SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
พยาธิสรีรวิทยา
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ร.ต.อ. อภิสิทธิ์ ตามสัตย์
อาจารย์ (สบ ๑) กลุ่มงานอาจารย์ วพ.รพ.ตร.
09/03/58 1
Outline
• Kidney
• Stone
• UTI
• Benign prostatic hyperplasia (BPH)
• Urinary incontenence
• Cancer in Urinary system
09/03/58 2
คาศัพท์ที่ควรรู้ก่อนเรียน
09/03/58 3
Polyuria
• ภาวะที่มีปัสสาวะปริมาณมากกว่าปกติ(> 2,500 ml/day)
สาเหตุ
–การได้รับนามากเกินไป
–โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus)
–โรคเบาจืด (Diabetes insipidus)
–ได้รับยาขับปัสสาวะ (diuretics)
–ได้รับเครื่องดื่มพวกชา กาแฟ แอลกอฮอล์
09/03/58 4
Dysuria
• ปัสสาวะลาบาก ปวดขณะถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย
(frequency) และอยากถ่ายปัสสาวะทันทีทันใด (urgency)
• อาการปวดมักสัมพันธ์กับการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะ
• สาเหตุหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
–การอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ
–การอักเสบของท่อปัสสาวะ
–ท่อปัสสาวะได้รับอันตราย อาจเกิดขึนชั่วคราวภายหลังร่วมเพศ
09/03/58 5
Oliguria
• ปัสสาวะได้น้อยกว่าวันละ 400 ml หรือ 30 ml/hr
สาเหตุ
–หน้าที่การทางานของไตไม่ดี
–ภาวะขาดนา หรือ ได้รับนาน้อย
09/03/58 6
Anuria
• การที่ปัสสาวะออกน้อย ไม่มีปัสสาวะ หรือจานวน
ปัสสาวะน้อยกว่า 100 ml/day ผู้ป่วยไม่รู้สึกอยากถ่าย
ปัสสาวะ
สาเหตุ
– Renal dysfunction
– SHOCK
– Dehydration
09/03/58 7
Nocturia
• ภาวะมีปัสสาวะมากกว่า 2-3 ครังในเวลากลางคืน
สาเหตุ
–ได้รับเครื่องดื่มประเภทกาแฟ แอลกอฮอล์ก่อนเข้านอน
–โรคไต
–โรคหัวใจและหลอดเลือด
–ได้รับยารักษาภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive heart failure)
–ผู้สูงอายุชายที่มีต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic
Hyperplasia: BPH)
09/03/58 8
Uremia
• อาการเป็นพิษในเลือดที่เกิดจากสาร อันได้แก่
Urea/Creatinine ตกค้างอยู่ในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
Urea อาการเป็นพิษดังกล่าวมักเป็นผลสืบเนื่องมาจากการป่วย
เป็นโรคไตในขันร้ายแรง ทาให้ร่างกายไม่สามารถขับ Urea
ออกได้
• นอกจากนียังส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติทางสมอง ร่างกาย
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ
กระสับกระส่าย กล้ามเนือกระตุก และอาจชักหมดสติได้
09/03/58 9
09/03/58 10
Proteinuria
• •ภาวะที่มีโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน
• ตรวจโปรตีนในปัสสาวะตรวจพบ 1 + ขึนไป
• Transient proteinuria หมายถึง การพบโปรตีนในปัสสาวะชั่วคราว
ในขณะที่ผู้ป่วยมีภาวะอื่นๆ อยู่ เช่น ไข้, หลังออกกาลังกาย, หลังการ
ชัก, หรือเกิดตามหลังภาวะหัวใจล้มเหลว ฯลฯ ซึ่งภาวะนีไม่มีความ
ผิดปกติในไต
• Persistent proteinuria หมายถึง การพบโปรตีนในปัสสาวะทุก ครัง
ที่มีการตรวจปัสสาวะ โดยที่ผู้ป่วยไม่มีภาวะดังกล่าวข้างต้น
09/03/58 11
Retention of urine
• ปัสสาวะไม่ออก
• การที่มีปัสสาวะคั่ง อยู่ในกระเพาะปัสสาวะไม่สามารถทาให้กระเพาะ
ปัสสาวะว่าง หรือภาวะที่ไม่มีการถ่ายปัสสาวะภายใน 8 - 10 ชั่วโมง ของ
การถ่ายปัสสาวะครังสุดท้าย
• สาเหตุหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
– การบวมบริเวณท่อปัสสาวะ
– ต่อมลูกหมากโต
– กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
– ระบบประสาทเสียหน้าที่ (เช่นได้รับบาดเจ็บบริเวณไขสันหลัง)
– เกิดชั่วคราวในผู้ป่วยหลังทาผ่าตัด ดมยาสลบ/ฉีดยาเข้าเส้นประสาทไขสันหลัง
หญิงหลังคลอดบุตร
09/03/58 12
พยาธิสภาพของโรคไต
• ไตวาย
• ไตบวมนา
• กรวยไตอักเสบ
09/03/58 13
ไตวาย หรือ Renal failure
• ไตวายเฉียบพลันที่เกิดขึนในผู้ป่วยที่มีโรคไตเรือรังเดิมก็ได้
(acute on top of chronic kidney disease)
• ไตมีการทางานลดลงอย่างเฉียบพลัน ในระยะเวลาเป็นชั่วโมง
หรือเป็นวัน
• ค่า serum creatinine สูงขึนมากกว่าวันละ 0.5 mg/dl
(สาหรับผู้ป่วยที่มี serum creatinine ต่ากว่า 3 mg/dl)
แต่เนื่องจาก serum creatinine เป็น marker ที่
เปลี่ยนแปลงช้า ดังนัน จึงมีการนา RIFLE criteria มาใช้ใน
การวินิจฉัย acute renal failure
09/03/58 14
Glomerular Filtration Rate (GFR)
• Renal blood flow:
effective circulating
volume, cardiac
output
• Resistance to flow:
vascular tone of
afferent and
efferent arterioles
• Permeability of
glomerular
basement
membrane09/03/58 15
09/03/58 16
Calculating GFR
(140 – age) x lean body weight (kg) / sCr (umol/L)
อาการของไตวายเฉียบพลันระยะที่สอง คือระยะ Injury
09/03/58 17
ไตวาย หรือ Renal failure
พยาธิสรีรวิทยา
• ไตวายเฉียบพลัน (Acute renal failure)
• ไตวายเรือรัง (Chronic renal failure)
09/03/58 18
09/03/58 19
ไตวายเฉียบพลัน (Acute renal failure)
1. สาเหตุจาก Pre renal acute renal failure
คือ เกิดจากการที่มีเลือดมาเลียงไต (renal
perfusion) น้อยลง
09/03/58 20
ไตวายเฉียบพลัน (Acute renal failure)
2. สาเหตุจาก Post renal acute renal failure คือ เกิดจาก
การอุดตันของระบบทางเดินปัสสาวะ ที่พบบ่อย ได้แก่ การ
อุดตันที่ระดับกระเพาะปัสสาวะ (Urinary retention) หรือ
ที่ระดับต่ากว่ากระเพาะปัสสาวะลงมา (Infravesicular
obstruction) เป็นต้น
09/03/58 21
ไตวายเฉียบพลัน (Acute renal failure)
3. สาเหตุจาก Intrinsic acute renal failure คือเกิด
จากโรคที่มีพยาธิสภาพที่ไต
– Acute tubular necrosis (ATN)
– Acute interstitial nephritis (AIN)
– Acute glomerulonephritis
– Renal vascular diseases
– Intratubular crystal obstruction และ
Intratubular protein obstruction
09/03/58 22
Rhabdomyolysis
• ภาวะกล้ามเนือสลายตัวแล้วทาให้เกิดอาการกล้ามเนืออ่อน
แรงร่วมกับมีอาการไตวายเฉียบพลัน
• เชื่อว่าอาจเกิดจากการขาด enzyme ระดับ ultrastructure
ของกล้าม เนือหรือการติดเชือไวรัสสาหรับ nontraumatic
exertional rhabdomyolysis
• ปัจจัยเสี่ยง คือ ผู้ที่ออกกาลังกายหนักโดยไม่ได้รับการฝึกฝน
เป็นประจา
09/03/58 23
Rhabdomyolysis
• คนปกติจะมีความเข้มข้นของ myoglobin
ในกล้ามเนือลายประมาณ 4 มก./กก. ของกล้ามเนือลาย
• ร้อยละ 50 ของ myoglobin จะถูกกรองผ่าน
glomerulus อีก ร้อยละ 50 ที่เหลือจะจับกับ α2
globulin และ ถูกย่อยสลายไปเป็น bilirubin
• ค่า creatine phosphokinase (CPK) เพิ่มสูงใน
กระแสเลือดมากกว่า 10 เท่าของค่าปกติ
09/03/58 24
โรคไตเรือรัง (Chronic Renal disease)
• เป็นภาวะที่มีการเสื่อมการทางานของไตอย่าง
ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานเป็นเดือนหรือปี ซึ่ง
โรคส่วนใหญ่มักจะทาให้ไตเสื่อมลงอย่างถาวร
ไม่สามารถกลับมาทางานอย่างปกติได้
09/03/58 25
โรคไตเรือรัง (Chronic Renal disease)
พยาธิสรีรวิทยา
• สาเหตุที่พบบ่อยที่สุดคือ โรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง
• สาเหตุจากโรคอื่น ๆ
–โรคนิ่วและการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ (obstructive uropathy)
