลเดนเบิร์กได้อธิบายเพิ่มเติม ถึงความสาคัญของ “ที่ที่สาม” ต่อคนและชุมชนเมืองว่า แท้จริงแล้ว “ที่ที่สาม” มีประโยชน์หลายอย่าง ได้แก่ หนึ่ง ที่ที่สามช่วยทาให้ผู้คนในละแวกนั้น มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน (Unifying Neighbourhoods) สอง ที่ที่สามเป็นเสมือนประตูแรกเข้า สาหรับผู้มาเยือนและผู้มาอยู่ใหม่ในชุมชนหนึ่ง (Ports of Entry) เพราะที่ที่สามมักเป็นศูนย์รวมข้อมูลข่าวสาร ของชุมชน สาม ที่ที่สามเป็นพื้นที่คัดสรรค์ (Sorting Areas) เพราะเป็นที่ที่คนซึ่งมีความสนใจพิเศษตามหา กันและกัน และเป็นพื้นฐานของการเกิดวัฒนธรรม ท้องถิ่นในย่านหรือบริเวณนั้น สี่ ที่ที่สามทาให้เยาวชนคนรุ่นใหม่และคน รุ่นเก่าได้ปฏิสัมพันธ์กัน (Association of Youth and Adults) ห้า ที่ที่สามช่วยดูแลชุมชน (Caring for the Neighbourhood) เพราะคนที่เป็นเจ้าของที่ที่สามโดย ส่วนใหญ่จะมีบุคลิกที่ใส่ใจต่อสาธารณะ (Public Char- acters ตามคาเรียกของ Jane Jacobs) รู้จักทุกคนใน ละแวก และคอยสอดส่องดูแลเยาวชน รวมทั้งให้ข้อมูล ข่าวสารใหม่ ๆ กับขาประจา ด้วย หก ที่ที่สามส่งเสริมให้เกิดการอภิปราย ถกเถียงทางการเมือง (Fostering Political Debate) เจ็ด ที่ที่สามช่วยลดค่าครองชีพ (Reducing the Cost of Living) เพราะเมื่อผู้คนเข้าหาและมี ปฏิสัมพันธ์ต่อกันก็จะมีแนวโน้มช่วยเหลือกันในเรื่อง ต่าง ๆ แปด ที่ ที่ ส า ม ใ ห้ ค ว า ม ส นุก ส น า น (Entertaining) เก้า ที่ที่สามให้มิตรภาพที่ดี (Giving the Gift of Friendship) เพราะลักษณะของความเป็นกลาง (Neutral Ground) ของที่ที่สามทาให้ความรับผิดชอบ ในการจัดการและความกดดันไม่ได้ตกอยู่ กับใครคน ใดคนหนึ่ง สิบ ที่ที่ส าม มีค วาม สาคัญต่อ ค น วัย เกษียณ (Important for Retired People) FURD Cities Monitor December 2017 | 6 จากนิยาม “ที่ที่สาม” จะเห็นได้ว่า ใจกลางสาคัญอยู่ที่คนว่าไป ในที่แห่งนั้นเพราะเหตุใด ไปทากิจกรรมอะไร มากกว่าการกาหนด ลักษณะทางกายภาพและเงื่อนไขในการเข้าถึงเป็นสาคัญ ดังนั้น นิยาม ดังกล่าวจึงนับรวมสถานที่ของเอกชนที่การจับจ่ายใช้สอยและดื่มกิน เป็นกิจกรรมหลักอย่างหนึ่งซึ่งมีต้นทุนต่อผู้เข้าใช้ ในขณะเดียวกัน “ที่ที่ สาม” ก็ยังนับรวมพื้นที่สาธารณะที่ใคร ๆ ก็เข้าถึงได้โดยไม่ต้องจ่าย เป็นตัวเงิน (ไม่นับรวมค่าใช้จ่ายในการเดินทาง) อย่างไรก็ดี แม้ว่าพื้นที่ เหล่านี้จะไม่มีต้นทุนในการเข้าถึงเลย แต่ก็ใช่ว่าทุกแห่งจะประสบ ความสาเร็จในการเป็นที่ที่สาม คาถามที่น่าสนใจคือ ปัจจัยอะไรที่ทาให้ พื้นที่สาธารณะบางแห่งไม่สามารถดึงดูดคนให้เข้ามาใช้ได้ ทั้ง ๆ ที่ไม่มี ค่าใช้จ่าย แล้วทาไมคนบางกลุ่มจึงยอมจ่ายเงินเพื่อเข้าไปใช้ที่ที่สามบาง ประเภท ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง จึงเห็นความสาคัญของแนวคิด และมองเห็นโอกาสที่เราจะศึกษาทาความเข้าใจที่ที่สาม เพื่อให้พื้นที่ เหล่านี้ก่อให้เกิดประโยชน์แก่คนเมืองยุคใหม่ รวมถึงเป็นการเสนอ แนวทางให้ท้องถิ่นปรับตัวปรับนโยบายการพัฒนาเมืองที่เอื้อให้เกิด เมืองสุขภาวะอย่างแท้จริง REFERENCE: - Albouy, D. (2008). Are