SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 90
Downloaden Sie, um offline zu lesen
1
ความนา
ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ 293/2551 ลงวันที่
11 กรกฎาคม 2551 เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เป็น
หลักสูตรแกนกลางของประเทศ ซึ่งพัฒนามาจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ใน
ประเด็นที่เป็นปัญหาและความไม่ชัดเจนของหลักสูตร ข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนสู่
ศตวรรษที่ 21 จึงได้มีการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อนาไปสู่การ
พัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความเหมาะสมและชัดเจน โดย
กาหนดวิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่
มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก
นอกจากนั้นยังได้กาหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อม
จุดเน้นของเขตพื้นที่การศึกษา และจุดเน้นของสถานศึกษา อีกทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความ
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และมีความชัดเจนต่อการนาไปปฏิบัติได้
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีการปรับ
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่มุ่งเน้นการกระจายอานาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่น
และสถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพและความ
ต้องการของท้องถิ่น จึงกาหนดบทบาทให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นหน่วยงานที่เชื่อมโยงหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และความต้องการของท้องถิ่นสู่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และ
การจัดการเรียนการสอนซึ่งเขตพื้นที่การศึกษาการมัธยมศึกษา เขต 19 ได้จัดทากรอบหลักสูตรระดับ
ท้องถิ่น เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน มีความรัก ความภาคภูมิใจในบ้านเกิดเมือง
นอนและท้องถิ่นของตนเอง โดยได้กาหนดเป้าหมาย/จุดเน้น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การประเมิน
คุณภาพการศึกษาระดับท้องถิ่น เพื่อใช้เป็นแนวทางสาหรับสถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอน
เกี่ยวกับชุมชน ท้องถิ่นต่อไป
เอกสารหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีนี้ เป็นเอกสารประกอบ
หลักสูตรโรงเรียนผาสามยอดวิทยาคม พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ที่จัดทาขึ้นสาหรับให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องได้
นาไปใช้เป็นกรอบ และแนวทางในการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งมีความ
สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สอดคล้องกับกรอบหลักสูตร
2
ระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษาการมัธยมศึกษา เขต 19 พุทธศักราช 2553 และจุดเน้นของ
โรงเรียนที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมที่มี
การเปลี่ยนแปลงและแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็น
มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก
ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะ
พื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดย
มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตาม
ศักยภาพ
หลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ
เรียนรู้เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน
ของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมีคุณภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้
สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการ
เรียนรู้
5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม
ทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
จุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติ
ตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะ
ชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรอง
เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ
ความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง
และสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อ
ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ
อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จัก
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง
ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
4
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรโรงเรียนผาสามยอดวิทยาคม พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่
ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
เป้าหมาย/จุดเน้นระดับท้องถิ่น ของเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19
จากการนาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลการเข้าร่วมสนทนากลุ่ม ร่วมกับองค์กรต่างๆในท้องถิ่น
ที่จังหวัดเลย ได้ปัญหาและความต้องการระดับจังหวัด และข้อมูลพื้นฐานของเขตพื้นที่การศึกษาการ
มัธยมศึกษา เขต 19 ที่ได้รวบรวมเป็นข้อมูลในการกาหนดเป้าหมาย/จุดเน้น ได้แก่ข้อมูลผลสัมฤทธิ์
นักเรียน ข้อมูลด้านนักเรียนอ่านไม่ได้เขียนไม่ได้ ข้อมูลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก สมศ.
รอบหนึ่งและรอบสอง เขตพื้นที่การศึกษาการมัธยมศึกษา เขต 19 โดยคณะกรรมการและผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง ได้นาข้อมูลดังกล่าว สังเคราะห์เพื่อเห็นเป้าหมาย/จุดเน้น และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ดังนี้
เป้าหมาย/จุดเน้น
1. การอ่าน การเขียน และคิดคานวณ
2. การคิดวิเคราะห์
3. รักและภูมิใจในท้องถิ่นชาวเลย
กรอบสาระการเรียนรู้ตามเป้าหมาย/จุดเน้น
คณะกรรมการได้กาหนดกรอบการจัดการเรียนรู้หลักสูตรระดับท้องถิ่นตามเป้าหมาย/จุดเน้น ไว้
ดังนี้
1. การอ่าน การเขียน และคิดคานวณ
1.1 การอ่าน การเขียน คาบัญชีพื้นฐาน และคาที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
1.2 การคิดคานวณทักษะพื้นฐาน บวก ลบ คูณ หาร และแก้โจทย์ปัญหา
5
2. การคิดวิเคราะห์
2.1 กระบวนการคิด
2.2 กระบวนการแก้ปัญหา
2.3 พัฒนาทักษะชีวิต
3. รักและภูมิใจในท้องถิ่นชาวเลย