–โรคภูมิต้านทางต่อเนือเยื่อตนเอง (Systemic lupus
erythematasus)
–โรคไต IgA
–ฯลฯ
09/03/58 26
Staging of chronic kidney disease
Stage Definition
1 GFR ≥ 90 ml/minute/1.73 m2
with evidence of kidney damagea
2 GFR 60-89 ml/minute/1.73 m2
with evidence of kidney damagea
3 GFR 30-59 ml/minute/1.73 m2
4 GFR 15-29 ml/minute/1.73 m2
5 GFR < 15 ml/minute/1.73 m2
or dialysis-dependent09/03/58 27
โรคไตเรือรัง (Chronic Renal disease)
การวินิจฉัย
• มีของเสียในเลือดสูง (azotemia) นานกว่า 3 เดือน
• ตรวจพบ Broad cast ในปัสสาวะ
• มีภาวะ normochromic normocystic anemia
• ร่วมกับมีไตขนาดเล็กลงทัง 2 ข้าง
09/03/58 28
ไตบวมนา (Hydronephrosis)
• การมี dilatation ของ renal pelvis และ collecting
system ซึ่งเกิดจาก obstruction
• มีผลทาให้เกิดท่อไตโป่งพอง (hydroureter) และไต
บวม (hydronephrosis)
09/03/58 29
หน่วยไตอักเสบ (Glomerulonephritis)
พยาธิสรีรวิทยา
1. เกิดจาก Immunologic mechanisms แล้วทา
ให้เกิด glomerular injury
2. Non-immunological mechanisms ซึ่งพบได้
น้อยได้แก่ intravascular coagulation, toxin,
venom, irritant, กรรมพันธุ์, ภาวะไขมันสูง,
ความดันโลหิตสูง เป็นต้น
09/03/58 30
กลไกการอักเสบของหน่วยไตอักเสบ
1. Antigen-antibody complexes deposition เกิดจากการ
ที่มี antigen ล่องลอยในกระแสเลือด มี antibody จาก
ร่างกายมาเกาะเป็น complex แล้วมาติดที่กรวยกรองไต ทา
ให้มีการกระตุ้นกลไกการอักเสบตามมา
09/03/58 31
กลไกการอักเสบของหน่วยไตอักเสบ
2. Non renal antigen deposition (insituformation of
immune complex) เกิดจากการที่มี antigen แปลกปลอม
มาเกาะฝังตัวที่กรวยกรองไต ทาให้ร่างกายสร้าง antibody
มากระทา และเกิดการอักเสบตามมา
09/03/58 32
กลไกการอักเสบของหน่วยไตอักเสบ
3. Antiglomerular basement membrane
antibody กรณีที่ glomerular basement กระทาตัว
เสมือน antigen แปลกปลอม ร่างกายสร้าง antibody
มากระทา เช่น Good pasture’s syndrome ซึ่ง
นอกจากไตแล้ว alveolar basement membrane ก็
ยังทาตัวเป็น antigen ด้วย
09/03/58 33
อาการและอาการแสดง
• บวมกดไม่บุ๋ม
• ความดันโลหิตสูง
• Proteinuria
• Hematuria
• ปัสสาวะคล้ายสีนาล้างเนือ
• Antistreptolysin-O titer (ASO titer) > 250 todd unit
• C3-complement ลดลง
• BUN และ Cr สูง09/03/58 34
การแบ่งชนิดของกลุ่มโรคของหน่วยกรองไต
1. Asymptomatic urinary abnormality
2. Acute glomerulonephritis (AGN)
3. Rapidly progressive glomerulonephritis
(RPGN)
4. Chronic glomerulonephritis
5. Nephrotic syndrome (NS)
09/03/58 35
Asymptomatic urinary abnormality
• พบ proteinuria มากกว่า 150 mg
• หรือ proteinuria มากกว่า 1 กรัมต่อวัน ติดต่อกันเป็น
เวลานาน) โดยไม่มีอาการอื่น
09/03/58 36
Acute glomerulonephritis (AGN)
• มีเม็ดเลือดแดง (RBC cast) และโปรตีนในปัสสาวะ
มากผิดปกติ (hematuria & proteinuria)
• มีของเสียไนโตรเจนคั่งในเลือด (azotemia)
• การคลั่งของเกลือและนาในร่างกาย (edema)
• อัตราการกรองของไตลดลง
09/03/58 37
Rapidly progressive glomerulonephritis
(RPGN)
• ไตวายเป็นสัปดาห์หรือเดือน
• พบ cellular cast ในปัสสาวะ
• พบ crescent formation ที่กรวยกรองไต ได้แก่
vasculitis โดยมีอาการปวดข้อ ปวดท้อง ผลตรวจ
ANCA ชนิด IgG ได้ผล positive
09/03/58 38
Chronic glomerulonephritis
• เป็นระยะสุดท้ายของไตอักเสบ
• ลักษณะสาคัญคือ มีไตวายเรือรัง, ความดันโลหิตสูง,
proteinuria, hematuria, edema อยู่เป็นเวลานาน
• และอาจพบ sediment ในปัสสาวะได้
09/03/58 39
Nephrotic syndrome (NS)
• อาจเกิดจาก immune complex deposition หรือ
insituimmune complex ที่ทาให้มีการเพิ่มการกรอง
โปรตีนจากกรวยกรองไต เนื่องจากเกิดความผิดปกติของ
glomerular basement membrane และ podocyte
• ลักษณะสาคัญคือ massive proteinuria
(>3.5 g/d/1.73 m2) ร่วมกับบวม
• Albumin ในเลือดลดลง
• cholesterol สูง
09/03/58 40
การตรวจ urine protein 24 hr.
• ปัสสาวะในช่วงกลางวัน ระยะเวลาประมาณ 16 ชั่วโมง
และปัสสาวะในช่วงกลางคืน ระยะเวลา 8 ชั่วโมง
09/03/58 41
Pyelonephritis
1. กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน(acute pyelonephritis)
• ติดเชือแบคทีเรียแกรมลบเข้ากระแสเลือด (gram-negative
sepsis) จนถึงกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
• อาการแสดงทั่วไป ประกอบด้วยไข้ หนาวสั่นทันที และปวดเอว
ข้างเดียวหรือสองข้าง เรียกว่า อาการของระบบปัสสาวะ
ส่วนบน (costovertebral angle)
• พบร่วมกับปวดแสบเวลาปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย และต้องรีบ
ปัสสาวะ
09/03/58 42
Pyelonephritis
2. กรวยไตอักเสบแบบเรือรัง (chronic pyelonephritis)
• การหดตัวของเนือเยื่อไต และเกิดพังผืดของไต
• พิจารณาร่วมกับโรคปัสสาวะไหลย้อนกลับจากกระเพาะ
ปัสสาวะและหลอดไต (vesico-ureteral reflux: VUR )
เรียกว่า “Reflux Nephropathy”
• ผลจากปัสสาวะย้อนกลับไปที่ไตให้เกิดเยื่อพังผืด แต่ไม่ควรใช้
ในการติดเชือของกรวยไตอย่างเดียว
09/03/58 43
พยาธิสภาพของโรคนิ่ว
ในระบบทางเดินปัสสาวะ
09/03/58 44
โรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
• เป็นก้อนหินแข็งเม็ดเดียว หรือหลาย
เม็ด อยู่ในกรวยไต หรือ calyces
• นิ่วเขากวาง หรือ staghorn stone
กิ่งก้านยื่นเข้าไปใน calyces มากกว่า
1 calyx
• Nephrocalcinosis เป็นหินปูนที่อยู่
ในเนือไตแต่ไม่ได้อยู่ในกรวยไตหรือ
calyces
09/03/58 45
ประเภทของนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
1.โรคนิ่วทางเดินปัสสาวะส่วนบน คือ นิ่วที่พบ
บริเวณ กลีบกรวยไต (renal calyces) กรวยไต
(renal pelvis) และท่อไต (ureter)
09/03/58 46
ประเภทของนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
2. โรคนิ่วทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง คือ นิ่วที่พบ
บริเวณ กระเพาะปัสสาวะ (bladder)
และ บริเวณท่อปัสสาวะ (urethra)
09/03/58 47
Renal calculi
• ร้อยละ 75 เป็นเกลือแคลเซียม เช่น calcium oxalate,
calcium phosphate หรือส่วนผสมระหว่าง oxalate และ
phosphate
• ร้อยละ 14 เป็นเกลือ magnesium ammonium
phosphate ซึ่งเรียกว่า struvite
• ร้อยละ 10 เป็น uric acid-based
• และอีกร้อยละ 1 เป็น cystine-based ซึ่งการเกิดผลึกมักพบ
เมื่อในร่างกายมีสาร calcium, cystine, uric acid,
struvite หรือ oxalate อยู่ในภาวะอิ่มตัวยิ่งยวด
09/03/58 48
โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะส่วนบน
• นิ่วในไต
–มีอาการปวดตือๆ หรือปวดรุนแรงบริเวณบันเอว
–อาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด
09/03/58 49
โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะส่วนบน
• นิ่วในท่อไต
–มีอาการปวดบริเวณสีข้างและหลัง ท้องน้อย
หน้าขา ถุงอัณฑะ หรือแคมอวัยวะเพศหญิง
–ปัสสาวะเป็นเลือด
–คลื่นไส้ อาเจียน
09/03/58 50
โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
• นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
–มีอาการปวดปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย สะดุด เป็น
เลือด อาจปวดบริเวณหัวเหน่าร่วมด้วย
• นิ่วในท่อปัสสาวะ
–ถ่ายปัสสาวะไม่ออก หรือเป็นหยด ปวดขณะ
ปัสสาวะ
09/03/58 51
ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
• การมีเม็ดเลือดแดงปนออกมากับปัสสาวะ อาจเป็น
เลือดสด ๆ (Gross hematuria) หรือเห็นเมื่อดูจาก
กล้องจุลทรรศน์ (Microscopic hematuria)
• RBC > 3 cells/HPF คือ มีเม็ดเลือดแดงมากกว่า 3 ตัว
ต่อหนึ่งช่องการดูจากกล้องจุลทรรศน์กาลังขยาย 40
เท่า
• สาเหตุมีการบาดเจ็บที่ไต ท่อไตและกรวยไต กระเพาะ
ปัสสาวะ ต่อมลูกหมากและท่อปัสสาวะ
09/03/58 52
UTI (Urinary Tract Infection)
• คือการตอบสนองของการอักเสบของเยื่อบุผิวระบบ
ทางเดินปัสสาวะต่อการบุกเข้าของแบคทีเรีย เนื่องจาก
เยื่อบุผิวระบบปัสสาวะทังหมดเชื่อมต่อกันทังหมด ทา
ให้ทังระบบของทางเดินปัสสาวะมีความเสี่ยงที่จะติด
เชือทังหมดและมีอาการของการติดเชือระบบปัสสาวะ
ได้หลายแบบ
• มักสัมพันธ์กับการมีแบคทีเรียในปัสสาวะ
(bacteriuria) และปัสสาวะเป็นหนอง (pyuria)
09/03/58 53
UTI (Urinary Tract Infection)
เชือแบคทีเรียสามารถเข้าสู่ระบบทางเดินปัสสาวะได้ 3 ทาง คือ
1. ย้อนกลับขึนไปจากท่อปัสสาวะ (ascending infection)
2. กระจายตัวมาทางกระแสเลือด (hematogenous route)
3. กระจายมาทางกระแสน้าเหลือง (lymphatic route)
09/03/58 54
ชนิดของการติดเชือระบบทางเดินปัสสาวะ
(Classification)
1. การติดเชือครังแรก (First or Isolated infection)
2. การไม่หายจากการมีแบคทีเรียในปัสสาวะระหว่างการรักษา
(Unresolved bacteriuria)
3. การติดเชือใหม่แบบเป็นๆหายๆ (Recurrent infections)
a. การติดเชือที่เป็นผลจากการคงอยู่ของแบคทีเรีย
(bacterial persistence)
b. การติดเชือใหม่จากแบคทีเรียชนิดใหม่ (reinfection)
09/03/58 55
อาการและอาการแสดงของ UTI
• ไม่มีอาการ
• ส่วนใหญ่มีอาการ dysuria คือ ปัสสาวะบ่อยๆ ปวดร้อน
บริเวณกระเพาะปัสสาวะ ปวดกระเพาะปัสสาวะและท่อ
ปัสสาวะขณะปัสสาวะ ปวดบริเวณกระดูกหัวหน่าว และ
ตงึบริเวณทวารหนัก ปัสสาวะมีครังละน้อย ปัสสาวะขุ่น
บางครังอาจมีเลือดปน
• มีไข้
• ปวดหลังบริเวณใต้กระดูกซี่โครง
• มีคลื่นไส้ อาเจียน09/03/58 56
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
• เป็นการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ
เป็นกลุ่มอาการที่ประกอบด้วย
• ปัสสาวะขัดที่เกิดทันที
• ปัสสาวะบ่อย
• ปวดปัสสาวะจนต้องรีบปัสสาวะ (urgency)
• และปวดบริเวณท้องน้อย (suprapubic pain)
09/03/58 57
พยาธิสภาพของโรคกลันปัสสาวะไม่อยู่
• ภาวะกลันปัสสาวะไม่อยู่เป็นปัญหาสุขภาพที่สาคัญ
และพบบ่อยปัญหาหนึ่งทังในกลุ่มผู้ที่ยังอยู่ในวัย
ทางาน ผู้จะเข้าสู่วัยสูงอายุและผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 4
ชนิด
09/03/58 58
09/03/58 59
Stress incontinence
• เป็นผลมาจากการที่ตัวหูรูดท่อปัสสาวะเองหดรัดตัวได้ไม่ดี
• หรือการหย่อนตัวของกล้ามเนืออุ้งเชิงกราน
• เมื่อมีการเพิ่มความดันในช่องท้องอย่างกะทันหัน ทาให้ความดันใน
กระเพาะปัสสาวะสูงขึนจนหูรูดท่อ
• ปัสสาวะไม่สามารถควบคุมการไหลของปัสสาวะได้
• อาการปัสสาวะเล็ดขณะที่ไอ จาม หรือหัวเราะ
• (ปัสสาวะราดปริมาณน้อยๆ ประมาณ 5 – 10 มิลลิลิตรต่อครัง)
• เช่น ผ่าตัด มดลูก ผ่าตัดต่อมลูกหมากมาก่อน การผ่านการคลอดบุตร
ทางช่องคลอด รวมถึงสตรีในวัยหมดประจาเดือน09/03/58 60
Urge incontinence
• เกิดจากกล้ามเนือเรียบของกระเพาะปัสสาวะ (detrusor muscle)
• มีการบีบตัวที่รุนแรงกว่าปกติ (hypersensitivity)หรือมีการบีบตัว
ทังๆที่ปริมาณปัสสาวะในกระเพาะปัสสาวะไม่มากพอที่จะทาให้คน
ทั่วไปรู้สึกปวดปัสสาวะ
• สาเหตุ
–โรคระบบประสาทส่วนกลาง เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคพาร์กินสัน
–พยาธิสภาพในอุ้งเชิงกราน เช่น การติดเชือในกระเพาะปัสสาวะ มะเร็ง
กระเพาะปัสสาวะ
–ไม่ทราบสาเหตุ09/03/58 61
Overflow incontinence
• การอุดกันทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง, กล้ามเนือเรียบกระเพาะปัสสาวะ
สูญเสียความสามารถในการบีบตัว, กล้ามเนือเรียบ กระเพาะปัสสาวะ
บีบตัวไม่สัมพันธ์กับการคลายตัวของหูรูด
• ดังนัน เมื่อไตผลิตนาปัสสาวะในอัตราคงที่สักพักหนึ่งกระเพาะปัสสาวะ
ก็จะเต็ม ทาให้ผู้ป่วยปวดปัสสาวะบ่อย หรือปัสสาวะส่วนที่เกินความจุ
ของกระเพาะปัสสาวะอาจเล็ดออกมาเองในปริมาณน้อยๆ แต่ออกมา
เรื่อยๆ โดยที่ผู้ป่วยไม่มีอาการปวดปัสสาวะได้
09/03/58 62
Functional incontinence
• เกิดจาก ความผิดปกติที่นอกเหนือจากสาเหตุที่เกิดจากการ
ควบคุมการถ่ายปัสสาวะ แต่เกิดจากมีปัญหาทาง สมอง หรือ
อยู่ในภาวะที่ไม่สามารถไปเข้าห้องนาได้
• ได้แก่ ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับสติปัญญา (cognition) เช่น ผู้ป่วย
โรคสมองเสื่อม ผู้สูงอายุที่มีข้อจากัดในการเคลื่อนไหว
(mobility) เช่น มีปัญหาโรคข้อเข่าเสื่อม และปัจจัยด้าน
สิ่งแวดล้อม อาจทาให้ผู้ป่วยมาด้วยปัญหาปัสสาวะราด ทังที่
ไม่ได้มีความเป็นผิดปกติของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
09/03/58 63
09/03/58 64
09/03/58 65
ต่อมลูกหมากโต
Benign prostatic hyperplasia (BPH)
• ชายอายุ 40 ปีขึนไปมีโอกาสเป็นมากขึน
• ต่อมลูกหมาก จะเริ่มโตจากด้านใน ดังนัน ก็จะกดท่อปัสสาวะ
ทาให้ปัสสาวะลาบาก เมื่อปัสสาวะลาบากทาให้ปัสสาวะออกไม่
หมดเหลือ ปัสสาวะบางส่วนในกระเพาะปัสสาวะ เกิดการติด
เชือทางเดินปัสสาวะ
• ต่อมลกูหมากโตเป็นเพียงมีเซลล์เพิ่มขึนไม่ใช่มะเร็งต่อม
ลูกหมาก ผู้ป่วยส่วนมากแม้จะมีต่อมลูกหมากโตแต่ก็ไม่มี
อาการ
• เกิดจากอิทธิพลของฮอร์โมน Dihydrotestosterone09/03/58 66
ต่อมลูกหมากโต
Benign prostatic hyperplasia (BPH)
อาการของต่อมลูกหมากโต
• ปัสสาวะไม่สุดเหมือนคนที่ยังไม่ได้ปัสสาวะ
• ปัสสาวะบ่อย
• ปัสสาวะสะดุดขณะปัสสาวะ
• อันปัสสาวะไม่อยู่
• ปัสสาวะไม่พุ่ง
• ปัสสาวะต้องเบ่งเมื่อเริ่มปัสสาวะต้องตื่นกลางคืนเนื่องจากปวด
ปัสสาวะ09/03/58 67
พยาธิสภาพของโรคมะเร็ง
ในระบบทางเดินปัสสาวะ
• มะเร็งไต: Renal cell carcinoma
• มะเร็งกรวยไต: Urothelial carcinoma
• มะเร็งท่อไต: Urothelial carcinoma
• มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ: Urothelial carcinoma
09/03/58 68
Renal cell carcinoma
• มักพบในเพศชาย (ชาย:หญิง = 2:1) อายุมากกว่า 50 ปี
• ปัจจัยเสี่ยง: tuberous sclerosis, von Hippel-Lindau
disease, renal transplantation, dialysis, สูบบุหรี่
• อาการมักมาด้วย เจ็บแถวชายโครงด้านหลัง คลาได้ก้อน
ปัสสาวะเป็นเลือด บางรายอาจมาด้วยอาการของ
paraneoplastic syndrome (hypercalcemia,
hypertension, Cushing’s syndrome)
09/03/58 69
Urinary bladder carcinoma
• พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
• อาการ ปัสสาวะเป็นเลือด ไม่ค่อยปวด (painless hematuria)
สาเหตุ:
• สูบบุหรี่ (50-80% of cancers)
• Arylamines (2-naphthylamine)
• Schistosoma haematobium (ova are deposited in
bladder wall and cause chronic inflammatory
response, squamous metaplasia, dysplasia; 70% are
squamous cell carcinomas)09/03/58 70
09/03/58 71
09/03/58 72