Big Cities Bad Places to Live? Estimating Quality of Life across Metro- politan Areas (NBER Working Paper No. 14472). the National Bureau of Economic Research. Retrieved from http://www.nber.org/papers/w14472 - Glaeser, E. L., Kolko, J., & Saiz, A. (2001). Consumer city. Journal of Economic Geography, 1 (1), 27–50. https://doi.org/10.1093/jeg/1.1.27 - Oldenburg, R. (1989). The Great Good Place: Cafe ́s, Coffee Shops, Community Centers, Beauty Parlors, General Stores, Bars, Hangouts, and How They Get You Through The Day. New York: Marlowe & Company. - Oldenburg, R. (1996). Our Vanishing ‘Third Places’. Planning Commissions Journal, 25, 6–10.
  • 6. 7 | FURD Cities Monitor December 2017 FURD Cities Monitor December 2017 | 8 ในการทางานโดยทั่วไปแล้วจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีสถานที่ทางานเป็นหลักแหล่ง เพื่อให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องสามารถทาและประสานงานระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว แต่ในปัจจุบันด้วยกระแส ของโลกาภิวัตน์ทาให้ข้อจากัดเรื่องเวลาและสถานที่ลดลงไปมาก เป็นผลจากเทคโนโลยีใหม่ ๆ โดยเฉพาะอิทธิพลของอินเทอร์เน็ตที่นับวันจะยิ่งมีราคาถูกลงและมีคุณภาพมากขึ้น ดังที่ผู้อ่าน หลายท่านคงเคยวิดีโอคอล หรือกระทั่งประชุมออนไลน์มาแล้ว เรียกได้ว่าทุกวันนี้เราหยิบจับ โทรศัพท์มือถือเพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ตมากกว่าใช้โทรหากันด้วยซ้า อีกประการคือการเดินทางมี ราคาถูกลงจากอดีตมาก จากการเกิดขึ้นของสายการบินต้นทุนต่าทั่วโลกและการที่ประเทศต่าง ๆ เห็นความสาคัญของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้วยเหตุนี้เองทาเกิดให้รูปแบบการทางานใหม่ที่ไม่จาเป็นต้องเป็น“พนักงานออฟฟิศ”อีกแล้ว โดยเฉพาะหากงานนั้นสามารถทาจากที่ไหนก็ได้บนโลกขอเพียงมีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต เท่านั้น เช่น โปรแกรมเมอร์ นักเขียน และ นักธุรกิจ E-Commerce เมื่อสามารถทางานจากที่ไหนก็ได้ ทาให้มีคนกลุ่มหนึ่งเลือกรูปแบบการใช้ชีวิตที่เดินทางเปลี่ยนที่พักอาศัยอยู่เสมอด้วยกับหลาย เหตุผล ซึ่งคนที่ใช้ชีวิตแบบนี้มีชื่อเรียกว่า “Digital Nomad” หรือ “นักพเนจรดิจิตัล” ซึ่งในอนาคต จะมีมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามกระแสโลกาภิวัตน์ที่ไม่หยุดยั้ง - อุสมำน วำจิ -
  • 7. 9 | FURD Cities Monitor December 2017 แม้ในปัจจุบันรัฐบาลจะพยายาม ยกระดับเศรษฐกิจของไทยให้มีนวัตกรรม ใหม่มากขึ้นตามนโยบาย Thailand 4.0 อย่างไรก็ตาม ยังไม่เห็นความคืบหน้าที่ เป็นรูปธรรมเท่าที่ควร แต่ในทางกลับกัน กลับมีชาวต่างชาติซึ่งเป็น Digital No- mad จานวนมากที่เข้ามาใช้ชีวิตและ ทางานในไทยโดยที่ภาครัฐไม่ต้องกระตุ้น มากนัก เนื่องจากเหตุผลหลายประการที่ เป็นจุดเด่นของไทยอยู่แล้ว ประการแรก คือ ค่าครองชีพที่ไม่ สูงนัก เนื่องจากชาว Digital Nomad นั้น