SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
บทที่ 7 กลยุทธ์กระบวนการและการวางแผนการผลิต
1 การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการผลิตและการปฏิบัติการ แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์โดย รชฏ ขาบุญและคณะ ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ ทางการศึกษาเท่านั้น
กลยุทธ์กระบวนการ 4 ประเภท 
การวิเคราะห์และการออกแบบกระบวนการ 
การออกแบบกระบวนการงานบริการ 
การเลือกเครื่องจักรอุปกรณ์ และเทคโนโลยี 
เทคโนโลยีการผลิต 
กาลังการผลิต 
การวางแผนกาลังการผลิต 
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน 
2
กระบวนการแปลงสภาพ คือ กระบวนการหรือวิธีการ แปลงทรัพยากรการผลิตต่าง ได้แก่ วัตถุดิบ พนักงาน เครื่องจักร อุปกรณ์ เงินทุน และอื่นๆ ให้กลายเป็นสินค้า หรือบริการที่ต้องการ 
กลยุทธ์กระบวนการ คือ ความพยายามที่จะหาวิธีการที่ ดีสุดในการแปลงสภาพเพื่อให้สินค้าหรือบริการสอดคล้อง กับความต้องการของผู้บริโภคและตรงตามข้อกาหนดของ ฝ่ายออกแบบ โดยควบคุมต้นทุนการผลิตและตอบสนอง ต่อเงื่อนไขของฝ่ายอื่นๆ 
3
4 
กลยุทธ์กระบวนการ 4 ประเภท
กระบวนการผลิตกว่า 75% ทั่วโลก เป็นการผลิตตามคาสั่ง ซื้อ โดยมุ่งเน้นการผลิตผลิตภัณฑ์หลายชนิด แต่ผลิตในปริมาณ ไม่มาก โดยจะจัดเป็นหมวดหมู่หรือชนิดของกระบวนการ ทาให้ สามารถทางานในบริเวณเดียวกันภายใต้การควบคุมดูแลของ พนักงานที่ทาหน้าที่คล้ายกัน 
ข้อดี คือ เพิ่มความยืดหยุ่นในการผลิตสินค้าได้หลากหลาย และ สามารถหยุดงานใดงานหนึ่งเพื่อทางานอีกงานแทนในช่วงเวลาที่ ต้องการสินค้าชนิดนั้นด่วนเป็นพิเศษได้ กระบวนการนี้มีอีกชื่อ หนึ่งว่า กระบวนการผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง 
5 
1.การมุ่งเน้นตามกระบวนการ
6
2. การมุ่งเน้นการทาซ้า 
กระบวนการนี้จะใช้โมดุล ซึ่งก็คือชิ้นส่วนหรือส่วนประกอบ ที่เตรียมไว้ก่อนล่วงหน้ามาประกอบในสายการผลิต หากต้องการ สินค้าที่ใกล้เคียงแค่เปลี่ยนโมดุล ก็จะสามารถผลิตสินค้าได้อีก ลักษณะ 
ข้อดี 
1.ด้านต้นทุนการผลิต มีการเตรียมล่วงหน้า ทาให้สามรถผลิตได้ จานวนมาก 
2.ด้านความสามารถในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า เนื่องจากสามารถผลิตได้หลากหลายจากการมีได้หลายโมดุลตาม ความต้องการของลูกค้า 
7
8
3. การมุ่งเน้นตามผลิตภัณฑ์ 
เป็นกระบวนการที่ผลิตสินค้าที่มีจานวนชนิด ผลิตภัณฑ์ไม่มาก โดยที่แต่ละผลิตภัณฑ์จะผลิตในปริมาณมาก เครื่องจักรจะถูกจัดเรียงตามขั้นตอนและลาดับการผลิตของแต่ ละชนิดผลิตภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์จะเคลื่อนที่อย่างต่อเนื่องบน สายการผลิต 
กระบวนการผลิตนี้มักมีการลงทุนเบื้องต้นในระบบ การผลิตสูง โดยมีต้นทุนคงที่สูงและต้นทุนแปรผันต่า เป็นการ ผลิตสินค้าปริมาณมาก(Mass production) 
ข้อดี ง่ายต่อการควบคุมคุณภาพ 
9
10
4. การมุ่งเน้นการตอบสนองตามความต้องการ ของผู้บริโภคเฉพาะราย 
กระบวนการผลิตนี้เป็นแนวทางที่ตอบสนองด้วยความ รวดเร็วและต้นทุนการผลิตต่า 