More Related Content

What's hot

การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsUtai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sssDr.Suradet Chawadet
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 

Viewers also liked

Acute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritisAcute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritisNew Srsn
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetJiradet Dongroong
 
23 Urinalysis
23 Urinalysis23 Urinalysis
23 Urinalysiskdiwavvou
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองNana Sabaidee
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
Acute Poststreptococcal Glomerulonephritis
Acute Poststreptococcal GlomerulonephritisAcute Poststreptococcal Glomerulonephritis
Acute Poststreptococcal GlomerulonephritisHakimah Suhaimi
 
Case esrd วรงค์วุฒิ 11 ส.ค. 53
Case esrd  วรงค์วุฒิ  11 ส.ค. 53Case esrd  วรงค์วุฒิ  11 ส.ค. 53
Case esrd วรงค์วุฒิ 11 ส.ค. 53Watcharapong Rintara
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
19 Acute Glomerulonephritis
19 Acute Glomerulonephritis19 Acute Glomerulonephritis
19 Acute Glomerulonephritisghalan
 
Acute renal failure
Acute renal failureAcute renal failure
Acute renal failureJijo G John
 
การรักษาโรคอ้วน
การรักษาโรคอ้วนการรักษาโรคอ้วน
การรักษาโรคอ้วนKhunchit Krusawat
 
Reed AL - Dissertation Defense
Reed AL - Dissertation DefenseReed AL - Dissertation Defense
Reed AL - Dissertation DefenseAlana Reed
 
เกณฑ์การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะ หน่วยจุลทรรศน์และปรสิตวิทยา/Krid...
เกณฑ์การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะ หน่วยจุลทรรศน์และปรสิตวิทยา/Krid...เกณฑ์การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะ หน่วยจุลทรรศน์และปรสิตวิทยา/Krid...
เกณฑ์การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะ หน่วยจุลทรรศน์และปรสิตวิทยา/Krid...kridsada31
 