มักจะเปลี่ยนที่อยู่เป็นประจาทาให้มี ค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าที่พัก มากกว่าปกติ และสาหรับ Digital Nomad ที่เริ่มทางานในระยะแรกนั้นมักไม่ สามารถสร้างรายได้มากนักอีกทั้งอาจยัง ต้องใช้จ่ายลงทุนเพิ่มเติม ฉะนั้น คนกลุ่ม นี้จึงชื่นชอบเมืองที่มีค่าครองชีพไม่สูง ด้วยค่าใช้จ่ายเฉลี่ยเพียงราย 1,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเดือนในไทยก็ทาให้ พวกเขาได้รับคุณภาพชีวิตที่ดีมากแล้ว หากต้องการอาศัยอย่างประหยัดค่าครอง ชีพเพียง 300 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเดือน ก็ นับว่าเพียงพอ โดยอาจต้องอาศัยในเมือง ที่ไม่ใหญ่นักและรู้จักปรับตัวเข้ากับวิถี ชีวิตท้องถิ่น อีกทั้งการเช่าหรือซื้อสินค้า ต่าง ๆ นั้นมีขั้นตอนทางเอกสารที่ไม่ ยุ่งยากอีกด้วย ทาให้การตั้งถิ่นฐาน ชั่วคราวในไทยเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ การอาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ในสหรัฐฯ และ ยุโรปอาจจะต้องใช้เงินมากกว่า 2 - 3 เท่า ทีเดียว และยังมีขั้นตอนทางเอกสาร มากมาย FURD Cities Monitor December 2017 | 10 ประการต่อมา คือ สถานที่ท่องเที่ยว และพักผ่อน เหตุผลที่หลายคนโดยเฉพาะคน รุ่นใหม่ตัดสินใจใช้ชีวิตแบบนี้เนื่องจากรักใน การท่องเที่ยวและเดินทาง ซึ่งเมืองไทยนั้นมี แหล่งท่องเที่ยวมากมายและหลากหลายทา ให้สามารถท่องเที่ยวได้ตลอดปี อีกทั้งมี วัฒนธรรมประเพณีที่เป็นที่ชื่นชอบของ ชาวต่างชาติอีกด้วย นอกจากนี้ นิสัยของคน ไทยที่มีความโอบอ้อมอารี ยิ้มแย้มแจ่มใส และเป็นมิตร แม้แต่กับชาวต่างชาติที่พูด ภาษาไทยไม่ได้ ยังเป็นเรื่องที่ชาวต่างชาติ ประทับใจอย่างยิ่ง ทาให้ Digital Nomad บาง คนนั้นกลายเป็น Blogger แนะนาสถานที่ ท่องเที่ยวหรืออาหารท้องถิ่นทั้งเป็นงาน อดิเรก คุณภาพของอินเทอร์เน็ตก็นับว่า สาคัญไม่แพ้กัน แม้อินเทอร์เน็ตของไทยจะไม่ เร็วเท่าประเทศพัฒนาแล้วบางประเทศ แต่ถือ ว่าอยู่ในระดับที่สามารถใช้งานได้ดีในราคาที่ ไม่สูงนัก และในปัจจุบันด้วยกระแสการ ทางานผ่านอินเทอร์เน็ตที่มากขึ้นทาให้มี Co- Working Space เกิดขึ้นมากมาย และหลาย แห่งนั้นมีความพร้อมที่จะต้อนรับ Digital No- mad ชาวต่างชาติเป็นการเฉพาะอีกด้วย แม้แต่ตามเกาะที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวก็มี อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงและ Co-Working Space แล้วเพื่อรองรับความต้องการจาก ชาวต่างชาติที่มากขึ้นเรื่อย ๆ สุดท้ายเมื่อประเทศไทยดึงดูดให้ Digi- tal Nomad เข้ามาอย่างมากแล้วจึงกลายเป็น ข้อดีอีกข้อหนึ่ง จริงอยู่ที่คนกลุ่มนี้จะย้ายที่ พักเป็นระยะ แต่การที่ได้พบปะสังสรรค์กับ คนแบบเดียวกันย่อมเป็นการสร้างมิตรภาพที่ ดีได้ และหากมีสิ่งใดที่ต้องการความ ช่วยเหลือหรือคาแนะนา หรือแม้แต่การจ้าง งานแล้ว การมีเครือข่ายของ Digital Nomad ที่สามารถพบปะกันได้จริง ๆ ก็ยังมีประโยชน์ มาก ด้วยความพร้อมดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่เว็บไซต์ Nomadlist.com ซึ่งเป็นแหล่งรวมตัวสาคัญของ Digital No- mad จากทั่วโลกจะเลือกให้กรุงเทพฯ และ เชียงใหม่ติดหนึ่งในสิบของเมืองที่ดีที่สุด สาหรับการใช้ชีวิตรูปแบบนี้ อีกทั้งมีประเทศ ไทยและสหรัฐฯ เท่านั้นที่มีเมืองถึงสองเมือง ติดใน 10 อันดับแรก (อันดับจะมีการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามความนิยมของ Digital Nomad ในแต่ละช่วง โดยเฉลี่ยแล้ว กรุงเทพฯ มักจะเป็นอันดับ 1 - 2 ของโลก และเชียงใหม่ มักเป็นอันดับ 6 - 7 ของโลก)