3.1 ประวัติจังหวัดเลยและท้องถิ่น
3.2 สภาพภูมิศาสตร์ของท้องถิ่น
3.3 ศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณี ในท้องถิ่น
3.4 ภาษาไทยเลย
3.5 ความอ่อนน้อม ถ่อมตน ตามวิถีชีวิตชาวเลย
3.6 แหล่งท่องเที่ยวในท้องถิ่น
3.7 บุคคลสาคัญในท้องถิ่น
3.8 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
1. ประวัติจังหวัดเลยและท้องถิ่น
- ความเป็นมา
2. สภาพภูมิศาสตร์ ของท้องถิ่น
- ลักษณะภูมิประเทศ
- ลักษณะภูมิอากาศ
- แม่น้า
- ภูเขา
- ทรัพยากรธรรมชาติ
3. ศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณี ในท้องถิ่น
- ภาษาและวรรณกรรมจังหวัดเลย
- โบราณสถาน,โบราณวัตถุ
- กีฬา นันทนาการชุมชน และการละเล่นพื้นบ้าน
- อาหารพื้นเมืองและอาหารท้องถิ่น
- สิ่งประดิษฐ์และหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น การทาหน้ากากผีตาโขน,ผลิตภัณฑ์จากไม่ไผ่
- งานประเพณีสาคัญของจังหวัดเลย และท้องถิ่น เช่น การละเล่นผีตาโขน งานดอกฝ้าย
บาน มะขามหวานเมืองเลย, งานประเพณีท้องถิ่น “ ฮีตสิบสอง คลองสิบสี่ ”
4. ภาษาไทยเลย
- ภาษาและวรรณกรรม เช่น ภาษาไทเลย,นิทานพื้นบ้าน,ผญา
6
5. ความอ่อนน้อม ถ่อมตน ตามวิถีชีวิตชาวเลย
- การปฏิบัติตน
- การมีสัมมา คารวะ
- วิถีชีวิต
6. แหล่งท่องเที่ยวในท้องถิ่น
- แหล่งท่องเที่ยวสาคัญของจังหวัดเลย
- แหล่งท่องเที่ยวสาคัญของอาเภอ หมู่บ้าน
7. บุคคลสาคัญในท้องถิ่น
- บุคคลสาคัญในจังหวัดเลย
- บุคคลสาคัญในอาเภอ หมู่บ้าน
8. ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ปราชญ์ท้องถิ่น
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย/จุดเน้นของโรงเรียนผาสามยอดวิทยาคม
วิสัยทัศน์ (Vision)
โรงเรียนผาสามยอดวิทยาคม จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานด้วยการพัฒนานักเรียนและการพัฒนา
บุคลากรในทุกมิติให้มีคุณธรรมนาความรู้ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและมีคุณภาพตามมาตรฐานโดย
ชุมชนมีส่วนร่วม
พันธกิจ
1. รับนักเรียนการศึกษาภาคบังคับในเขตพื้นที่บริการได้อย่างทั่วถึงโดยการรณรงค์แบบมีส่วน
ร่วมทุกภาคส่วน
2. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการศึกษาช่วงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โดยมีเป้าหมายให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
3. จัดส่งเสริมพัฒนาประสิทธิภาพครูตามเกณฑ์มาตรฐานตาแหน่งและวิทยฐานะครูและ
ประสิทธิภาพการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในทุกมิติ
4. จัดบริหาร จัดการศึกษาโรงเรียนที่เป็นนิติบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ
5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคเอกชนและท้องถิ่นเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนโดยมีเป้าหมายการจัดการศึกษาสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
และท้องถิ่น
เป้าหมาย/จุดเน้นของโรงเรียน ผาสามยอดวิทยาคม
1. ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะตามมาตรฐานการเรียนรู้ สู่ความเป็นสากลตามปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
7
2. ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะการดารงชีวิตใน
วิถีประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
3. ผู้เรียนการพัฒนาศักยภาพทั้งด้านวิชาการ พื้นฐานอาชีพ ศิลปะ ดนตรีและกีฬา ได้เต็ม
ศักยภาพของตนเอง
4. รักษ์และภูมิใจในท้องถิ่นชาวเลย วัฒนธรรม วิถีการดารงชีวิตของท้องถิ่นอย่างมีความสุข
นาไปประยุกต์ใช้กับสังคมภายนอก
วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
จัดและส่งเสริมการศึกษาด้านการงานอาชีพที่เกี่ยวกับทักษะการดารงชีวิตและครอบครัวให้
ผู้เรียนได้เรียนอย่างทั่วถึง สอดแทรกคุณธรรม คุณภาพของการปฏิบัติงาน ผู้เรียนมีศักยภาพในการ
พัฒนาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรมมีจิตสานึกในความเป็นไทยรัก
การประกอบอาชีพสุจริต ผู้เรียนมีศักยภาพการเรียนรู้ในระดับสากล เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ
และประกอบอาชีพ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
พันธะกิจของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
1. ให้ผู้เรียนในเขตพื้นที่บริการได้เข้าเรียนทั่วถึง
2. พัฒนาสถานศึกษาร่วมกับโรงเรียนให้สถานศึกษาได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน จัดกิจกรรมการ
สอนในกลุ่มสาระโดยมุ่งเน้นคุณภาพของนักเรียน
3. พัฒนาระบบการเรียนการสอนโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
4. ส่งเสริมสนับสนุนให้ครู ในกลุ่มสาระได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและนามาปฏิบัติภารกิจได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
5. ส่งเสริมผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพโดยยึดหลัก คุณธรรมนาความรู้ตาม
หลักเศรษฐกิจพอเพียง
8
ทาไมต้องเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
สามารถนาความรู้เกี่ยวกับการดารงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์ในการทางาน
อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และแข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รัก
การทางาน และมีเจตคติที่ดีต่อการทางาน สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียงและมี
ความสุข
เรียนรู้อะไรในการงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพื่อให้มี
ความรู้ความสามารถ มีทักษะในการทางาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อได้
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้
 การดารงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเกี่ยวกับการทางานในชีวิตประจาวัน ช่วยเหลือ
ตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม เน้นการปฏิบัติจริง
จนเกิดความมั่นใจและภูมิใจในผลสาเร็จของงาน เพื่อให้ค้นพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
ของตนเอง
 การออกแบบและเทคโนโลยี เป็นสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถ
ของมนุษย์อย่างสร้างสรรค์ โดยนาความรู้มาใช้กับกระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่งของ เครื่องใช้
วิธีการ หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการดารงชีวิต
 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นสาระเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร การค้นหาข้อมูล การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรือ
การสร้างงาน คุณค่าและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 การอาชีพ เป็นสาระที่เกี่ยวข้องกับทักษะที่จาเป็นต่ออาชีพ เห็นความสาคัญของ
คุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริต
และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
9
คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 เข้าใจกระบวนการทางานที่มีประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางาน มีทักษะ
การแสวงหาความรู้ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาและทักษะการจัดการ มีลักษณะนิสัยการทางานที่
เสียสละ มีคุณธรรม ตัดสินใจอย่างมีเหตุผลและถูกต้อง และมีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุ้มค่า
 เข้าใจกระบวนการเทคโนโลยีและระดับของเทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์ ในการ
แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่าง
ถูกต้องและปลอดภัย โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพฉายเพื่อนาไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือแบบจาลอง
ความคิดและการรายงานผล เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีการ
จัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม
 เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หลักการและวิธี
แก้ปัญหา หรือการทาโครงงานด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะการค้นหาข้อมูล
และการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม การใช้คอมพิวเตอร์ ใน
การแก้ปัญหา สร้างชิ้นงานหรือโครงงานจากจินตนาการ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองาน
 เข้าใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติที่ดีต่อและเห็นความสาคัญของการประกอบ
อาชีพ วิธีการหางานทา คุณสมบัติที่จาเป็นสาหรับการมีงานทา วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ มีทักษะ
พื้นฐานที่จาเป็นสาหรับการประกอบอาชีพ และประสบการณ์ต่ออาชีพที่สนใจ และประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ ความถนัด และความสนใจ
10
โครงสร้างเวลาเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2553
กลุ่มสาระ/
สาขา
ม.1 ม.2 ม.3
ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม
ภาษาไทย 60 40 60 40 60 40 60 40 60 40 60 40
คณิตศาสตร์ 60 60 60 60 60 60
วิทยาศาสตร์ 60 40 60 40 60 40 60 40 60 40 60 40
สังคมศึกษาและ
วัฒนธรรม
- ประวัติศาสตร์
- ศาสนา ศีลธรรม
จริยธรรม
- หน้าที่พลเมือง
วัฒนธรรม และการ
ดาเนินชีวิตในสังคม
- ภูมิศาสตร์
- เศรษฐศาสตร์
60 60 60 60 60 60
สุขศึกษา 20 20 20 20 20 20
พลศึกษา 20 20 20 20 20 20
ศิลปะ 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40
การงานฯ 40 60 40 60 40 60 40 60 40 60 40 60
ภาษาต่างประเทศ 60 60 60 60 60 60
กิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน 60 60 60 60 60 60
 กิจกรรมแนะแนว 20 20 20 20 20 20
 กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือ – เนตรนารี
- ชุมนุม
20
15
20
15
20
15
20
15
20
15
20
15
กิจกรรมเพื่อสังคม
และสาธารณประโยชน์
5 5 5 5 5 5
รวมรายภาค 600 600 600 600 600 600
รวมรายปี 1,200 1,200 1,200
รวมตลอดหลักสูตร 3,600
หมายเหตุ ให้ผู้เรียนเลือกเรียนวิชาเพิ่มเติม ภาคเรียนละ 100 ชั่วโมง
20
20 20 20 20 20
40
40 40 40 40 40
11
โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชาพื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ง21102 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร 1 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ง22101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ง22102 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร 2 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ง23101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
วิชาเพิ่มเติม
กลุ่มการดารงชีวิตและครอบครัว
ง20201 งานถนอมอาหาร 1 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20202 งานถนอมอาหาร 2 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20203 งานผลิตภัณฑ์จากวัสดุในท้องถิ่น 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20204 งานประดิษฐ์ดอกไม้จากเศษวัสดุ 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20205 งานช่างขนมไทย 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20206 ร้อยมาลัย และงานใบตอง 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ง20207 การปลูกพืชผักทั่วไป 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ง20208 การปลูกพืชสมุนไพร 20 ชั่วโมง/ภาค 0.5 หน่วยกิต
ง20209 การปลูกไม้ดอกประดับ 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20210 การปลูกไม้ผลประเภทล้มลุก 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20211 การปลูกไม้ประดับ 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20212 การปลูกไม้ผลเศรษฐกิจทั่วไป 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20213 ช่างไฟฟ้า 1 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20214 ช่างไฟฟ้า 2 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
รายวิชาในกลุ่มการออกแบบและเทคโนโลยี
ง20221 ช่างเชื่อมโลหะ 1 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ง20222 ช่างเชื่อมโลหะ 2 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
12
รายวิชาในกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ง20241 คอมพิวเตอร์กราฟิก 20 ชั่วโมง/ภาค 0.5 หน่วยกิต
ง20242 การออกแบบพัฒนาเว็บไซต์ 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20243 การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ง20244 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ง20245 การจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้น 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20246 โครงงานคอมพิวเตอร์ 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20247 เทคโนโลยีสารสนเทศ 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ง20247 การสร้างมัลติมีเดีย 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