วิตามินบี 2
วิตามินบี 2วิตามินบี 2
วิตามินบี 2earthquake66
 

Viewers also liked (20)

Acute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritisAcute glomerulonephritis
Acute glomerulonephritis
 
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
 
Renal Failure
Renal FailureRenal Failure
Renal Failure
 
23 Urinalysis
23 Urinalysis23 Urinalysis
23 Urinalysis
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Acute Poststreptococcal Glomerulonephritis
Acute Poststreptococcal GlomerulonephritisAcute Poststreptococcal Glomerulonephritis
Acute Poststreptococcal Glomerulonephritis
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
Case esrd วรงค์วุฒิ 11 ส.ค. 53
Case esrd  วรงค์วุฒิ  11 ส.ค. 53Case esrd  วรงค์วุฒิ  11 ส.ค. 53
Case esrd วรงค์วุฒิ 11 ส.ค. 53
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
19 Acute Glomerulonephritis
19 Acute Glomerulonephritis19 Acute Glomerulonephritis
19 Acute Glomerulonephritis
 
Acute renal failure
Acute renal failureAcute renal failure
Acute renal failure
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
Bph
BphBph
Bph
 
การรักษาโรคอ้วน
การรักษาโรคอ้วนการรักษาโรคอ้วน
การรักษาโรคอ้วน
 
Reed AL - Dissertation Defense
Reed AL - Dissertation DefenseReed AL - Dissertation Defense
Reed AL - Dissertation Defense
 
เกณฑ์การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะ หน่วยจุลทรรศน์และปรสิตวิทยา/Krid...
เกณฑ์การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะ หน่วยจุลทรรศน์และปรสิตวิทยา/Krid...เกณฑ์การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะ หน่วยจุลทรรศน์และปรสิตวิทยา/Krid...
เกณฑ์การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ตะกอนปัสสาวะ หน่วยจุลทรรศน์และปรสิตวิทยา/Krid...
 
วิตามินบี 2
วิตามินบี 2วิตามินบี 2
วิตามินบี 2
 

More from Aphisit Aunbusdumberdor

โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Aphisit Aunbusdumberdor
 
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059Aphisit Aunbusdumberdor
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนAphisit Aunbusdumberdor
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858Aphisit Aunbusdumberdor
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesAphisit Aunbusdumberdor
 
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeAphisit Aunbusdumberdor
 
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลการเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลAphisit Aunbusdumberdor
 

More from Aphisit Aunbusdumberdor (14)

โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
Non-infectious orthopedic problem for nursing students 2560
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
 
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
Endocrine system สำหรับนักเรียนผู้ช่วยพยาบาล 2559
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
การศึกษาหลักเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาพยาบาล140858
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
 
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & StrokeIntervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
Intervention Exercise Program for CAD, DM, & Stroke
 
Review literature in nursing
Review literature in nursingReview literature in nursing
Review literature in nursing
 
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลการเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 

