SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
L/O/G/O
แรงและการเคลื่อนที่
เรื่อง ผลของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อััตุ
ครู สิรีธร สััสดิรักษ์
การเคลื่อนที่
หมายถึง การที่วัตถุเปลี่ยนตาแหน่งจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ในช่วงเวลาใด
เวลาหนึ่ง
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ เป็นการเคลื่อนที่ในแนวระดับ แนวดิ่ง
การเคลื่อนที่ใน 2 มิติ เป็นการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบ
วงกลม
ปริมาณในเชิงฟิสิกส์
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
ปริมาณสเกลาร์ เป็ นปริมาณที่บอกแต่ขนาดเพียงอย่างเดียว
ไม่ต้องบอกทิศทาง เช่น เวลา ระยะทาง อัตราเร็ว มวล เป็นต้น
ปริมาณเวกเตอร์ เป็ นปริมาณที่ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทาง
เช่น ความเร็ว ความเร่ง การกระจัด แรง เป็นต้น
ปริมาณใดปริมาณสเกลาร์หรือปริมาณเวกเตอร์?
ปริมาณสเกลาร์ ปริมาณสเกลาร์
ปริมาณสเกลาร์
ปริมาณสเกลาร์
ปริมาณเวกเตอร์
ปริมาณเวกเตอร์
ระยะทาง (S) คือ ความยาวของเส้นทางที่วัตถุเคลื่อนที่ เป็นปริมาณ
สเกลาร์ มีหน่วยเป็นเมตร
การกระจัด (S) คือ เส้นตรงที่ลากจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสุดท้ายของ
การเคลื่อนที่ เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เมตร
ตัวอย่างโจทย์
1.ถ้าเดินทางจากจุด A ไปยังจุด B ตามเส้นทางที่ประเอาไว้ จงหา
ระยะทาง และการกระจัด
2.จากข้อ 1 ถ้าตั้งต้นจากจุด A แล้วเดินไปจนครบ 1 รอบ จงหา
ระยะทางและการกระจัด
A
B
ตัวอย่างโจทย์
3.รถเคลื่อนที่เป็นวงกลม รัศมี 70 เมตร ด้วยอัตราเร็วคงที่ค่าหนึ่ง จง
หาขนาดของการกระจัดและระยะทางเมื่อ
รถเคลื่อนที่ไปได้¼รอบ
ตัวอย่างโจทย์ (ต่อข้อ 3)
3.รถเคลื่อนที่เป็นวงกลม รัศมี 70 เมตร ด้วยอัตราเร็วคงที่ค่าหนึ่ง จง
หาขนาดของการกระจัดและระยะทางเมื่อ
รถเคลื่อนที่ไปได้½รอบ
ตัวอย่างโจทย์ (ต่อข้อ 3)
3.รถเคลื่อนที่เป็นวงกลม รัศมี 70 เมตร ด้วยอัตราเร็วคงที่ค่าหนึ่ง จง
หาขนาดของการกระจัดและระยะทางเมื่อ
รถเคลื่อนที่ไปได้1 รอบ พอดี
ตัวอย่างโจทย์
4. ขับรถไปทางเหนือ 120 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวไปทางทิศตะวันออก
ขับไปอีก 50 กิโลเมตร จงหาระยะทางและระยะกระจัดที่รถเคลื่อนที่
อัตราเร็ว
อัตราเร็ว (Speed) คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที (m/s) หรือ กิโลกรัมต่อชั่วโมง
อัตราเร็ว = ระยะทาง
เวลาที่ใช้ อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง คือ
อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาสั้นมาก ๆ
เข้าใกล้ศูนย์
ความเร็ว
ความเร็ว (v) คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา มี
หน่วยเป็นเมตรต่อวินาที (m/s) หรือ กิโลกรัมต่อชั่วโมง
ความเร็ว = การกระจัด
เวลาที่ใช้ ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง คือ
ความเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลาสั้นมาก ๆ
เข้าใกล้ศูนย์
ตัวอย่างโจทย์
1.แอ๊ะ เดินทางจาก A ไป B ใช้เวลา 15 วินาที จากนั้นเดินต่อไปยัง C
ดังรูป ใช้เวลา 10 วินาที จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ย
A 40 m B
30 m
C
ตัวอย่างโจทย์
2.ตอง เคลื่อนที่จาก A ไปถึง B กินเวลาไป 10 วินาที ดังรูป จงหา
อัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ย
A
E
F
G
B
10m
30m25m
20m
ตัวอย่างโจทย์
3. ในการแข่งขันมาราธอนระยะทาง 42.195 กิโลเมตร ผู้ชนะใช้เวลา
ทั้งหมด 2 ชั่วโมง 6 นาที 12 วินาที อัตราเร็วเฉลี่ยของผู้ชนะเป็นกี่เมตร
ต่อวินาที
ตัวอย่างโจทย์
4.ลิงตัวหนึ่งขึ้นต้นมะพร้าว ปรากฏว่าทุกๆ 2 นาที มันขึ้นไปได้ 5
เมตร และลื่นกลับลงมาอีก 1 เมตรเสมอ จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยและ
ความเร็วเฉลี่ยเมื่อสิ้นสุดนาทีที่ 4 ในหน่วยเมตรต่อวินาที
ตัวอย่างโจทย์
5. รถไฟขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ผ่านสถานี P ตรงไปยังสถานี Q โดยครึ่งทางช่วงแรก