รายวิชาในกลุ่มการอาชีพ
ง20261 งานประดิษฐ์ดอกไม้ 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ง20262 งานประดิษฐ์ของชาร่วย 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20263 การผลิตพันธุ์ไม้ 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
ง20264 การจัดสวนในภาชนะ 20 ชั่วโมง/ภาค 0.5 หน่วยกิต
ง20265 ช่างเดินสายไฟฟ้าในอาคาร1 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
ง20265 การปลูกพืชเศรษฐกิจอาเซียน 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต
หมายเหตุ - การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (งานบ้าน-งานประดิษฐ์)
- การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (งานช่าง)
- การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 (งานเกษตร)
- การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 (งานธุรกิจ)
13
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
คาอธิบายรายวิชา
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต
อธิบายหลักการ ขั้นตอนการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น
ประเภทของงานช่าง ขั้นตอนการทางานช่าง การซ่อมแซมดัดแปลงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ หลัก
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน อาชีพทางธุรกิจ องค์กรธุรกิจ ธุรกิจทั่วไป ลักษณะงานสานักงาน
การติดต่อสื่อสาร การจัดเก็บเอกสาร กระบวนการของงานสานักงาน การเงินการบัญชี การขาย การ
จัดการประเภทของธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ
มีทักษะกระบวนการการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น รู้จัก
ขั้นตอนการทางานช่าง ประเภทของงานช่าง การซ่อมแซมดัดแปลงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ รู้จักหลัก
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน รู้จักอาชีพทางธุรกิจ องค์กรธุรกิจ ธุรกิจทั่วไป ลักษณะงานสานักงาน
การติดต่อสื่อสาร การจัดเก็บเอกสาร กระบวนการของงานสานักงาน การเงินการบัญชี การขาย การ
จัดการประเภทของธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ
ความรู้ ความเข้าใจ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตสานึกในการใช้
พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี รักการทางาน ทางานด้วยความประณีต
รอบคอบ รับผิดชอบ ขยันซื่อสัตย์ ประหยัดอดออม มีเจตคติที่ดีเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
สุจริต เข้าใจธรรมชาติ ใช้ความรู้ภูมิปัญญา จินตนาการและความคิดอย่างเป็นระบบ ตาม
กระบวนการเทคโนโลยี สามารถตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีที่สร้างสรรค์ต่อชีวิต
รหัสตัวชี้วัด
ง 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ง 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด
14
คาอธิบายรายวิชา
ง21102 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษาความหมาย บทบาท ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
การทางานของคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะการเลือกใช้ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์
พัฒนาการของการสื่อสารข้อมูล ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความหมายและพัฒนาการ
อินเตอร์เน็ต ปฏิบัติการใช้งานอินเตอร์เน็ตสาหรับการสืบค้นข้อมูล และการติดต่อสื่อสารโดยใช้บริการ
ในอินเตอร์เน็ท คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต ซอฟแวร์ประยุกต์ ซอฟแวร์ระบบช่วยใน
การทางาน
ศึกษาความหมาย บทบาท ความสาคัญในการนาโปรแกรมประมวลผลคา ( Word Processor )
สาหรับงานประมวลผลคาประเภทต่างๆ เทคนิคการสร้างงานเอกสารแต่ละประเภท การจัดการ
เอกสาร การนาเอกสารที่บันทึกไว้มาทาการแก้ไข การเพิ่ม การลบ การย้ายหรือคัดลอก แต่งข้อความ
รูปภาพ และวัตถุ (Object) ต่างๆ ในเอกสาร การพิมพ์เอกสารทางเครื่องพิมพ์
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรู้ ความเข้าใจ การคิด วิเคราะห์ การฝึกทักษะปฏิบัติงาน
การแก้ปัญหา การทางานกลุ่ม การนาเสนอข้อมูล การเสริมสร้างเจตคติ และกระบวนเสริมสร้าง
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ในการช่วยอานวยความสะดวกในการดาเนินกิจกรรม
เพื่อประโยชน์สาหรับใช้เป็นเครื่องมือในการทางาน เช่น แก้ปัญหา สร้างงาน สร้างความ
บันเทิง ติดต่อสื่อสาร การสืบค้นข้อมูล การประมวลผลข้อมูล ให้ผู้เรียนตระหนักและเห็นคุณค่า มี
ความรู้ความเข้าใจ และทักษะเบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างงาน มีคุณธรรมจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศสร้างสรรค์ผลงานในการดารงชีวิต รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่า
ถูกวิธี
รหัสตัวชี้วัด
ง 3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.2/1 ม.2/3
รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด
15
คาอธิบายรายวิชา
ง22102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต
อธิบายหลักการขั้นตอนการทางาน การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในโรงเรียน หรือ
ท้องถิ่น สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่างปลอดภัย ออกแบบโดย
ถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3 มิติ หรือภาพฉาย เพื่อนาไปสู่การสร้างต้นแบบของสิ่งของเครื่องใช้
มีทักษะกระบวนการการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในโรงเรียนหรือ
ท้องถิ่น มีกระบวนการสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่างปลอดภัย
ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3 มิติ หรือภาพฉาย เพื่อนาไปสู่การสร้างต้นแบบของสิ่งของ
เครื่องใช้
ความรู้ ความเข้าใจ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตสานึกในการใช้
พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี รักการทางาน ทางานด้วยความประณีต
รอบคอบ รับผิดชอบ ขยันซื่อสัตย์ ประหยัดอดออม มีเจตคติที่ดีเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