หัวใจสาคัญของกลยุทธ์นี้ต้องอาศัยการผสมผสานระหว่าง การออกแบบผลิตภัณฑ์แบบโมดูลของกลยุทธ์มุ่งเน้นการทาซ้า หลักการผลิตรวดเร็วของกลยุทธ์มุ่งเน้นผลิตภัณฑ์ และการจัด ตารางผลิตที่มีประสิทธิภาพจากกลยุทธ์มุ่งเน้นตามกระบวนการ มาประกอบเข้าด้วยกัน 
11
การวิเคราะห์และการออกแบบกระบวนการ 
เครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์และการออกแบบกระบวนการ 
1.แผนภาพการไหล (Flow diagram) 
เป็นการใช้แผนภาพเพื่อแสดงการไหลของวัตถุดิบ ชิ้นงาน หรือ ข้อมูล เคลื่อนผ่านกระบวนการต่างๆจนกระทั่งกลายเป็นผลิตภัณฑ์ ที่ต้องการ 
2.แผนผังงานตามเวลา (Time-function mapping) 
เป็นแผนผังที่มีลักษณะเหมือนกับแผนภาพการไหลแต่เพิ่ม ระยะเวลาของการทางานแต่ละขั้นตอนเข้ามาพิจารณาร่วมในแกน นอน จะใช้สัญลักษณ์วงกลมแทนกิจกรรม และสัญลักษณ์ลูกศร แทนทิศทางการไหลของงาน โดยมีเวลากากับไว้ในแกนนอน 
12
3.สายธารแห่งคุณค่า (Value-Stream Mapping: VSM) 
แสดงให้เห็นถึงการไหลของวัตถุดิบและข้อมูลที่เคลื่อนผ่านไปยัง กระบวนการต่างๆ ที่เกิดคุณค่าและไม่เกิดคุณค่าในกระบวนการ ผลิตและโซ่อุปทาน เพื่อให้สามารถวิเคราะห์และเข้าใจถึง กระบวนการที่เกี่ยวข้อง 
4.แผนภูมิกระบวนการ (Process charts) 
เป็นแผนภูมิที่ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ เพื่อมาอธิบายกระบวนการในแต่ ละขั้นตอนย่อยจนกระทั่งกลายเป็นสินค้าที่ต้องการ สัญลักษณ์ 5 รูปแบบจะใช้แทนขั้นตอนการทางาน 5 งานย่อยได้แก่ ปฏิบัติการ ขนส่ง ตรวจสอบ หยุดรอ และจัดเก็บ 
13
ตัวอย่าง แผนผังงานตามเวลา 
14 
ตัวอย่าง แผนภูมิกระบวนการ
การออกแบบกระบวนการงานบริการ การปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าและการออกแบบกระบวนการงานบริการ 
15
การเลือกเครื่องจักรอุปกรณ์และเทคโนโลยี 
การตัดสินใจนี้มีความยุ่งยากและซับซ้อน มักขึ้นอยู่กับ ประเภทของการผลิตและบริการ 
การเลือกเครื่องจักรอุปกรณ์ หรือเทคโนโลยีที่ดีและ เหมาะสม สามารถทาให้บริษัทมีความได้เปรียบทางการแข่งขัน ได้ บริษัทหลายบริษัทต่างพยายามคิดค้นเครื่องจักรการผลิตขึ้น เอง หรือเทคนิคเฉพาะของตนเองเพื่อให้สามารถผลิตสินค้าหรือ บริการที่เหนือกว่าคู่แข่ง ความสามารถทางการแข่งขันนี้อาจ ได้มาจากราคาสินค้าที่ถูกกว่า คุณภาพที่ดีกว่า หรือความ ยืดหยุ่นในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ดีกว่า 
16
เทคโนโลยีทางการผลิต 
1.เทคโนโลยีเครื่องจักรกล (Machine Technology)เป็น ระบบควบคุมอย่างชาญฉลาด (Intelligence control) ทาให้ องค์กรควบคุมเครื่องจักรได้อย่างง่ายดาย 
2.ระบบพิสูจน์ทราบอัตโนมัติ (Automat Identification System:AIS) เครื่องจักรส่วนใหญ่ถูกควบคุมด้วยระบบ ดิจิตอล เนื่องจากระบบดิจิตอลช่วยให้ส่งข้อมูลปริมาณมากๆ ในรูปแบบของบิตและไบตส์ 
3.การควบคุมกระบวนการ (Process Control)เป็นการนา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ติดตามและควบคุมกระบวนการ ผลิตสินค้าหรืองานบริการ 
17
4.ระบบตรวจสอบด้วยภาพ (Vision Systems)เป็นการ ทางานร่วมกันระหว่างกล้องถ่ายภาพวีดีทัศน์กับเทคโนโลยีทาง คอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการตรวจสอบกระบวนการผลิตหรือการ ดาเนินงาน 