  • 8. 11 | FURD Cities Monitor December 2017 ที่ผ่านมาเคยมีความไม่เข้าใจกันระหว่างภาครัฐ และกลุ่ม Digital Nomad เนื่องจาก digital nomad ไม่ได้ มองว่าตนเข้ามาทางานเต็มรูปแบบหากแต่เป็นกึ่งการ ทางานกึ่งการท่องเที่ยวมากกว่า จึงใช้วีซ่าสาหรับ นักท่องเที่ยวในการเข้ามายังประเทศไทย จนบางครั้งนามา สู่การถูกควบคุมตัวจากเจ้าหน้าที่รัฐเพราะเข้าใจผิดว่าเป็น การทางานอย่างเต็มตัวที่ผิดจากข้อกาหนดในวีซ่าสาหรับ การท่องเที่ยว แต่ปัญหานี้มีแนวโน้มที่จะได้รับการแก้ไข เมื่อเดือน สิงหาคมที่ผ่านรัฐบาลไทยได้อนุมัติ “Smart VIsa” ซึ่งจะ เป็นประโยชน์ต่อกลุ่ม digital nomad บางส่วนมาก ความ พิเศษของวีซ่าประเภทนี้คือผู้ถือวีซ่านั้นได้รับสิทธิขยาย เวลามารายงานตัวจากทุก ๆ 90 วันเป็นปีละ 1 ครั้ง โดยไม่ ต้องขอ work permit และสามารถอาศัยในประเทศได้สูงสุด ถึง 4 ปี ขึ้นกับลักษณะของงานที่ทา นอกจากนี้คู่สมรสและ บุตรของผู้ถือวีซ่ายังได้รับสิทธิทั้งหมดเช่นเดียวกัน แม้ เบื้องต้นวีซ่าประเภทนี้จะอนุญาตเฉพาะผู้เริ่มธุรกิจใหม่โดย เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี นักลงทุน และผู้มีทักษะ วิชาชีพระดับสูง แต่คาดว่าในอนาคตอาจจะมีการผ่อนผัน ให้ครอบคลุม digital nomad หลากหลายสาขาอาชีพขึ้น FURD Cities Monitor December 2017 | 12 ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า ไทยมีปัจจัยที่เอื้อต่อการเป็นฮับของ Digital No- mad แต่ยังมีแง่มุมที่ไทยสามารถพัฒนาให้ดีขึ้นได้อีก ซึ่งด้านที่ควรพัฒนามากที่สุดคือ ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน จากรายงานของ The Economist ได้จัด อันดับให้กรุงเทพฯ เป็นเมืองที่มีความปลอดภัยอยู่ในอันดับที่ 49 ในขณะที่กรุง กัวลาลัมเปอร์ซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศมาเลเซียอยู่ในอันดับที่ 31 ทั้งที่มาเลเซีย มีความเจริญทางเศรษฐกิจไม่ต่างจากไทยมากนัก และจากการจัดอันดับขององค์การ อนามัยโลก ไทยยังมีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนมากเป็นอันดับ 2 ของโลกอีก ด้วย ซึ่งปัจจัยสาคัญมาจากการละเลยในการบังคับใช้กฎหมายและการขาดการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน จากการแสดงความเห็นของ Digital Nomad ใน Nomadlist.com ได้ระบุตรงกันว่าด้านที่แย่ที่สุดของไทยคือ ด้านความปลอดภัยทางถนน อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาโดยรวมอย่างรอบด้านแล้ว ไทยก็ยังดึงดูดให้ Digital Nomad จากทั่วโลก เข้ามามากขึ้นทุกปี ซึ่งเป็นบทบาทที่ทั้งภาครัฐและเอกชนต้องร่วมกันคิดและทาเพื่อ รับมือแนวโน้มนี้ต่อไป REFERENCE : - http://safecities.economist.com/safe-cities-index-2017 - https://www.forbes.com/sites/niallmccarthy/2016/02/22/the-countries-with-the-most- per-capita-road-deaths-infographic/#735b277b361a