PATHOPHYSIOLOGY OF URINARY SYSTEM FOR STUDENT NURSES

  • 2. Outline • Kidney • Stone • UTI • Benign prostatic hyperplasia (BPH) • Urinary incontenence • Cancer in Urinary system 09/03/58 2
  • 4. Polyuria • ภาวะที่มีปัสสาวะปริมาณมากกว่าปกติ(> 2,500 ml/day) สาเหตุ –การได้รับนามากเกินไป –โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus) –โรคเบาจืด (Diabetes insipidus) –ได้รับยาขับปัสสาวะ (diuretics) –ได้รับเครื่องดื่มพวกชา กาแฟ แอลกอฮอล์ 09/03/58 4
  • 5. Dysuria • ปัสสาวะลาบาก ปวดขณะถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย (frequency) และอยากถ่ายปัสสาวะทันทีทันใด (urgency) • อาการปวดมักสัมพันธ์กับการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะ • สาเหตุหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้อง –การอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ –การอักเสบของท่อปัสสาวะ –ท่อปัสสาวะได้รับอันตราย อาจเกิดขึนชั่วคราวภายหลังร่วมเพศ 09/03/58 5
  • 6. Oliguria • ปัสสาวะได้น้อยกว่าวันละ 400 ml หรือ 30 ml/hr สาเหตุ –หน้าที่การทางานของไตไม่ดี –ภาวะขาดนา หรือ ได้รับนาน้อย 09/03/58 6
  • 7. Anuria • การที่ปัสสาวะออกน้อย ไม่มีปัสสาวะ หรือจานวน ปัสสาวะน้อยกว่า 100 ml/day ผู้ป่วยไม่รู้สึกอยากถ่าย ปัสสาวะ สาเหตุ – Renal dysfunction – SHOCK – Dehydration 09/03/58 7
  • 8. Nocturia • ภาวะมีปัสสาวะมากกว่า 2-3 ครังในเวลากลางคืน สาเหตุ –ได้รับเครื่องดื่มประเภทกาแฟ แอลกอฮอล์ก่อนเข้านอน –โรคไต –โรคหัวใจและหลอดเลือด –ได้รับยารักษาภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive heart failure) –ผู้สูงอายุชายที่มีต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia: BPH) 09/03/58 8
  • 9. Uremia • อาการเป็นพิษในเลือดที่เกิดจากสาร อันได้แก่ Urea/Creatinine ตกค้างอยู่ในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Urea อาการเป็นพิษดังกล่าวมักเป็นผลสืบเนื่องมาจากการป่วย เป็นโรคไตในขันร้ายแรง ทาให้ร่างกายไม่สามารถขับ Urea ออกได้ • นอกจากนียังส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติทางสมอง ร่างกาย อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ กระสับกระส่าย กล้ามเนือกระตุก และอาจชักหมดสติได้ 09/03/58 9
  • 11. Proteinuria • •ภาวะที่มีโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน • ตรวจโปรตีนในปัสสาวะตรวจพบ 1 + ขึนไป • Transient proteinuria หมายถึง การพบโปรตีนในปัสสาวะชั่วคราว ในขณะที่ผู้ป่วยมีภาวะอื่นๆ อยู่ เช่น ไข้, หลังออกกาลังกาย, หลังการ ชัก, หรือเกิดตามหลังภาวะหัวใจล้มเหลว ฯลฯ ซึ่งภาวะนีไม่มีความ ผิดปกติในไต • Persistent proteinuria หมายถึง การพบโปรตีนในปัสสาวะทุก ครัง ที่มีการตรวจปัสสาวะ โดยที่ผู้ป่วยไม่มีภาวะดังกล่าวข้างต้น 09/03/58 11
  • 12. Retention of urine • ปัสสาวะไม่ออก • การที่มีปัสสาวะคั่ง อยู่ในกระเพาะปัสสาวะไม่สามารถทาให้กระเพาะ ปัสสาวะว่าง หรือภาวะที่ไม่มีการถ่ายปัสสาวะภายใน 8 - 10 ชั่วโมง ของ การถ่ายปัสสาวะครังสุดท้าย • สาเหตุหรือปัจจัยที่เกี่ยวข้อง – การบวมบริเวณท่อปัสสาวะ – ต่อมลูกหมากโต – กระเพาะปัสสาวะอักเสบ – ระบบประสาทเสียหน้าที่ (เช่นได้รับบาดเจ็บบริเวณไขสันหลัง) – เกิดชั่วคราวในผู้ป่วยหลังทาผ่าตัด ดมยาสลบ/ฉีดยาเข้าเส้นประสาทไขสันหลัง หญิงหลังคลอดบุตร 09/03/58 12
  • 14. ไตวาย หรือ Renal failure • ไตวายเฉียบพลันที่เกิดขึนในผู้ป่วยที่มีโรคไตเรือรังเดิมก็ได้ (acute on top of chronic kidney disease) • ไตมีการทางานลดลงอย่างเฉียบพลัน ในระยะเวลาเป็นชั่วโมง หรือเป็นวัน • ค่า serum creatinine สูงขึนมากกว่าวันละ 0.5 mg/dl (สาหรับผู้ป่วยที่มี serum creatinine ต่ากว่า 3 mg/dl) แต่เนื่องจาก serum creatinine เป็น marker ที่ เปลี่ยนแปลงช้า ดังนัน จึงมีการนา RIFLE criteria มาใช้ใน การวินิจฉัย acute renal failure 09/03/58 14
  • 15. Glomerular Filtration Rate (GFR) • Renal blood flow: effective circulating volume, cardiac output • Resistance to flow: vascular tone of afferent and efferent arterioles • Permeability of glomerular basement membrane09/03/58 15
  • 17. Calculating GFR (140 – age) x lean body weight (kg) / sCr (umol/L) อาการของไตวายเฉียบพลันระยะที่สอง คือระยะ Injury 09/03/58 17
  • 18. ไตวาย หรือ Renal failure พยาธิสรีรวิทยา • ไตวายเฉียบพลัน (Acute renal failure) • ไตวายเรือรัง (Chronic renal failure) 09/03/58 18
  • 20. ไตวายเฉียบพลัน (Acute renal failure) 1. สาเหตุจาก Pre renal acute renal failure คือ เกิดจากการที่มีเลือดมาเลียงไต (renal perfusion) น้อยลง 09/03/58 20
  • 21. ไตวายเฉียบพลัน (Acute renal failure) 2. สาเหตุจาก Post renal acute renal failure คือ เกิดจาก การอุดตันของระบบทางเดินปัสสาวะ ที่พบบ่อย ได้แก่ การ อุดตันที่ระดับกระเพาะปัสสาวะ (Urinary retention) หรือ ที่ระดับต่ากว่ากระเพาะปัสสาวะลงมา (Infravesicular obstruction) เป็นต้น 09/03/58 21
  • 22. ไตวายเฉียบพลัน (Acute renal failure) 3. สาเหตุจาก Intrinsic acute renal failure คือเกิด จากโรคที่มีพยาธิสภาพที่ไต – Acute tubular necrosis (ATN) – Acute interstitial nephritis (AIN) – Acute glomerulonephritis – Renal vascular diseases – Intratubular crystal obstruction และ Intratubular protein obstruction 09/03/58 22
  • 23. Rhabdomyolysis • ภาวะกล้ามเนือสลายตัวแล้วทาให้เกิดอาการกล้ามเนืออ่อน แรงร่วมกับมีอาการไตวายเฉียบพลัน • เชื่อว่าอาจเกิดจากการขาด enzyme ระดับ ultrastructure ของกล้าม เนือหรือการติดเชือไวรัสสาหรับ nontraumatic exertional rhabdomyolysis • ปัจจัยเสี่ยง คือ ผู้ที่ออกกาลังกายหนักโดยไม่ได้รับการฝึกฝน เป็นประจา 09/03/58 23
  • 24. Rhabdomyolysis • คนปกติจะมีความเข้มข้นของ myoglobin ในกล้ามเนือลายประมาณ 4 มก./กก. ของกล้ามเนือลาย • ร้อยละ 50 ของ myoglobin จะถูกกรองผ่าน glomerulus อีก ร้อยละ 50 ที่เหลือจะจับกับ α2 globulin และ ถูกย่อยสลายไปเป็น bilirubin • ค่า creatine phosphokinase (CPK) เพิ่มสูงใน กระแสเลือดมากกว่า 10 เท่าของค่าปกติ 09/03/58 24
  • 25. โรคไตเรือรัง (Chronic Renal disease) • เป็นภาวะที่มีการเสื่อมการทางานของไตอย่าง ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานเป็นเดือนหรือปี ซึ่ง โรคส่วนใหญ่มักจะทาให้ไตเสื่อมลงอย่างถาวร ไม่สามารถกลับมาทางานอย่างปกติได้ 09/03/58 25
  • 26. โรคไตเรือรัง (Chronic Renal disease) พยาธิสรีรวิทยา • สาเหตุที่พบบ่อยที่สุดคือ โรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง • สาเหตุจากโรคอื่น ๆ –โรคนิ่วและการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ (obstructive uropathy) –โรคภูมิต้านทางต่อเนือเยื่อตนเอง (Systemic lupus erythematasus) –โรคไต IgA –ฯลฯ 09/03/58 26