5.หุ่นยนต์อุสาหกรรม (Robots)คือเครื่องจักรที่มีความ ยืดหยุ่นสามารถจับยึดและเคลื่อนชิ้นงานหรือเครื่องมือการผลิต ให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางและระยะที่ต้องการ 
6.ระบบจัดเก็บสินค้าคงคลังและเรียกคืนอัตโนมัติ (Automated Storage and Retrieval System : ASRS) เป็น ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการควบคุมอัตโนมัติ โดยแสดง ตาแหน่งว่างที่เหมาะสมกับชิ้นงาน และจะสั่งให้ชุดจัดเก็บ เคลื่อนเข้าไปจัดเก็บบนที่ว่างนั้น 
18
7.พาหนะขนส่งชิ้นงานด้วยระบบนาร่องอัตโนมัติ (Automated Guided Vehicles : AGV)เป็นระบบที่ใช้ หลักการของการขับเคลื่อนรถหรือพาหนะขนาดเล็กด้วยลวดนา ร่อง ซึ่งทิศทางการเคลื่อนที่จะถูกกาหนดโดยศูนย์ควบคุม 
8.ระบบการผลิตแบบยืดหยุ่น(Flexible Manufacturing System: FMS)เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ถูกนามาใช้ในการ ควบคุมหน่วยการผลิต ที่ประกอบด้วยเครื่องจักรกลและอุปกรณ์ ขนถ่ายวัสดุให้สามารถทางานประสานกันได้อย่างอัตโนมัติ 
9.การผสานระบบคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบการผลิตอย่าง บูรณาการ (Computer Integrated Manufacturing: CIM) เป็นการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยให้การออกแบบจะส่ง ข้อมูลชุดคาสั่งไปให้กับเครื่องจักรกล เพื่อให้เครื่องจักรทาการ ผลิตสินค้าตามที่ออกแบบมาในเวลาเพียงไม่กี่นาที 
19
กาลังการผลิต (Capacity) 
กาลังการผลิต คือปริมาณงานหรือจานวนหน่วย ปฏิบัติการสามารถที่จะผลิต รองรับ หรือจัดเก็บได้ในหนึ่งหน่วย เวลา กาลังการผลิตมีผลต่อต้นทุนเป็นอย่างมาก เพราะกาลัง การผลิตจะต้องมีความสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า 
กาลังการผลิตตามแผนและกาลังการผลิตหวังผล 
กาลังการผลิตตามแผน (Design capacity)คือกาลังการผลิต สูงสุดทางทฤษฎีภายใต้สภาพอุดมคติ โดยจะมีการวัดเป็นอัตรา 
การผลิตหวังผล (Effective capacity)คือกาลังการผลิตที่ บริษัทมักคาดหวังที่จะได้รับ ภายใต้เงื่อนไขต่างๆที่เป็นข้อจากัด ของกระบวนการ 
20
ดัชนีชีวัดที่นิยมใช้ในการวัดสมรรถนะของระบบ 
ตัวอย่าง ผู้จัดการร้าน Sara James Bakery จะต้องเพิ่มกาลัง การผลิตเพื่อให้สอดคล้องต่อความต้องการของลูกค้า โดยทาการ เพิ่มอีกหนึ่งสายการผลิต กาลังการผลิตหวังผลของสายการผลิตนี้ เท่ากับสายการผลิตแรกคือ 175000 ชิ้น แต่ประสิทธิภาพของ สายการผลิตนี้มีค่าเพียง 75% อันเนื่องจากความชานาญที่น้อย กว่าสายการผลิตแรก ผู้จัดการต้องการคานวณหาผลผลิตที่ เกิดขึ้นจริงของสายการผลิตนี้ 
ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง =กาลังการผลิตหวังผล * ประสิทธิภาพ 
=175000*0.75 = 131250 ชิ้นต่อสัปดาห์ 
21 
อรรถประโยชน์ = ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง/กาลังการผลิตตามแผน ประสิทธิภาพ = ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง/กาลังการผลิตหวังผล
องค์ประกอบในการพิจารณาเลือกกาลังการผลิตที่เหมาะสม 