อัตราเร็วของรถไฟคงที่ 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง และอีกครึ่งทางที่เหลือเคลื่อนที่ด้วย
อัตราเร็ว 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมงจงหาอัตราเร็วและความเร็วของรถไฟในช่วงสถานีที่ P
ถึงสถานี Q
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (a) หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วหรือความเร็วที่
เปลี่ยนแปลงไปในหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที²
ความเร่ง = ความเร็วที่เปลี่ยนแปลง
ช่วงเวลาที่ใช้
ความเร่ งขณะใดขณะหนึ่ ง คือ
ความเร่งเฉลี่ยในช่วงเวลาสั้นมาก ๆ เข้า
ใกล้ศูนย์ t  0
a = v - u
t2 - t1
สรุปความเร่ง
1. ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ไม่เป็นเส้นตรง วัตถุมีความเร่งเสมอ ไม่ว่า
วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเพิ่มขึ้น หรืออัตราเร็วลดลง หรือ
อัตราเร็งคงที่
2. ถ้าวัตถุเคลื่อนที่เป็นทางตรงด้วยอัตราเร็วเพิ่มขึ้นวัตถุจะมี
ความเร่ง และวัตถุจะเกิดความหน่วงก็ต่อเมื่อเคลื่อนที่ทางตรง
เท่านั้น และอัตราเร็วลดลง
ตัวอย่างโจทย์
1. วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร่งมีลักษณะอย่างไร
1). ช้าลงกาลังจะหยุด
2). กาลังเคลื่อนที่เร็วขึ้น
3). กาลังเคลื่อนที่บนทางโค้ง
4). ถูกทุกข้อ
ตัวอย่างโจทย์
2. วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที เมื่อเวลาผ่านไป 20
วินาที มีความเร็ว 15 เมตรต่อวินาที ในทิศเดิม จงหาความเร่งของการ
เคลื่อนที่
ตัวอย่างโจทย์
3. รถยนต์เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 72 km/hr เมื่อต้องการแซงรถคันอื่น
จึงเหยียบคันเร่งให้มีความเร็ว 126 km/hr การเปลี่ยนความเร็วนี้ใช้เวลา
เพียง 4 วินาที จงหาความเร่งของรถยนต์
ตัวอย่างโจทย์
4. กระถางต้นไม้ตกลงในแนวดิ่งด้วยความเร่ง 10 m/s² เมื่อเวลาผ่าน
ไป 3 วินาที กระถางจะมีความเร็วเท่าใด
ตัวอย่างโจทย์
5. จากรูปการเคลื่อนที่ของวัตถุ A
v = 0 2 m/s 5 m/s 8 m/s
t = 0 2s 3s 4s
จงหาความเร่งเฉลี่ยของการเคลื่อนที่
ตัวอย่างโจทย์
6. ดาว ขับรถออกจากไฟแดงด้วยความเร่ง 7 m/s² อยากทราบว่าใน
เวลา 10 วินาทีต่อมารถจะมีความเร็วเท่าใด
กราฟความสัมพันธ์
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลา
ความชัน = การกระจัด
เวลา
ดังนั้นความชันของกราฟ = ความเร็ว
กราฟความสัมพันธ์
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลา
ความชัน = ความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไป
เวลา
ดังนั้นความชันของกราฟ = ความเร่ง
พื้นที่ใต้กราฟ = ความเร็ว x เวลา
นั้นคือ การกระจัด
ตัวอย่างโจทย์
1. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แนวตรงได้ความสัมพันธ์ของความเร็วกับเวลา
ดังกราฟ จงหาระยะการกระจัดของวัตถุเมื่อเคลื่อนที่ได้40 วินาที
ตัวอย่างโจทย์
2. ในการทดลองโดยการดึงกระดาษเทป เขียนกราฟ ความเร็วกับ
เวลาได้ดังกราฟ จงหาค่าความเร่งของกระดาษเทป
แรง (Force)
แรง (F) หมายถึง ปริมาณที่กระทาต่อวัตถุ แล้วทาให้วัตถุ
เปลี่ยนแปลงจากสภาพเดิม ผลคือวัตถุอาจหยุดไม่มีการเคลื่อนที่หรือ
วัตถุมีการเคลื่อนที่ช้าลง เร็วขึ้น ถอยหลัง เปลี่ยนทิศ
มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)
แรง 1 N คือ แรงที่จะที่จะทาให้มวล 1 kg เกิดความเร่ง 1 m/s2
แรงลัพธ์ (Resultant Force)
แรงลัพธ์ คือ แรงรวมเพียงแรงเดียวที่เกิดจากผลรวมของแรงย่อย
หลายๆแรงที่รวมแบบเวกเตอร์
จงหาแรงลัพธ์
20N
50N
60N
10N
เขาคือใคร???
เซอร์ไอแซค นิวตัน
นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ
ที่ได้เสนอกฎการเคลื่อนที่ เพื่ออธิบาย
ความสัมพันธ์ระกว่างแรงและการเคลื่อนที่
นั้นคือ กฎ 3 ข้อ ของนิวตัน
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน
ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุเป็นศูนย์วัตถุจะคงสภาพการเคลื่อนที่
กล่าวคือ
วัตถุจะรักษาสภาพอยู่นิ่งหรือสภาพการเคลื่อนที่อย่างสม่าเสมอ
นั้น (ความเร็วคงที่) เรียก กฎข้อนี้ว่า “กฎความเฉื่อย”
นั้นคือ 0F