สุจริต เข้าใจธรรมชาติ ใช้ความรู้ภูมิปัญญา จินตนาการและความคิดอย่างเป็นระบบ ตาม
กระบวนการเทคโนโลยี สามารถตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีที่สร้างสรรค์ต่อชีวิต
รหัสตัวชี้วัด
ง 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
ง 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3,ม.2/4
ง 4.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
รวมทั้งหมด 10 ตัวชี้วัด
16
คาอธิบายรายวิชา
ง 22102 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษาการสื่อสารข้อมูล อุปกรณ์สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชนิดของ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ ปฏิบัติการใช้งานอินเตอร์เน็ตสาหรับการสืบค้นข้อมูล การประมวลผลข้อมูล และการ
ติดต่อสื่อสารโดยใช้บริการในอินเตอร์เน็ท คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต ซอฟแวร์
ประยุกต์ ซอฟแวร์ระบบช่วยในการทางาน
ศึกษาการใช้โปรแกรมสาหรับงานนาเสนอประเภทต่างๆ การจัดการแฟ้มข้อมูล เช่นการเพิ่ม
การลบ การย้ายหรือคัดลอก แต่งข้อความ รูปภาพ และวัตถุ (Object) ต่างๆ การดูสไลด์ในมุมมอง
ต่างๆ การเพิ่มลวดลาย สีสัน เปลี่ยนชุดสี การนาเสนอผลงานผ่านสื่อประสม
ศึกษาการใช้โปรแกรมตารางทางาน วิวัฒนาการของตารางทางาน ส่วนประกอบของโปรแกรม
ตารางงาน การจัดสมุดงาน กระดาษทาการ การนาเข้าข้อมูล การแก้ไขข้อมูล การย้ายข้อมูล และ
การคัดลอกข้อมูล การจัดรูปแบบกระดาษทาการ การจัดรูปแบบข้อมูล การสร้างสูตรและการใช้
ฟังก์ชันในการคานวณ การออกรายงานในรูปแบบข้อความและแผนภูมิ
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรู้ ความเข้าใจ การคิด วิเคราะห์ การฝึกทักษะปฏิบัติงาน
การแก้ปัญหา การทางานกลุ่ม การนาเสนอข้อมูล การเสริมสร้างเจตคติ และกระบวนเสริมสร้าง
คุณลักษณะที่พึงประสงค์เพื่อให้ผู้เรียน ตระหนักและเห็นคุณค่า มีความรู้ความเข้าใจ และทักษะ
เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างงานนาเสนอ และการใช้งานโปรแกรมตารางทางาน สร้างแนวคิดในการ
จัดการงาน สามารถนาทักษะที่ได้จากการฝึกปฏิบัติไปประยุกต์ในการสร้างงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล มีคุณธรรมจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างสรรค์ผลงานในการดารงชีวิต
รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าถูกวิธี
รหัสตัวชี้วัด
ง2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
ง3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด
17
คาอธิบายรายวิชา
ง23101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต
อธิบายหลักการ ขั้นตอนการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น
ประเภทของงานช่าง ขั้นตอนการทางานช่าง การซ่อมแซมดัดแปลงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ หลัก
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน อาชีพทางธุรกิจ องค์กรธุรกิจ ธุรกิจทั่วไป ลักษณะงานสานักงาน การ
ติดต่อสื่อสาร การจัดเก็บเอกสาร กระบวนการของงานสานักงาน การเงินการบัญชี การขาย การจัดการ
ประเภทของธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ
มีทักษะกระบวนการการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น
รู้จักขั้นตอนการทางานช่าง ประเภทของงานช่าง การซ่อมแซมดัดแปลงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ รู้จัก
หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน รู้จักอาชีพทางธุรกิจ องค์กรธุรกิจ ธุรกิจทั่วไป ลักษณะงาน
สานักงาน การติดต่อสื่อสาร การจัดเก็บเอกสาร กระบวนการของงานสานักงาน การเงินการบัญชี
การขาย การจัดการประเภทของธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ
ความรู้ ความเข้าใจ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตสานึกในการใช้
พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี รักการทางาน ทางานด้วยความประณีต
รอบคอบ รับผิดชอบ ขยันซื่อสัตย์ ประหยัดอดออม มีเจตคติที่ดีเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
สุจริต เข้าใจธรรมชาติ ใช้ความรู้ภูมิปัญญา จินตนาการและความคิดอย่างเป็นระบบ ตาม
กระบวนการเทคโนโลยี สามารถตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีที่สร้างสรรค์ต่อชีวิต
รหัสตัวชี้วัด
ง 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
ง 2.1 ม.3/1, ม.3/2
ง 4.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด
18
คาอธิบายรายวิชา
ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต
อธิบายหลักการ ขั้นตอนการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น
ประเภทของงานช่าง ขั้นตอนการทางานช่าง การซ่อมแซมดัดแปลงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ หลัก
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน อาชีพทางธุรกิจ องค์กรธุรกิจ ธุรกิจทั่วไป ลักษณะงานสานักงาน การ
ติดต่อสื่อสาร การจัดเก็บเอกสาร กระบวนการของงานสานักงาน การเงินการบัญชี การขาย การจัดการ
ประเภทของธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ
มีทักษะกระบวนการการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น
รู้จักขั้นตอนการทางานช่าง ประเภทของงานช่าง การซ่อมแซมดัดแปลงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ รู้จัก
หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน รู้จักอาชีพทางธุรกิจ องค์กรธุรกิจ ธุรกิจทั่วไป ลักษณะงาน
สานักงาน การติดต่อสื่อสาร การจัดเก็บเอกสาร กระบวนการของงานสานักงาน การเงินการบัญชี
การขาย การจัดการประเภทของธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ
ความรู้ ความเข้าใจ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตสานึกในการใช้
พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี รักการทางาน ทางานด้วยความประณีต
รอบคอบ รับผิดชอบ ขยันซื่อสัตย์ ประหยัดอดออม มีเจตคติที่ดีเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
สุจริต เข้าใจธรรมชาติ ใช้ความรู้ภูมิปัญญา จินตนาการและความคิดอย่างเป็นระบบ ตาม
กระบวนการเทคโนโลยี สามารถตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีที่สร้างสรรค์ต่อชีวิต
รหัสตัวชี้วัด
ง 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