1. พยากรณ์ความต้องการของลูกค้าอย่างแม่นยา 
2. กาหนดทางเลือกของการเปลี่ยนแปลงกาลังการผลิต 
3. เลือกระดับกาลังการผลิตที่เหมาะสมที่สุด 
4. ปรับกาลังการผลิตเพื่อรับการเปลี่ยนแปลง 
22 
กาลังการผลิตและกลยุทธ์ 
การที่บริษัทจะสามารถสร้างกาไรอย่างยั่งยืนได้เป็นผล มาจากการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น การตัดสินใจเลือกกาลังการผลิตจะต้องถูกพิจารณาร่วม ไปพร้อมกับพันธกิจและกลยุทธ์ขององค์การ
การวางแผนกาลังการผลิต 
การประเมินความต้องการการ ผลิตในอนาคตเป็นกระบวนการที่ทา ได้ค่อนข้างยากทั้งนี้เนื่องจากขึ้นอยู่ กับความต้องการของลูกค้าในอนาคต หากสามารถพยากรณ์ความต้องการ ของลูกค้าได้อย่างถูกต้องแม่นยา ก็ จะสามารถกาหนดความต้องการ กาลังการผลิตได้อย่างเหมาะสมมาก ยิ่งขึ้น 
23
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-Even analysis) 
จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนคือ ต้องการหา ตาแหน่งที่รายรับเท่ากับรายจ่ายในรูปของตัวเงินหรือหน่วย การผลิต 
ส่วนประกอบของการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน 
ต้นทุนคงที่ (Fixed costs) 
ต้นทุนแปรผัน (Variable costs) 
ต้นทุนรวม (Total costs) 
สมการรายรับ (Revenue functions) 
จุดคุ้มทุน (Break-even point) 
24
สมมุติฐาน มีหลายสมมุติฐานในการนาจุดคุ้มทุนไปใช้ในการ วางแผนกาลังการผลิต หนึ่งในนั้นได้แก่ ต้นทุนและรายได้จะต้อง เพิ่มขึ้นในลักษณะเป็นเส้นตรง 
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนด้วยกราฟ มีขั้นตอนดังนี้ 
กาหนดเส้นต้นทุน 
กาหนดเส้นรายรับ 
 กาหนดหาจุดตัดระหว่างเส้นต้นทุนรวมและเส้นรายรับ 
25
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนด้วยวิธีพีชคณิต เป็นการวิเคราะห์ด้วยการคานวณ จากสูตร โดยกาหนดให้ BEPx=จุดคุ้มทุนในหน่วยจานวนสินค้า 
BEPs=จุดคุ้มทุนในหน่วยของเงิน 
P =ราคาต่อหน่วยสินค้า 
x = จานวนสินค้า 
TR= รายรับรวม = Px 
F = ต้นทุนคงที่ 
V= ต้นทุนแปรผันต่อหน่วย 
TC= ต้นทุนรวม = F+Vx 
จุดคุ้มทุนสามารถคานวณได้จาก รายรับรวม (TR)= ต้นทุนรวม (TC) 
Px= F+Vx 
แก้สมการจะได้ BEPx= 
ดังนั้นจะได้ว่า รายได้จุดคุ้มทุน= ปริมาณสินค้า ณ จุดคุ้มทุน x ราคาสินค้า 
26
BEPs= (BEPx)P 
= P = 
= 
กาไร = รายรับรวม (TR)-ต้นทุนรวม (TC) 
= Px-(F + Vx) 
= Px-F -Vx 
= (P –V)x -F 
ด้วยสมการดังกล่าว สามารถแก้เพื่อหาจุดคุ้มทุนด้วยสูตรต่อไปนี้ 
จุดคุ้มทุนในหน่วยจานวนสินค้า = 
จุดคุ้มทุนในหน่วยของเงิน = 
27
การคานวณหาจุดคุ้มทุนในกรณีผลิตสินค้าหลายชนิด 
บริษัทส่วนใหญ่มักมีสินค้าหลากหลายประเภท ซึ่งสินค้าแต่ละ ประเภทก็มีต้นทุนและราคาขายที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม บริษัทสามารถวิเคราะห์จุดคุ้มทุนรวมโดยการกาหนดน้าหนักให้ สินค้าแต่ละประเภทแตกต่างกัน โดยใช้สมการ ดังนี้ 
BEPs= 
กาหนดให้ V = ต้นทุนแปรผันต่อหน่วย 
P = ราคาขายต่อหน่วย 
F = ต้นทุนคงที่ 
W=เปอร์เซ็นต์ยอดขายของสินค้าแต่ละรายการ โดยเทียบกับยอดขายรวม 
I = สินค้าแต่ละชนิด 28