  • 9. 13 | FURD Cities Monitor December 2017สรุปความจากปาฐกถาเรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง ในงานเสวนา "เมือง กิน คน : นคราภิวัตน์ การพัฒนาเมือง และสุขภาวะของคนเ FURD Cities Monitor December 2017 | 14สรุปความจากปาฐกถาเรื่อง นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง ในงานเสวนา "เมือง กิน คน : นคราภิวัตน์ การพัฒนาเมือง และสุขภาวะของคนเมืองใหญ่” ที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 31 ตุลาคม 2560
  • 10. 15 | FURD Cities Monitor December 2017 FURD Cities Monitor December 2017 | 16 ประเทศไทยเวลานี้มีกระบวนการที่เรียกว่า “นคราภิวัตน์” คือ กาลังกลายเป็นเมือง นคราภิวัตน์ อาจเกิดขึ้นเมื่อเรานา ประเทศเข้าสู่ความ “อารยะ” มีเมืองเป็นศูนย์กลาง หรือหน่วยการ ปกครองในการบริหารประเทศ ต่อมาเมืองขยายตัวเพราะการซื้อ ขายสินค้าเกษตร เมืองกลายเป็นโกดัง เป็นร้านค้ารับซื้อ รับขาย สินค้าเกษตร ต่อมายังขยายตัวอีกเพราะอุตสาหกรรม กรุงเทพ ชลบุรี นครปฐม เติบโตจากภาคอุตสาหกรรมด้วย ภาคตะวันออก ภาคกลาง ปริมณฑลก็เติบโตด้วยภาคอุตสาหกรรมทั้งสิ้น ต่อมาอีก ระยะหนึ่งนคราภิวัตน์ เกิดจากการท่องเที่ยว เมืองหลายเมืองโต ขึ้นมาเพราะการท่องเที่ยว เช่น ภูเก็ต สมุย พัทยา เชียงใหม่ เชียงราย เมื่อ 10-20 ปีที่ผ่านมา นคราภิวัตน์ เกิดคู่กับการกระจาย อานาจการพัฒนาการปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นมีบทบาทอย่างมากในการปรับปรุงเมือง และล่าสุดนี้กระแส นคราภิวัตน์เกิดจากกระแสการท่องเที่ยวของไทย เมืองของเรา ทั้งหมดรับแขกต่างประเทศปีละหลายสิบล้าน โดยเฉพาะกรุงเทพ รับแขกจากต่างประเทศปีละ 20 ล้านได้ โลกของเราเป็น “เมือง” มากกว่า “ชนบท” แล้ว เวลานี้ ประชากรทั้งโลกที่อยู่ในเขตเมืองมากกว่าที่อยู่ในเขตชนบทแล้ว ในไทยขณะนี้ เมืองกับชนบทก็น่าจะมีประชากรเท่าๆ กัน นับจาก ประชากรที่อยู่ใน กรุงเทพฯ อยู่ในเทศบาลนคร และอยู่ในเทศบาล เมือง กับประชากรที่อยู่ใน อบต. อยู่ในเทศบาลตาบล จานวน ใกล้เคียงกัน และตาบลและหมู่บ้านที่เรายังไม่เต็มใจที่จะเรียกว่า เมืองก็ไม่ใช่ชนบทอย่างเดิมแล้ว ไม่มีชนบทที่ล้าหลัง ไกลปืนเที่ยง คนส่วนใหญ่ก็เป็นผู้ประกอบการหรือเป็นชนชั้นกลาง ไม่ใช่ ผู้ประกอบการที่มั่งมี สรุปคือประเทศไทยขณะนี้เป็นประเทศเมือง ไปแล้ว
  • 11. 17 | FURD Cities Monitor December 2017 วิธีที่เราบริหารเมือง นคร และมหานคร ถ้า ถามว่าหน่วยงานไหนของราชการที่สร้างเมือง มากที่สุด ผมคิดว่าน่าจะกรมทางหลวงและน่าจะ เป็นการรถไฟ คือเมืองมันเกิดของมันเอง มัน ไม่ได้มีหน่วยงานไหน สร้างอย่างมีแผน ในนานา ประเทศที่อารยะ การบริหารเมืองเป็นเรื่องของ การปกครองส่วนท้องถิ่น เมืองของต่างประเทศ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เมืองวอชิงตัน ดี.