ง 2.1 ม.3/1, ม.3/2
ง 4.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด
19
วิชาเพิ่มเติม
คาอธิบายรายวิชา
ง20201 งานถนอมอาหาร 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต
รายวิชางานถนอมอาหาร เป็นราย ที่มุ่งปลูกฝังให้ผู้เรียนศึกษาเกี่ยวกับความสาคัญและ
หลักการถนอมอาหาร การเลือกอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์และเครื่องใช้ เทคนิคและวิธีการถนอม
อาหาร ความสาคัญของสารปรุงแต่งอาหาร ชนิด คุณสมบัติและปริมาณที่ใช้ การเก็บรักษา การ
สงวนคุณค่าทางโภชนาการ
โดยฝึกปฏิบัติงานถนอมอาหารตามฤดูกาลของท้องถิ่นตามกรรมวิธีต่าง ๆ ซึ่งสามารถทาได้ใน
ครัวเรือน เช่น การหมักดอง การทาให้แห้ง การใช้สารปรุงแต่งอาหาร การใช้อุณหภูมิสูง บรรจุและ
เก็บอาหารที่ถนอมแล้วให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการและถูกลักษณะ คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคา
จัดจาหน่าย จดบันทึกการปฏิบัติงาน ทาบัญชีรายรับ - รายจ่าย และประเมินผล
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะเกี่ยวกับหลักการและเทคนิควิธีถนอมอาหาร สามารถ
ถนอมอาหารประเภทต่าง ๆ และจาหน่ายได้
ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจความเป็นมาและความสาคัญของการถนอมอาหาร
2. การใช้และเก็บรักษาวัสดุ – อุปกรณ์ในการการถนอมอาหาร
3. เข้าใจหลักการวิธีการ ขั้นตอน กระบวนการทางานเทคนิคและวิธีการถนอมอาหาร
ความสาคัญของสารปรุงแต่งอาหาร
4. ฝึกปฏิบัติงานถนอมอาหารตามฤดูกาลของท้องถิ่นตามกรรมวิธีต่าง ๆ
5. คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาจัดจาหน่าย และบริการ ทาบัญชีรายรับ - รายจ่าย และ
จาหน่าย
6. บันทึกผลการปฏิบัติการประเมินผล และรายงาน
รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
20
คาอธิบายรายวิชา
ง20202 งานถนอมอาหาร 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต
ศึกษาความสาคัญและหลักการถนอมอาหาร การเลือกอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ และเทคนิคและ
วิธีการถนอมอาหาร ความสาคัญของสารปรุงชนิด คุณสมบัติและปริมาณที่ใช้ การเก็บรักษา การสงวน
คุณค่าโภชนาการและถูกสุขลักษณะ
วิเคราะห์ปฏิบัติการถนอมอาหารตามฤดูกาลของท้องถิ่นตามกรรมวิธีต่างๆ เช่นการหมักดอง
แช่อิ่ม การกวน การเชื่อม การตากแห้ง อาหารในท้องถิ่นใช้อุณหภูมิสูงใช้สารเคมีปรุงแต่งอาหารบรรจุ
และเก็บอาหารที่ถนอมแล้วให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการและถูกสุขลักษณะ คานวณค่าใช้จ่าย กาหนด
ราคา จัดจาหน่าย จดบันทึกการปฏิบัติงาน ทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับหลักการปละเทคนิควิธีถนอมอาหารประเภทต่างๆ
ออกแบบ บรรจุภัณฑ์และจัดจาหน่ายได้
ผลการเรียนรู้
1.เลือกวัสดุผักและผลไม้ที่มีในท้องถิ่นประเภทผักและผลไม้
2.ฝึกปฏิบัติทักษะการถนอมอาหารประเภทกวน
3.ฝึกปฏิบัติทักษะการถนอมอาหารประเภทหมักดอง
4.ฝึกปฏิบัติทักษะการถนอมอาหารประเภทเชื่อม,แช่อิ่ม
5.ออกแบบบรรจุภัณฑ์และจัดจาหน่าย
6.การขาย และการตลาด
รวมทั้งหมด6 ผลการเรียนรู้
21
คาอธิบายรายวิชา
ง20203 งานผลิตภัณฑ์จากวัสดุในท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต
ศึกษารูปแบบผลิตภัณฑ์ แหล่งวัสดุ ทั้งที่เป็นธรรมชาติและสังเคราะห์ คุณสมบัติวัสดุใน
ท้องถิ่น เครื่องมือและอุปกรณ์ การออกแบบให้ตรงกับความต้องการของตลาด วิธีการผลิต เช่น ถัก
ผูก พัน สาน ฟั่น ฯลฯ การบรรจุหีบห่อ ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานสารวจผลิตภัณฑ์และแหล่งวัสดุภายในท้องถิ่น และหรือวัสดุสังเคราะห์ ออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับวัสดุ เตรียมเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ ผลิตชิ้นงานด้วยวิธีต่าง ๆ ตกแต่งขั้น
สาเร็จ ทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย กาหนดราคา และจัดจาหน่าย
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับการเลือกวัสดุ สามารถทาผลิตภัณฑ์ตาม
ขั้นตอนและจาหน่ายได้
ผลการเรียนรู้
1. ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบผลิตภัณฑ์ แหล่งวัสดุ ทั้งที่เป็นธรรมชาติและสังเคราะห์
2. เลือกใช้เครื่องมือและเก็บบารุงรักษา ได้อย่างถูกวิธี
3. เลือกใช้เศษวัสดุในท้องถิ่นและวัสดุสังเคราะห์ได้อย่างเหมาะสม
4. เข้าใจหลักการวิธีการ ขั้นตอน กระบวนการทางานผลิตภัณฑ์จากวัสดุในท้องถิ่น
5. ปฏิบัติงานการทาผลิตภัณฑ์จากวัสดุ ภายในท้องถิ่น อย่างน้อย 2 ชิ้น
6. คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาจัดจาหน่าย และบริการ ทาบัญชีรายรับ - รายจ่าย และ
จาหน่าย
7. บันทึกผลการปฏิบัติการประเมินผล และรายงาน
รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้
22
คาอธิบายรายวิชา
ง20204 งานประดิษฐ์ดอกไม้จากเศษวัสดุ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต
ศึกษาเทคนิควิธีทาดอกไม้ประดิษฐ์ด้วยผ้ากระดาษและเศษวัสดุการออกแบบดอกไม้ประดิษฐ์
การตกแต่งเป็นช่อ การใช้และบารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์
ปฏิบัติการเลือกแบบและวัสดุทาดอกไม้ตามความต้องการของตลาด ทาเกสรดอกใบและเข้าช่อ
ติดวัสดุตกแต่ง เป็นดอกไม้ประดิษฐ์ชนิดต่างๆ คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาหรือค่าบริการ จัด
จาหน่าย จดบันทึกการปฏิบัติงาน ทาบัญชีรายรับ-รายจ่ายและการประเมินผล
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะเกี่ยวกับการออกแบบ เลือกวัสดุและความสามารถ ทา
ดอกไม้ประดิษฐ์จาหน่ายได้
ผลการเรียนรู้
1. ศึกษาเทคนิคทาดิกไม้ประดิษฐ์จากผ้า,กระดาษ และเศษวัสดุ
2. วิเคราะห์วัสดุอุปกรณ์นามาออกแบบ,การบารุงรักษา เครื่องมือเครื่องใช้
3. ฝึกปฏิบัติทักษะการทาดอกไม้ ส่วนประกอบชนิดต่างๆของดอกไม้ การเข้าช่อ
4. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับโอกาสการใช้งานและการตลาด
5. จัดทาบัญชีรับ-จ่าย บันทึกการปฏิบัติงานการคานวณ ค่าใช้จ่าย
รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
23
คาอธิบายรายวิชา
ง20205 งานช่างขนมไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต
ศึกษาความรู้ทั่วไปในการทาขนมไทย การเลือกซื้อและการบารุงรักษาเครื่องปรุงสดและ
เครื่องปรุงแห้ง เทคนิคการทาขนมไทยชนิดต่างๆ การบรรจุวิธีเก็บรักษาขนมไทยไว้ได้นานและถูก
สุขลักษณะ