More Related Content

What's hot

บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาAttaporn Ninsuwan
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการtumetr
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตRungnapa Rungnapa
 
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพPrakob Chantarakamnerd
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 

What's hot (20)

บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทานบทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 11 การจัดการโซ่อุปทาน
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวดระบบการผลิตแบบเป็นงวด
ระบบการผลิตแบบเป็นงวด
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 

Similar to บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต

บทที่ 14 การผลิต
บทที่ 14 การผลิตบทที่ 14 การผลิต
บทที่ 14 การผลิตPrapaporn Boonplord
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structurekrissapat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Managementtltutortutor
 
2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)
2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)
2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)krissapat
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีSaranyu Srisrontong
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)krissapat
 
Information Technology for Business
Information Technology for BusinessInformation Technology for Business
Information Technology for BusinessChairat Jussapalo
 

Similar to บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต (20)

Chapter2 part1
Chapter2 part1Chapter2 part1
Chapter2 part1
 
บทที่ 14 การผลิต
บทที่ 14 การผลิตบทที่ 14 การผลิต
บทที่ 14 การผลิต
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
Workshop03
Workshop03Workshop03
Workshop03
 
4 ca-process structure
4 ca-process structure4 ca-process structure
4 ca-process structure
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Management
 
Ch6
Ch6Ch6
Ch6
 
2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)
2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)
2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
1 ca-cpu structure (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-17)
 
P5202240039
P5202240039P5202240039
P5202240039
 
Information Technology for Business
Information Technology for BusinessInformation Technology for Business
Information Technology for Business
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

More from Dr.Krisada [Hua] RMUTT (17)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation Management
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 

บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต

  • 1. บทที่ 7 กลยุทธ์กระบวนการและการวางแผนการผลิต 1 การนาเสนอภาพนิ่งนี้ จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการผลิตและการปฏิบัติการ แปลถูกต้องตามลิขสิทธิ์โดย รชฏ ขาบุญและคณะ ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ ทางการศึกษาเท่านั้น
  • 2. กลยุทธ์กระบวนการ 4 ประเภท การวิเคราะห์และการออกแบบกระบวนการ การออกแบบกระบวนการงานบริการ การเลือกเครื่องจักรอุปกรณ์ และเทคโนโลยี เทคโนโลยีการผลิต กาลังการผลิต การวางแผนกาลังการผลิต การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน 2
  • 3. กระบวนการแปลงสภาพ คือ กระบวนการหรือวิธีการ แปลงทรัพยากรการผลิตต่าง ได้แก่ วัตถุดิบ พนักงาน เครื่องจักร อุปกรณ์ เงินทุน และอื่นๆ ให้กลายเป็นสินค้า หรือบริการที่ต้องการ กลยุทธ์กระบวนการ คือ ความพยายามที่จะหาวิธีการที่ ดีสุดในการแปลงสภาพเพื่อให้สินค้าหรือบริการสอดคล้อง กับความต้องการของผู้บริโภคและตรงตามข้อกาหนดของ ฝ่ายออกแบบ โดยควบคุมต้นทุนการผลิตและตอบสนอง ต่อเงื่อนไขของฝ่ายอื่นๆ 3
  • 5. กระบวนการผลิตกว่า 75% ทั่วโลก เป็นการผลิตตามคาสั่ง ซื้อ โดยมุ่งเน้นการผลิตผลิตภัณฑ์หลายชนิด แต่ผลิตในปริมาณ ไม่มาก โดยจะจัดเป็นหมวดหมู่หรือชนิดของกระบวนการ ทาให้ สามารถทางานในบริเวณเดียวกันภายใต้การควบคุมดูแลของ พนักงานที่ทาหน้าที่คล้ายกัน ข้อดี คือ เพิ่มความยืดหยุ่นในการผลิตสินค้าได้หลากหลาย และ สามารถหยุดงานใดงานหนึ่งเพื่อทางานอีกงานแทนในช่วงเวลาที่ ต้องการสินค้าชนิดนั้นด่วนเป็นพิเศษได้ กระบวนการนี้มีอีกชื่อ หนึ่งว่า กระบวนการผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง 5 1.การมุ่งเน้นตามกระบวนการ
  • 6. 6
  • 7. 2. การมุ่งเน้นการทาซ้า กระบวนการนี้จะใช้โมดุล ซึ่งก็คือชิ้นส่วนหรือส่วนประกอบ ที่เตรียมไว้ก่อนล่วงหน้ามาประกอบในสายการผลิต หากต้องการ สินค้าที่ใกล้เคียงแค่เปลี่ยนโมดุล ก็จะสามารถผลิตสินค้าได้อีก ลักษณะ ข้อดี 1.ด้านต้นทุนการผลิต มีการเตรียมล่วงหน้า ทาให้สามรถผลิตได้ จานวนมาก 2.ด้านความสามารถในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า เนื่องจากสามารถผลิตได้หลากหลายจากการมีได้หลายโมดุลตาม ความต้องการของลูกค้า 7
  • 8. 8
  • 9. 3. การมุ่งเน้นตามผลิตภัณฑ์ เป็นกระบวนการที่ผลิตสินค้าที่มีจานวนชนิด ผลิตภัณฑ์ไม่มาก โดยที่แต่ละผลิตภัณฑ์จะผลิตในปริมาณมาก เครื่องจักรจะถูกจัดเรียงตามขั้นตอนและลาดับการผลิตของแต่ ละชนิดผลิตภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์จะเคลื่อนที่อย่างต่อเนื่องบน สายการผลิต กระบวนการผลิตนี้มักมีการลงทุนเบื้องต้นในระบบ การผลิตสูง โดยมีต้นทุนคงที่สูงและต้นทุนแปรผันต่า เป็นการ ผลิตสินค้าปริมาณมาก(Mass production) ข้อดี ง่ายต่อการควบคุมคุณภาพ 9
  • 10. 10
  • 11. 4. การมุ่งเน้นการตอบสนองตามความต้องการ ของผู้บริโภคเฉพาะราย กระบวนการผลิตนี้เป็นแนวทางที่ตอบสนองด้วยความ รวดเร็วและต้นทุนการผลิตต่า หัวใจสาคัญของกลยุทธ์นี้ต้องอาศัยการผสมผสานระหว่าง การออกแบบผลิตภัณฑ์แบบโมดูลของกลยุทธ์มุ่งเน้นการทาซ้า หลักการผลิตรวดเร็วของกลยุทธ์มุ่งเน้นผลิตภัณฑ์ และการจัด ตารางผลิตที่มีประสิทธิภาพจากกลยุทธ์มุ่งเน้นตามกระบวนการ มาประกอบเข้าด้วยกัน 11
  • 12. การวิเคราะห์และการออกแบบกระบวนการ เครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์และการออกแบบกระบวนการ 1.แผนภาพการไหล (Flow diagram) เป็นการใช้แผนภาพเพื่อแสดงการไหลของวัตถุดิบ ชิ้นงาน หรือ ข้อมูล เคลื่อนผ่านกระบวนการต่างๆจนกระทั่งกลายเป็นผลิตภัณฑ์ ที่ต้องการ 2.แผนผังงานตามเวลา (Time-function mapping) เป็นแผนผังที่มีลักษณะเหมือนกับแผนภาพการไหลแต่เพิ่ม ระยะเวลาของการทางานแต่ละขั้นตอนเข้ามาพิจารณาร่วมในแกน นอน จะใช้สัญลักษณ์วงกลมแทนกิจกรรม และสัญลักษณ์ลูกศร แทนทิศทางการไหลของงาน โดยมีเวลากากับไว้ในแกนนอน 12