ซี. คนที่ดูแล คือเทศบาลวอชิงตัน ดี.ซี.ใน ประเทศไทย เราบริหารเมืองโดยใช้ราชการ ส่วนกลางน่าจะเป็นหลัก แล้วมีราชการส่วน ภูมิภาคลงมาช่วย ท้องถิ่นมีบทบาทน้อยในการ สร้างเมือง กล่าวโดยสรุป เราเติบโตด้วย ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่นนั้นมี บทบาทเสริมเท่านั้น นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง ประเด็นที่สาคัญ คือต้องพยายามคิด พยายามทา ให้มากขึ้น โดยให้เมือง นคร กรุง หรือพื้นที่มี บทบาท มีความคิดริเริ่ม มีความสร้างสรรค์ให้ มากขึ้น การพัฒนาประเทศของเรา การพัฒนา การเมืองของเรา การปฏิรูประบบราชการของเรา น้อยครั้งที่เราจะคิดจากพื้นที่ เราจะคิดจากกรม หรือกระทรวง คิดจากลักษณะของงานเป็นหลัก เราต้องพยายามคิดเป็นพื้นที่ให้มากขึ้น เช่น เรา จะปฏิรูป จะพัฒนาเมืองชายแดนอย่างไร เพราะ เมืองชายแดนของไทยพิเศษมาก เมืองชายแดน เติบโต และลงตัวได้เองโดยไม่ต้องมาขึ้นกับกรม กระทรวงมากนัก วิธีคิดเดิมของเรานั้นทุกอย่าง ขึ้นอยู่กับกรม กระทรวง พื้นที่เป็นเพียง ภาคสนามของกรมและกระทรวง จังหวัดของเรา ก็เป็นเพียงภาคสนามของภูมิภาคและส่วนกลาง เมืองในฐานะหน่วยหลัก ในการพัฒนาประเทศ ทบทวนการบริหาร FURD Cities Monitor December 2017 | 18 หากไม่มองเป็นประเทศ มองเป็นเมืองแทน ผมคิดว่าอนาคตค่อนข้าง จะสดใส แต่ถ้าผมมองประเทศไทย ผมไม่ค่อยเห็นอะไรมากนัก เพราะฉะนั้น ผมคิดว่าในการปฏิรูปการเมือง นคราภิวัตน์ก็เป็นความหวัง เป็นพลัง เป็นเจ้าของการพัฒนาและปฏิรูปที่สาคัญ กระบวนการรักบ้านหรือ “ฮักบ้าน” กระบวนการ “สร้างบ้านแปง เมือง” หรือกระบวนการร่วมแรงร่วมใจสร้างบ้านสร้างเมืองของเรา มันจะ ช่วยเสริมสร้างจิตใจ มันจะทาให้มีความหวัง จะยกระดับความเป็นจิตอาสา ทาคนให้เป็นคนของเมืองจริงๆ ถ้ากล่าวในแง่การปฏิรูปการพัฒนาการเมือง ก็จะคล้ายๆ กับที่พวกกรีกโบราณเรียกว่า เป็น Self-Government Democ- racy คือเป็นประชาธิปไตยที่ประชาชนชาวเมืองปกครองตนเองมากขึ้น ต้อง ใช้ชุมชน ใช้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทา ผลักดันการกระจายอานาจ ผลักดันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้พัฒนายิ่งขึ้น ในการกระจายอานาจ และการปกครองส่วนท้องถิ่นจะไม่ได้ทาเพื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเอง แต่จะทาเพื่อจะให้สิ่งเหล่านี้เป็นพลังไปเสริมกับกระบวนการสร้างบ้านสร้าง เมืองของประชาชนเอง ทาให้เกิดเป็นเศรษฐกิจ เกิดเป็นรายได้ เกิดเป็น วัฒนธรรม เกิดเป็นความภาคภูมิใจของชาติของประเทศ เพราะฉะนั้น นคราภิวัตน์กับการปฏิรูป ส่วนหนึ่งต้องคิดว่า ต้องทาอย่างไรให้ หน่วย (Unit) ในการคิดของเราไม่จากัดแค่เพียงชาติหรือประเทศ หรือบ้านเมืองที่ หมายถึงชาติ หรือเศรษฐกิจที่หมายถึงเศรษฐกิจชาติอย่างเดียว จะต้องสนใจเมือง นคร ให้มากขึ้น จะต้องสร้างเมืองนิยม จะต้องสร้างประวัติศาสตร์เมือง จะต้อง สร้างความภูมิใจ จะต้องเชิดชูเมืองให้มากกว่านี้ มันจะต้องมี “ใจของเมือง” ซึ่งมัน จะต้องเปลี่ยนจากภายใน (Inner Revolution) ด้วย เป็นการปฏิรูปจากภายใน หล่อ หลอมกันไปเป็นจิตใจของเมือง ชาวเมือง ขยันพัฒนาสร้างบ้านแปงมือง ถ้าทา แบบนี้ได้ เมือง นคร มหานคร จะกลายเป็นหน่วยสาคัญของการปฏิรูปประเทศใน ภาพรวมได้ ไม่ใช่แค่หน่วยงานราชการ พลังสาคัญที่ไม่เป็นทางการ ติดตามบทความฉบับเต็มได้ที่ นคราภิวัตน์กับการปฏิรูปการเมือง โดย ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ (http://furd-rsu.org/?page_id=4687)