a

v

กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน(ต่อ)
กรณีที่วัตถุ หยุดนิ่งบนพื้นราบ
กรณีที่วัตถุ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวค่าหนึ่ง บนพื้นราบลื่น
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2
 เมื่อมีแรงลัพธ์ที่มีค่าไม่เท่ากับศูนย์มากระทาต่อวัตถุ จะทาให้วัตถุ
เกิดความเร่งในทิศเดียวกับแรงลัพธ์ที่มากระทา
นั้นคือ =
ขนาดของความเร่ง แปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์
แปรผกผันกับมวลของวัตถุ
F

am

กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3
 เมื่อมีแรงกระทาต่อวัตถุหนึ่ง วัตถุนั้นก็จะออกแรงโต้ตอบในทิศ
ทางตรงข้ามกับแรงที่มากระทา ซึ่งแรงทั้งสองแรงนี้จะเกิดขึ้นพร้อมกัน
เสมอ
L/O/G/O
www.themegallery.com
Thank You!

More Related Content

What's hot

ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงNawamin Wongchai
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆwiriya kosit
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 

What's hot (20)

ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 

Viewers also liked

แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)Jiraporn Taweechaikarn
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ thanakit553
 

Viewers also liked (13)

แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
ระยะทางและการกระจัด (Distance and Displacement)
 
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 

Similar to แรงและการเคลื่อนที่

บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติThepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติPrint25
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4Fay Wanida
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติTutor Ferry
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วnuchpool
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงuntika
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงKaettichai Penwijit
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณguest6eaa7e
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงLai Pong
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)wiriya kosit
 
ความเร็ว0
ความเร็ว0ความเร็ว0
ความเร็ว0krusridet
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่พัน พัน
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุdnavaroj
 

Similar to แรงและการเคลื่อนที่ (20)

บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
111
111111
111
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
6 1
6 16 1
6 1
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ม.4
 
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
วิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่ใน1มิติ
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
Phy1
Phy1Phy1
Phy1
 
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรงChapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Chapter 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
Ep05 การเคลื่อนที่แนวตรง01 อัตราเร็ว และความเร็ว (v คงที่)
 
ความเร็ว0
ความเร็ว0ความเร็ว0
ความเร็ว0
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
ตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุตำแหน่งของวัตถุ
ตำแหน่งของวัตถุ
 

แรงและการเคลื่อนที่