  • 13. 3.สายธารแห่งคุณค่า (Value-Stream Mapping: VSM) แสดงให้เห็นถึงการไหลของวัตถุดิบและข้อมูลที่เคลื่อนผ่านไปยัง กระบวนการต่างๆ ที่เกิดคุณค่าและไม่เกิดคุณค่าในกระบวนการ ผลิตและโซ่อุปทาน เพื่อให้สามารถวิเคราะห์และเข้าใจถึง กระบวนการที่เกี่ยวข้อง 4.แผนภูมิกระบวนการ (Process charts) เป็นแผนภูมิที่ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ เพื่อมาอธิบายกระบวนการในแต่ ละขั้นตอนย่อยจนกระทั่งกลายเป็นสินค้าที่ต้องการ สัญลักษณ์ 5 รูปแบบจะใช้แทนขั้นตอนการทางาน 5 งานย่อยได้แก่ ปฏิบัติการ ขนส่ง ตรวจสอบ หยุดรอ และจัดเก็บ 13
  • 14. ตัวอย่าง แผนผังงานตามเวลา 14 ตัวอย่าง แผนภูมิกระบวนการ
  • 16. การเลือกเครื่องจักรอุปกรณ์และเทคโนโลยี การตัดสินใจนี้มีความยุ่งยากและซับซ้อน มักขึ้นอยู่กับ ประเภทของการผลิตและบริการ การเลือกเครื่องจักรอุปกรณ์ หรือเทคโนโลยีที่ดีและ เหมาะสม สามารถทาให้บริษัทมีความได้เปรียบทางการแข่งขัน ได้ บริษัทหลายบริษัทต่างพยายามคิดค้นเครื่องจักรการผลิตขึ้น เอง หรือเทคนิคเฉพาะของตนเองเพื่อให้สามารถผลิตสินค้าหรือ บริการที่เหนือกว่าคู่แข่ง ความสามารถทางการแข่งขันนี้อาจ ได้มาจากราคาสินค้าที่ถูกกว่า คุณภาพที่ดีกว่า หรือความ ยืดหยุ่นในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ดีกว่า 16
  • 17. เทคโนโลยีทางการผลิต 1.เทคโนโลยีเครื่องจักรกล (Machine Technology)เป็น ระบบควบคุมอย่างชาญฉลาด (Intelligence control) ทาให้ องค์กรควบคุมเครื่องจักรได้อย่างง่ายดาย 2.ระบบพิสูจน์ทราบอัตโนมัติ (Automat Identification System:AIS) เครื่องจักรส่วนใหญ่ถูกควบคุมด้วยระบบ ดิจิตอล เนื่องจากระบบดิจิตอลช่วยให้ส่งข้อมูลปริมาณมากๆ ในรูปแบบของบิตและไบตส์ 3.การควบคุมกระบวนการ (Process Control)เป็นการนา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ติดตามและควบคุมกระบวนการ ผลิตสินค้าหรืองานบริการ 17
  • 18. 4.ระบบตรวจสอบด้วยภาพ (Vision Systems)เป็นการ ทางานร่วมกันระหว่างกล้องถ่ายภาพวีดีทัศน์กับเทคโนโลยีทาง คอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการตรวจสอบกระบวนการผลิตหรือการ ดาเนินงาน 5.หุ่นยนต์อุสาหกรรม (Robots)คือเครื่องจักรที่มีความ ยืดหยุ่นสามารถจับยึดและเคลื่อนชิ้นงานหรือเครื่องมือการผลิต ให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางและระยะที่ต้องการ 6.ระบบจัดเก็บสินค้าคงคลังและเรียกคืนอัตโนมัติ (Automated Storage and Retrieval System : ASRS) เป็น ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการควบคุมอัตโนมัติ โดยแสดง ตาแหน่งว่างที่เหมาะสมกับชิ้นงาน และจะสั่งให้ชุดจัดเก็บ เคลื่อนเข้าไปจัดเก็บบนที่ว่างนั้น 18
  • 19. 7.พาหนะขนส่งชิ้นงานด้วยระบบนาร่องอัตโนมัติ (Automated Guided Vehicles : AGV)เป็นระบบที่ใช้ หลักการของการขับเคลื่อนรถหรือพาหนะขนาดเล็กด้วยลวดนา ร่อง ซึ่งทิศทางการเคลื่อนที่จะถูกกาหนดโดยศูนย์ควบคุม 8.ระบบการผลิตแบบยืดหยุ่น(Flexible Manufacturing System: FMS)เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ถูกนามาใช้ในการ ควบคุมหน่วยการผลิต ที่ประกอบด้วยเครื่องจักรกลและอุปกรณ์ ขนถ่ายวัสดุให้สามารถทางานประสานกันได้อย่างอัตโนมัติ 9.การผสานระบบคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบการผลิตอย่าง บูรณาการ (Computer Integrated Manufacturing: CIM) เป็นการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยให้การออกแบบจะส่ง ข้อมูลชุดคาสั่งไปให้กับเครื่องจักรกล เพื่อให้เครื่องจักรทาการ ผลิตสินค้าตามที่ออกแบบมาในเวลาเพียงไม่กี่นาที 19
  • 20. กาลังการผลิต (Capacity) กาลังการผลิต คือปริมาณงานหรือจานวนหน่วย ปฏิบัติการสามารถที่จะผลิต รองรับ หรือจัดเก็บได้ในหนึ่งหน่วย เวลา กาลังการผลิตมีผลต่อต้นทุนเป็นอย่างมาก เพราะกาลัง การผลิตจะต้องมีความสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า กาลังการผลิตตามแผนและกาลังการผลิตหวังผล กาลังการผลิตตามแผน (Design capacity)คือกาลังการผลิต สูงสุดทางทฤษฎีภายใต้สภาพอุดมคติ โดยจะมีการวัดเป็นอัตรา การผลิตหวังผล (Effective capacity)คือกาลังการผลิตที่ บริษัทมักคาดหวังที่จะได้รับ ภายใต้เงื่อนไขต่างๆที่เป็นข้อจากัด ของกระบวนการ 20