  • 27. Staging of chronic kidney disease Stage Definition 1 GFR ≥ 90 ml/minute/1.73 m2 with evidence of kidney damagea 2 GFR 60-89 ml/minute/1.73 m2 with evidence of kidney damagea 3 GFR 30-59 ml/minute/1.73 m2 4 GFR 15-29 ml/minute/1.73 m2 5 GFR < 15 ml/minute/1.73 m2 or dialysis-dependent09/03/58 27
  • 28. โรคไตเรือรัง (Chronic Renal disease) การวินิจฉัย • มีของเสียในเลือดสูง (azotemia) นานกว่า 3 เดือน • ตรวจพบ Broad cast ในปัสสาวะ • มีภาวะ normochromic normocystic anemia • ร่วมกับมีไตขนาดเล็กลงทัง 2 ข้าง 09/03/58 28
  • 29. ไตบวมนา (Hydronephrosis) • การมี dilatation ของ renal pelvis และ collecting system ซึ่งเกิดจาก obstruction • มีผลทาให้เกิดท่อไตโป่งพอง (hydroureter) และไต บวม (hydronephrosis) 09/03/58 29
  • 30. หน่วยไตอักเสบ (Glomerulonephritis) พยาธิสรีรวิทยา 1. เกิดจาก Immunologic mechanisms แล้วทา ให้เกิด glomerular injury 2. Non-immunological mechanisms ซึ่งพบได้ น้อยได้แก่ intravascular coagulation, toxin, venom, irritant, กรรมพันธุ์, ภาวะไขมันสูง, ความดันโลหิตสูง เป็นต้น 09/03/58 30
  • 31. กลไกการอักเสบของหน่วยไตอักเสบ 1. Antigen-antibody complexes deposition เกิดจากการ ที่มี antigen ล่องลอยในกระแสเลือด มี antibody จาก ร่างกายมาเกาะเป็น complex แล้วมาติดที่กรวยกรองไต ทา ให้มีการกระตุ้นกลไกการอักเสบตามมา 09/03/58 31
  • 32. กลไกการอักเสบของหน่วยไตอักเสบ 2. Non renal antigen deposition (insituformation of immune complex) เกิดจากการที่มี antigen แปลกปลอม มาเกาะฝังตัวที่กรวยกรองไต ทาให้ร่างกายสร้าง antibody มากระทา และเกิดการอักเสบตามมา 09/03/58 32
  • 33. กลไกการอักเสบของหน่วยไตอักเสบ 3. Antiglomerular basement membrane antibody กรณีที่ glomerular basement กระทาตัว เสมือน antigen แปลกปลอม ร่างกายสร้าง antibody มากระทา เช่น Good pasture’s syndrome ซึ่ง นอกจากไตแล้ว alveolar basement membrane ก็ ยังทาตัวเป็น antigen ด้วย 09/03/58 33
  • 34. อาการและอาการแสดง • บวมกดไม่บุ๋ม • ความดันโลหิตสูง • Proteinuria • Hematuria • ปัสสาวะคล้ายสีนาล้างเนือ • Antistreptolysin-O titer (ASO titer) > 250 todd unit • C3-complement ลดลง • BUN และ Cr สูง09/03/58 34
  • 35. การแบ่งชนิดของกลุ่มโรคของหน่วยกรองไต 1. Asymptomatic urinary abnormality 2. Acute glomerulonephritis (AGN) 3. Rapidly progressive glomerulonephritis (RPGN) 4. Chronic glomerulonephritis 5. Nephrotic syndrome (NS) 09/03/58 35
  • 36. Asymptomatic urinary abnormality • พบ proteinuria มากกว่า 150 mg • หรือ proteinuria มากกว่า 1 กรัมต่อวัน ติดต่อกันเป็น เวลานาน) โดยไม่มีอาการอื่น 09/03/58 36
  • 37. Acute glomerulonephritis (AGN) • มีเม็ดเลือดแดง (RBC cast) และโปรตีนในปัสสาวะ มากผิดปกติ (hematuria & proteinuria) • มีของเสียไนโตรเจนคั่งในเลือด (azotemia) • การคลั่งของเกลือและนาในร่างกาย (edema) • อัตราการกรองของไตลดลง 09/03/58 37
  • 38. Rapidly progressive glomerulonephritis (RPGN) • ไตวายเป็นสัปดาห์หรือเดือน • พบ cellular cast ในปัสสาวะ • พบ crescent formation ที่กรวยกรองไต ได้แก่ vasculitis โดยมีอาการปวดข้อ ปวดท้อง ผลตรวจ ANCA ชนิด IgG ได้ผล positive 09/03/58 38
  • 39. Chronic glomerulonephritis • เป็นระยะสุดท้ายของไตอักเสบ • ลักษณะสาคัญคือ มีไตวายเรือรัง, ความดันโลหิตสูง, proteinuria, hematuria, edema อยู่เป็นเวลานาน • และอาจพบ sediment ในปัสสาวะได้ 09/03/58 39
  • 40. Nephrotic syndrome (NS) • อาจเกิดจาก immune complex deposition หรือ insituimmune complex ที่ทาให้มีการเพิ่มการกรอง โปรตีนจากกรวยกรองไต เนื่องจากเกิดความผิดปกติของ glomerular basement membrane และ podocyte • ลักษณะสาคัญคือ massive proteinuria (>3.5 g/d/1.73 m2) ร่วมกับบวม • Albumin ในเลือดลดลง • cholesterol สูง 09/03/58 40
  • 41. การตรวจ urine protein 24 hr. • ปัสสาวะในช่วงกลางวัน ระยะเวลาประมาณ 16 ชั่วโมง และปัสสาวะในช่วงกลางคืน ระยะเวลา 8 ชั่วโมง 09/03/58 41
  • 42. Pyelonephritis 1. กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน(acute pyelonephritis) • ติดเชือแบคทีเรียแกรมลบเข้ากระแสเลือด (gram-negative sepsis) จนถึงกระเพาะปัสสาวะอักเสบ • อาการแสดงทั่วไป ประกอบด้วยไข้ หนาวสั่นทันที และปวดเอว ข้างเดียวหรือสองข้าง เรียกว่า อาการของระบบปัสสาวะ ส่วนบน (costovertebral angle) • พบร่วมกับปวดแสบเวลาปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย และต้องรีบ ปัสสาวะ 09/03/58 42
  • 43. Pyelonephritis 2. กรวยไตอักเสบแบบเรือรัง (chronic pyelonephritis) • การหดตัวของเนือเยื่อไต และเกิดพังผืดของไต • พิจารณาร่วมกับโรคปัสสาวะไหลย้อนกลับจากกระเพาะ ปัสสาวะและหลอดไต (vesico-ureteral reflux: VUR ) เรียกว่า “Reflux Nephropathy” • ผลจากปัสสาวะย้อนกลับไปที่ไตให้เกิดเยื่อพังผืด แต่ไม่ควรใช้ ในการติดเชือของกรวยไตอย่างเดียว 09/03/58 43
  • 45. โรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ • เป็นก้อนหินแข็งเม็ดเดียว หรือหลาย เม็ด อยู่ในกรวยไต หรือ calyces • นิ่วเขากวาง หรือ staghorn stone กิ่งก้านยื่นเข้าไปใน calyces มากกว่า 1 calyx • Nephrocalcinosis เป็นหินปูนที่อยู่ ในเนือไตแต่ไม่ได้อยู่ในกรวยไตหรือ calyces 09/03/58 45
  • 47. ประเภทของนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ 2. โรคนิ่วทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง คือ นิ่วที่พบ บริเวณ กระเพาะปัสสาวะ (bladder) และ บริเวณท่อปัสสาวะ (urethra) 09/03/58 47
  • 48. Renal calculi • ร้อยละ 75 เป็นเกลือแคลเซียม เช่น calcium oxalate, calcium phosphate หรือส่วนผสมระหว่าง oxalate และ phosphate • ร้อยละ 14 เป็นเกลือ magnesium ammonium phosphate ซึ่งเรียกว่า struvite • ร้อยละ 10 เป็น uric acid-based • และอีกร้อยละ 1 เป็น cystine-based ซึ่งการเกิดผลึกมักพบ เมื่อในร่างกายมีสาร calcium, cystine, uric acid, struvite หรือ oxalate อยู่ในภาวะอิ่มตัวยิ่งยวด 09/03/58 48
  • 50. โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะส่วนบน • นิ่วในท่อไต –มีอาการปวดบริเวณสีข้างและหลัง ท้องน้อย หน้าขา ถุงอัณฑะ หรือแคมอวัยวะเพศหญิง –ปัสสาวะเป็นเลือด –คลื่นไส้ อาเจียน 09/03/58 50
  • 51. โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง • นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ –มีอาการปวดปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย สะดุด เป็น เลือด อาจปวดบริเวณหัวเหน่าร่วมด้วย • นิ่วในท่อปัสสาวะ –ถ่ายปัสสาวะไม่ออก หรือเป็นหยด ปวดขณะ ปัสสาวะ 09/03/58 51