  • 12. เมือง ย้อนคิด มุ่งสู่อนำคต ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ทุนทำงสังคมกับกำรพัฒนำเมือง ศ.ดร. อานันท์ กาญจนพันธุ์ เมืองขวำงนำ ศ. กิตติคุณ เดชา บุญค้า ชุดหนังสือเมือง เอนกทรรศน์ ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เศรษฐศำสตร์บนทำงสำยกลำง ศ.ดร. ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์ หนังสือออกใหม่ สั่งซื้อได้ที่ ... 1 ) ร้านหนังสือออนไลน์ : CPWIBOOKS.lnwshop.com 2) เบอร์โทรศัพท์ 02-938-8826 (ในเวลาราชการ) 3) Facebook Page : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง Center for Megacity and City Studies เมืองนิยม ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เมือง กิน คน ผศ.ดร. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2557 จากดาริ ของ ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ โดยความเห็นชอบและสนับสนุนจาก ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต เนื่องด้วยความปรารถนาที่ ต้องการให้เป็นคลังปัญญาเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน โดยมีพันธกิจดังนี้ เพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และ จัดการความรู้ให้สามารถเชื่อมโยงสู่นโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในระดับพื้นที่ และระดับประเทศ ให้เกิดการเชื่อมประสานเครือข่ายภาคีพัฒนาเมืองทั้ง ภายในและต่างประเทศ เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนให้มี ประสิทธิภาพ ในการสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองสุขภาวะ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ได้ริเริ่มจัดทาโครงการ หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ ” และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ ” โดย การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักคือ สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่ ตอบสนองต่อการพัฒนาเมืองของไทย จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักคิดและผู้นาการพัฒนาเมือง และสร้างเครือข่าย การพัฒนาเมือง นอกจากนี้ได้ริเริ่ม โดยมหาวิทยาลัยรังสิตมอบรางวัลเป็นประจาทุกปี เพื่อเชิดชูยกย่อง ผู้นาหรือผู้สร้างบ้านแปงเมือง อันจะเป็นกาลังใจสร้างให้เกิดความภูมิใจและเป็นพลังสร้างสรรค์การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนใน อนาคตสืบไป
  • 13. ศูนย์ศึกษำมหำนครและเมือง วิทยำลัยรัฐกิจ มหำวิทยำลัยรังสิต 637/1 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Website: www.furd-rsu.org Tel. (+66) 2938 8826 Fax. (+66) 2938 8864