  • 21. ดัชนีชีวัดที่นิยมใช้ในการวัดสมรรถนะของระบบ ตัวอย่าง ผู้จัดการร้าน Sara James Bakery จะต้องเพิ่มกาลัง การผลิตเพื่อให้สอดคล้องต่อความต้องการของลูกค้า โดยทาการ เพิ่มอีกหนึ่งสายการผลิต กาลังการผลิตหวังผลของสายการผลิตนี้ เท่ากับสายการผลิตแรกคือ 175000 ชิ้น แต่ประสิทธิภาพของ สายการผลิตนี้มีค่าเพียง 75% อันเนื่องจากความชานาญที่น้อย กว่าสายการผลิตแรก ผู้จัดการต้องการคานวณหาผลผลิตที่ เกิดขึ้นจริงของสายการผลิตนี้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง =กาลังการผลิตหวังผล * ประสิทธิภาพ =175000*0.75 = 131250 ชิ้นต่อสัปดาห์ 21 อรรถประโยชน์ = ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง/กาลังการผลิตตามแผน ประสิทธิภาพ = ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง/กาลังการผลิตหวังผล
  • 22. องค์ประกอบในการพิจารณาเลือกกาลังการผลิตที่เหมาะสม 1. พยากรณ์ความต้องการของลูกค้าอย่างแม่นยา 2. กาหนดทางเลือกของการเปลี่ยนแปลงกาลังการผลิต 3. เลือกระดับกาลังการผลิตที่เหมาะสมที่สุด 4. ปรับกาลังการผลิตเพื่อรับการเปลี่ยนแปลง 22 กาลังการผลิตและกลยุทธ์ การที่บริษัทจะสามารถสร้างกาไรอย่างยั่งยืนได้เป็นผล มาจากการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น การตัดสินใจเลือกกาลังการผลิตจะต้องถูกพิจารณาร่วม ไปพร้อมกับพันธกิจและกลยุทธ์ขององค์การ
  • 23. การวางแผนกาลังการผลิต การประเมินความต้องการการ ผลิตในอนาคตเป็นกระบวนการที่ทา ได้ค่อนข้างยากทั้งนี้เนื่องจากขึ้นอยู่ กับความต้องการของลูกค้าในอนาคต หากสามารถพยากรณ์ความต้องการ ของลูกค้าได้อย่างถูกต้องแม่นยา ก็ จะสามารถกาหนดความต้องการ กาลังการผลิตได้อย่างเหมาะสมมาก ยิ่งขึ้น 23
  • 24. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break-Even analysis) จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนคือ ต้องการหา ตาแหน่งที่รายรับเท่ากับรายจ่ายในรูปของตัวเงินหรือหน่วย การผลิต ส่วนประกอบของการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ต้นทุนคงที่ (Fixed costs) ต้นทุนแปรผัน (Variable costs) ต้นทุนรวม (Total costs) สมการรายรับ (Revenue functions) จุดคุ้มทุน (Break-even point) 24
  • 25. สมมุติฐาน มีหลายสมมุติฐานในการนาจุดคุ้มทุนไปใช้ในการ วางแผนกาลังการผลิต หนึ่งในนั้นได้แก่ ต้นทุนและรายได้จะต้อง เพิ่มขึ้นในลักษณะเป็นเส้นตรง การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนด้วยกราฟ มีขั้นตอนดังนี้ กาหนดเส้นต้นทุน กาหนดเส้นรายรับ  กาหนดหาจุดตัดระหว่างเส้นต้นทุนรวมและเส้นรายรับ 25
  • 26. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนด้วยวิธีพีชคณิต เป็นการวิเคราะห์ด้วยการคานวณ จากสูตร โดยกาหนดให้ BEPx=จุดคุ้มทุนในหน่วยจานวนสินค้า BEPs=จุดคุ้มทุนในหน่วยของเงิน P =ราคาต่อหน่วยสินค้า x = จานวนสินค้า TR= รายรับรวม = Px F = ต้นทุนคงที่ V= ต้นทุนแปรผันต่อหน่วย TC= ต้นทุนรวม = F+Vx จุดคุ้มทุนสามารถคานวณได้จาก รายรับรวม (TR)= ต้นทุนรวม (TC) Px= F+Vx แก้สมการจะได้ BEPx= ดังนั้นจะได้ว่า รายได้จุดคุ้มทุน= ปริมาณสินค้า ณ จุดคุ้มทุน x ราคาสินค้า 26
  • 27. BEPs= (BEPx)P = P = = กาไร = รายรับรวม (TR)-ต้นทุนรวม (TC) = Px-(F + Vx) = Px-F -Vx = (P –V)x -F ด้วยสมการดังกล่าว สามารถแก้เพื่อหาจุดคุ้มทุนด้วยสูตรต่อไปนี้ จุดคุ้มทุนในหน่วยจานวนสินค้า = จุดคุ้มทุนในหน่วยของเงิน = 27
  • 28. การคานวณหาจุดคุ้มทุนในกรณีผลิตสินค้าหลายชนิด บริษัทส่วนใหญ่มักมีสินค้าหลากหลายประเภท ซึ่งสินค้าแต่ละ ประเภทก็มีต้นทุนและราคาขายที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม บริษัทสามารถวิเคราะห์จุดคุ้มทุนรวมโดยการกาหนดน้าหนักให้ สินค้าแต่ละประเภทแตกต่างกัน โดยใช้สมการ ดังนี้ BEPs= กาหนดให้ V = ต้นทุนแปรผันต่อหน่วย P = ราคาขายต่อหน่วย F = ต้นทุนคงที่ W=เปอร์เซ็นต์ยอดขายของสินค้าแต่ละรายการ โดยเทียบกับยอดขายรวม I = สินค้าแต่ละชนิด 28