  • 52. ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria) • การมีเม็ดเลือดแดงปนออกมากับปัสสาวะ อาจเป็น เลือดสด ๆ (Gross hematuria) หรือเห็นเมื่อดูจาก กล้องจุลทรรศน์ (Microscopic hematuria) • RBC > 3 cells/HPF คือ มีเม็ดเลือดแดงมากกว่า 3 ตัว ต่อหนึ่งช่องการดูจากกล้องจุลทรรศน์กาลังขยาย 40 เท่า • สาเหตุมีการบาดเจ็บที่ไต ท่อไตและกรวยไต กระเพาะ ปัสสาวะ ต่อมลูกหมากและท่อปัสสาวะ 09/03/58 52
  • 53. UTI (Urinary Tract Infection) • คือการตอบสนองของการอักเสบของเยื่อบุผิวระบบ ทางเดินปัสสาวะต่อการบุกเข้าของแบคทีเรีย เนื่องจาก เยื่อบุผิวระบบปัสสาวะทังหมดเชื่อมต่อกันทังหมด ทา ให้ทังระบบของทางเดินปัสสาวะมีความเสี่ยงที่จะติด เชือทังหมดและมีอาการของการติดเชือระบบปัสสาวะ ได้หลายแบบ • มักสัมพันธ์กับการมีแบคทีเรียในปัสสาวะ (bacteriuria) และปัสสาวะเป็นหนอง (pyuria) 09/03/58 53
  • 54. UTI (Urinary Tract Infection) เชือแบคทีเรียสามารถเข้าสู่ระบบทางเดินปัสสาวะได้ 3 ทาง คือ 1. ย้อนกลับขึนไปจากท่อปัสสาวะ (ascending infection) 2. กระจายตัวมาทางกระแสเลือด (hematogenous route) 3. กระจายมาทางกระแสน้าเหลือง (lymphatic route) 09/03/58 54
  • 55. ชนิดของการติดเชือระบบทางเดินปัสสาวะ (Classification) 1. การติดเชือครังแรก (First or Isolated infection) 2. การไม่หายจากการมีแบคทีเรียในปัสสาวะระหว่างการรักษา (Unresolved bacteriuria) 3. การติดเชือใหม่แบบเป็นๆหายๆ (Recurrent infections) a. การติดเชือที่เป็นผลจากการคงอยู่ของแบคทีเรีย (bacterial persistence) b. การติดเชือใหม่จากแบคทีเรียชนิดใหม่ (reinfection) 09/03/58 55
  • 56. อาการและอาการแสดงของ UTI • ไม่มีอาการ • ส่วนใหญ่มีอาการ dysuria คือ ปัสสาวะบ่อยๆ ปวดร้อน บริเวณกระเพาะปัสสาวะ ปวดกระเพาะปัสสาวะและท่อ ปัสสาวะขณะปัสสาวะ ปวดบริเวณกระดูกหัวหน่าว และ ตงึบริเวณทวารหนัก ปัสสาวะมีครังละน้อย ปัสสาวะขุ่น บางครังอาจมีเลือดปน • มีไข้ • ปวดหลังบริเวณใต้กระดูกซี่โครง • มีคลื่นไส้ อาเจียน09/03/58 56
  • 57. กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) • เป็นการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ เป็นกลุ่มอาการที่ประกอบด้วย • ปัสสาวะขัดที่เกิดทันที • ปัสสาวะบ่อย • ปวดปัสสาวะจนต้องรีบปัสสาวะ (urgency) • และปวดบริเวณท้องน้อย (suprapubic pain) 09/03/58 57
  • 60. Stress incontinence • เป็นผลมาจากการที่ตัวหูรูดท่อปัสสาวะเองหดรัดตัวได้ไม่ดี • หรือการหย่อนตัวของกล้ามเนืออุ้งเชิงกราน • เมื่อมีการเพิ่มความดันในช่องท้องอย่างกะทันหัน ทาให้ความดันใน กระเพาะปัสสาวะสูงขึนจนหูรูดท่อ • ปัสสาวะไม่สามารถควบคุมการไหลของปัสสาวะได้ • อาการปัสสาวะเล็ดขณะที่ไอ จาม หรือหัวเราะ • (ปัสสาวะราดปริมาณน้อยๆ ประมาณ 5 – 10 มิลลิลิตรต่อครัง) • เช่น ผ่าตัด มดลูก ผ่าตัดต่อมลูกหมากมาก่อน การผ่านการคลอดบุตร ทางช่องคลอด รวมถึงสตรีในวัยหมดประจาเดือน09/03/58 60
  • 61. Urge incontinence • เกิดจากกล้ามเนือเรียบของกระเพาะปัสสาวะ (detrusor muscle) • มีการบีบตัวที่รุนแรงกว่าปกติ (hypersensitivity)หรือมีการบีบตัว ทังๆที่ปริมาณปัสสาวะในกระเพาะปัสสาวะไม่มากพอที่จะทาให้คน ทั่วไปรู้สึกปวดปัสสาวะ • สาเหตุ –โรคระบบประสาทส่วนกลาง เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคพาร์กินสัน –พยาธิสภาพในอุ้งเชิงกราน เช่น การติดเชือในกระเพาะปัสสาวะ มะเร็ง กระเพาะปัสสาวะ –ไม่ทราบสาเหตุ09/03/58 61
  • 62. Overflow incontinence • การอุดกันทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง, กล้ามเนือเรียบกระเพาะปัสสาวะ สูญเสียความสามารถในการบีบตัว, กล้ามเนือเรียบ กระเพาะปัสสาวะ บีบตัวไม่สัมพันธ์กับการคลายตัวของหูรูด • ดังนัน เมื่อไตผลิตนาปัสสาวะในอัตราคงที่สักพักหนึ่งกระเพาะปัสสาวะ ก็จะเต็ม ทาให้ผู้ป่วยปวดปัสสาวะบ่อย หรือปัสสาวะส่วนที่เกินความจุ ของกระเพาะปัสสาวะอาจเล็ดออกมาเองในปริมาณน้อยๆ แต่ออกมา เรื่อยๆ โดยที่ผู้ป่วยไม่มีอาการปวดปัสสาวะได้ 09/03/58 62
  • 63. Functional incontinence • เกิดจาก ความผิดปกติที่นอกเหนือจากสาเหตุที่เกิดจากการ ควบคุมการถ่ายปัสสาวะ แต่เกิดจากมีปัญหาทาง สมอง หรือ อยู่ในภาวะที่ไม่สามารถไปเข้าห้องนาได้ • ได้แก่ ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับสติปัญญา (cognition) เช่น ผู้ป่วย โรคสมองเสื่อม ผู้สูงอายุที่มีข้อจากัดในการเคลื่อนไหว (mobility) เช่น มีปัญหาโรคข้อเข่าเสื่อม และปัจจัยด้าน สิ่งแวดล้อม อาจทาให้ผู้ป่วยมาด้วยปัญหาปัสสาวะราด ทังที่ ไม่ได้มีความเป็นผิดปกติของระบบขับถ่ายปัสสาวะ 09/03/58 63
  • 66. ต่อมลูกหมากโต Benign prostatic hyperplasia (BPH) • ชายอายุ 40 ปีขึนไปมีโอกาสเป็นมากขึน • ต่อมลูกหมาก จะเริ่มโตจากด้านใน ดังนัน ก็จะกดท่อปัสสาวะ ทาให้ปัสสาวะลาบาก เมื่อปัสสาวะลาบากทาให้ปัสสาวะออกไม่ หมดเหลือ ปัสสาวะบางส่วนในกระเพาะปัสสาวะ เกิดการติด เชือทางเดินปัสสาวะ • ต่อมลกูหมากโตเป็นเพียงมีเซลล์เพิ่มขึนไม่ใช่มะเร็งต่อม ลูกหมาก ผู้ป่วยส่วนมากแม้จะมีต่อมลูกหมากโตแต่ก็ไม่มี อาการ • เกิดจากอิทธิพลของฮอร์โมน Dihydrotestosterone09/03/58 66
  • 67. ต่อมลูกหมากโต Benign prostatic hyperplasia (BPH) อาการของต่อมลูกหมากโต • ปัสสาวะไม่สุดเหมือนคนที่ยังไม่ได้ปัสสาวะ • ปัสสาวะบ่อย • ปัสสาวะสะดุดขณะปัสสาวะ • อันปัสสาวะไม่อยู่ • ปัสสาวะไม่พุ่ง • ปัสสาวะต้องเบ่งเมื่อเริ่มปัสสาวะต้องตื่นกลางคืนเนื่องจากปวด ปัสสาวะ09/03/58 67
  • 68. พยาธิสภาพของโรคมะเร็ง ในระบบทางเดินปัสสาวะ • มะเร็งไต: Renal cell carcinoma • มะเร็งกรวยไต: Urothelial carcinoma • มะเร็งท่อไต: Urothelial carcinoma • มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ: Urothelial carcinoma 09/03/58 68
  • 69. Renal cell carcinoma • มักพบในเพศชาย (ชาย:หญิง = 2:1) อายุมากกว่า 50 ปี • ปัจจัยเสี่ยง: tuberous sclerosis, von Hippel-Lindau disease, renal transplantation, dialysis, สูบบุหรี่ • อาการมักมาด้วย เจ็บแถวชายโครงด้านหลัง คลาได้ก้อน ปัสสาวะเป็นเลือด บางรายอาจมาด้วยอาการของ paraneoplastic syndrome (hypercalcemia, hypertension, Cushing’s syndrome) 09/03/58 69
  • 70. Urinary bladder carcinoma • พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง • อาการ ปัสสาวะเป็นเลือด ไม่ค่อยปวด (painless hematuria) สาเหตุ: • สูบบุหรี่ (50-80% of cancers) • Arylamines (2-naphthylamine) • Schistosoma haematobium (ova are deposited in bladder wall and cause chronic inflammatory response, squamous metaplasia, dysplasia; 70% are squamous cell carcinomas)09/03/58 70