วิเคราะห์งานปฏิบัติงานเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ในการทาขนมไทยแต่ละ
ชนิด ทาขนมไทยประเภทต่างๆ การบรรจุและเก็บ คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาหรือค่าบริการจัด
จาหน่าย จดบันทึกปฏิบัติงานทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย และประเมินผล
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับการทาขนมไทยและจาหน่าย
ผลการเรียนรู้
1. ศึกษาและเทคนิคความรู้ทั่วไปในการทาขนมไทย
2. การเลือกวัสดุ อุปกรณ์และเทคนิคการทาขนมไทย
3. ออกแบบการบรรจุภัณฑ์ขนมไทย การจัดจาหน่าย
4. ปฏิบัติงานการทาขนมไทยชนิดต่างๆ
5. บันทึกการปฏิบัติงาน จัดทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย กาหนดราคาขายได้
รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
24
คาอธิบายรายวิชา
ง20206 ร้อยมาลัย และงานใบตอง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต
อธิบายหลักการ ขั้นตอนการร้อยมาลัย - งานใบตอง การเลือกใช้ และการซ่อมแซม วัสดุ
อุปกรณ์อานวยความสะดวก วิเคราะห์การเลือกวัสดุในการปฏิบัติงาน การจัดจาหน่าย
ฝึกปฏิบัติให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและวิธีการขั้นตอนการ
ปฏิบัติงาน จนเกิดทักษะกระบวนการทางาน โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการทางาน ด้วยความเสียสละ
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางาน อย่างมีเหตุผล
เห็นแนวทางการเลือกอาชีพ มีเจตคติที่ดี เห็นความสาคัญของการประกอบอาชีพ
ผลการเรียนรู้
1. รู้ความเป็นมาของการร้อยมาลัย และใบตอง
2. รู้จักวิธีการเลือก และการเก็บรักษา ดอกไม้ ใบไม้ วัสดุตกแต่ง
3. ใช้และเก็บรักษาวัสดุ – อุปกรณ์ในการร้อยมาลัย - ใบตอง
4. หลักการ วิธีการ ขั้นตอน กระบวนการ ร้อย อุบะ และ วัสดุตกแต่ง
5. หลักการ วิธีการ ขั้นตอน กระบวนการ ทาบายศรี และตกแต่ง มาลัย ต่าง ๆ
6. คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาจัดจาหน่าย และบริการ ทา บัญชีรายรับ – รายจ่าย และ
จาหน่าย
7. บันทึกผลการปฏิบัติการประเมินผล และรายงาน
รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้
25
คาอธิบายรายวิชา
ง20207 การปลูกพืชผักทั่วไป กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษาความหมาย ความสาคัญ และประโยชน์ของพืชผักทั่วไป เช่น ผักกาด ผักคะน้า
กะหล่าปลี ฯลฯ การจาแนกและการแบ่งชนิดของพืชผัก ทาเลที่เหมาะสมกับสาหรับสวนผัก ปัจจัยที่มี
อิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืชผัก ลักษณะเมล็ดพันธุ์ที่ดี การเตรียมดินปลูก การปฏิบัติดูแลรักษา
การป้องกันโรคและกาจัดศัตรู การเก็บเกี่ยว และการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การถนอมอาหารและ
การแปรรูป
วิเคราะห์ข้อมูลความต้องการของตลาด เลือกปลูกพืชผักอย่างน้อย 3 ชนิด ปฏิบัติงานเตรียม
ดินปลูก ทาแปลงเพาะเมล็ด ทดสอบการงอกของเมล็ด เพาะเมล็ด หว่านเมล็ด ย้ายกล้าปลูก ดูแล
รักษา เก็บเกี่ยว แปรรูป และจัดผลิตผลจาหน่าย คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาขาย จัด
จาหน่าย จดบันทึกการปฏิบัติงาน ทาบัญชีรายรับ - รายจ่าย และประเมินผล
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการปลูกพืชผักทั่วไป สามารถแปรรูปพืชผักและ
จาหน่ายได้
ผลการเรียนรู้
1. บอกความหมายและความสาคัญและประโยชน์ของของพืชผักทั่วไป
2. การจาแนกและการแบ่งชนิดของพืชผัก ทาเลที่เหมาะสมกับสาหรับสวนผัก
3. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืชผัก
4. สามารถใช้เครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ในปลูกพืชผักได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
5. บอกวิธีการปลูกพืชผัก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว การจัดผลิตผลจาหน่าย
6. เลือกปลูกพืชผักอย่างน้อย 3 ชนิด
7. มีจัดการดูแลรักษาพืชผักได้อย่างถูกต้อง
8. จัดทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย การปลูกพืชผัก
9. บันทึกผลการปฏิบัติการประเมินผล และรายงาน
รวมทั้งหมด 9 ผลการเรียนรู้
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุNattapon
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1peter dontoom
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์Krupol Phato
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 

Was ist angesagt? (20)

โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 

Ähnlich wie โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น

บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51Manchai
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน BrProud N. Boonrak
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 

Ähnlich wie โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น (20)

บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
B2
B2B2
B2
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น

  • 1. 1 ความนา ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ 293/2551 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เป็น หลักสูตรแกนกลางของประเทศ ซึ่งพัฒนามาจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ใน ประเด็นที่เป็นปัญหาและความไม่ชัดเจนของหลักสูตร ข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนสู่ ศตวรรษที่ 21 จึงได้มีการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อนาไปสู่การ พัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความเหมาะสมและชัดเจน โดย กาหนดวิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่ มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก นอกจากนั้นยังได้กาหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ใน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อม จุดเน้นของเขตพื้นที่การศึกษา และจุดเน้นของสถานศึกษา อีกทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และมีความชัดเจนต่อการนาไปปฏิบัติได้ กระบวนการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีการปรับ กระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่มุ่งเน้นการกระจายอานาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่น และสถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพและความ ต้องการของท้องถิ่น จึงกาหนดบทบาทให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นหน่วยงานที่เชื่อมโยงหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และความต้องการของท้องถิ่นสู่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และ การจัดการเรียนการสอนซึ่งเขตพื้นที่การศึกษาการมัธยมศึกษา เขต 19 ได้จัดทากรอบหลักสูตรระดับ ท้องถิ่น เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน มีความรัก ความภาคภูมิใจในบ้านเกิดเมือง นอนและท้องถิ่นของตนเอง โดยได้กาหนดเป้าหมาย/จุดเน้น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การประเมิน คุณภาพการศึกษาระดับท้องถิ่น เพื่อใช้เป็นแนวทางสาหรับสถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอน เกี่ยวกับชุมชน ท้องถิ่นต่อไป เอกสารหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีนี้ เป็นเอกสารประกอบ หลักสูตรโรงเรียนผาสามยอดวิทยาคม พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่จัดทาขึ้นสาหรับให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องได้ นาไปใช้เป็นกรอบ และแนวทางในการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งมีความ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สอดคล้องกับกรอบหลักสูตร
  • 2. 2 ระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษาการมัธยมศึกษา เขต 19 พุทธศักราช 2553 และจุดเน้นของ โรงเรียนที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมที่มี การเปลี่ยนแปลงและแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต วิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็น มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะ พื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดย มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตาม ศักยภาพ หลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ เรียนรู้เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้ สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการ เรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม ทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติ ตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  • 3. 3 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะ ชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ ความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง และสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่ เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จัก หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
  • 4. 4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนผาสามยอดวิทยาคม พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ เป้าหมาย/จุดเน้นระดับท้องถิ่น ของเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 จากการนาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลการเข้าร่วมสนทนากลุ่ม ร่วมกับองค์กรต่างๆในท้องถิ่น ที่จังหวัดเลย ได้ปัญหาและความต้องการระดับจังหวัด และข้อมูลพื้นฐานของเขตพื้นที่การศึกษาการ มัธยมศึกษา เขต 19 ที่ได้รวบรวมเป็นข้อมูลในการกาหนดเป้าหมาย/จุดเน้น ได้แก่ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ นักเรียน ข้อมูลด้านนักเรียนอ่านไม่ได้เขียนไม่ได้ ข้อมูลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก สมศ. รอบหนึ่งและรอบสอง เขตพื้นที่การศึกษาการมัธยมศึกษา เขต 19 โดยคณะกรรมการและผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง ได้นาข้อมูลดังกล่าว สังเคราะห์เพื่อเห็นเป้าหมาย/จุดเน้น และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ดังนี้ เป้าหมาย/จุดเน้น 1. การอ่าน การเขียน และคิดคานวณ 2. การคิดวิเคราะห์ 3. รักและภูมิใจในท้องถิ่นชาวเลย กรอบสาระการเรียนรู้ตามเป้าหมาย/จุดเน้น คณะกรรมการได้กาหนดกรอบการจัดการเรียนรู้หลักสูตรระดับท้องถิ่นตามเป้าหมาย/จุดเน้น ไว้ ดังนี้ 1. การอ่าน การเขียน และคิดคานวณ 1.1 การอ่าน การเขียน คาบัญชีพื้นฐาน และคาที่ใช้ในชีวิตประจาวัน 1.2 การคิดคานวณทักษะพื้นฐาน บวก ลบ คูณ หาร และแก้โจทย์ปัญหา
  • 5. 5 2. การคิดวิเคราะห์ 2.1 กระบวนการคิด 2.2 กระบวนการแก้ปัญหา 2.3 พัฒนาทักษะชีวิต 3. รักและภูมิใจในท้องถิ่นชาวเลย 3.1 ประวัติจังหวัดเลยและท้องถิ่น 3.2 สภาพภูมิศาสตร์ของท้องถิ่น 3.3 ศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณี ในท้องถิ่น 3.4 ภาษาไทยเลย 3.5 ความอ่อนน้อม ถ่อมตน ตามวิถีชีวิตชาวเลย 3.6 แหล่งท่องเที่ยวในท้องถิ่น 3.7 บุคคลสาคัญในท้องถิ่น 3.8 ภูมิปัญญาท้องถิ่น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น 1. ประวัติจังหวัดเลยและท้องถิ่น - ความเป็นมา 2. สภาพภูมิศาสตร์ ของท้องถิ่น - ลักษณะภูมิประเทศ - ลักษณะภูมิอากาศ - แม่น้า - ภูเขา - ทรัพยากรธรรมชาติ 3. ศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณี ในท้องถิ่น - ภาษาและวรรณกรรมจังหวัดเลย - โบราณสถาน,โบราณวัตถุ - กีฬา นันทนาการชุมชน และการละเล่นพื้นบ้าน - อาหารพื้นเมืองและอาหารท้องถิ่น - สิ่งประดิษฐ์และหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น การทาหน้ากากผีตาโขน,ผลิตภัณฑ์จากไม่ไผ่ - งานประเพณีสาคัญของจังหวัดเลย และท้องถิ่น เช่น การละเล่นผีตาโขน งานดอกฝ้าย บาน มะขามหวานเมืองเลย, งานประเพณีท้องถิ่น “ ฮีตสิบสอง คลองสิบสี่ ” 4. ภาษาไทยเลย - ภาษาและวรรณกรรม เช่น ภาษาไทเลย,นิทานพื้นบ้าน,ผญา
  • 6. 6 5. ความอ่อนน้อม ถ่อมตน ตามวิถีชีวิตชาวเลย - การปฏิบัติตน - การมีสัมมา คารวะ - วิถีชีวิต 6. แหล่งท่องเที่ยวในท้องถิ่น - แหล่งท่องเที่ยวสาคัญของจังหวัดเลย - แหล่งท่องเที่ยวสาคัญของอาเภอ หมู่บ้าน 7. บุคคลสาคัญในท้องถิ่น - บุคคลสาคัญในจังหวัดเลย - บุคคลสาคัญในอาเภอ หมู่บ้าน 8. ภูมิปัญญาท้องถิ่น - ปราชญ์ท้องถิ่น วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย/จุดเน้นของโรงเรียนผาสามยอดวิทยาคม วิสัยทัศน์ (Vision) โรงเรียนผาสามยอดวิทยาคม จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานด้วยการพัฒนานักเรียนและการพัฒนา บุคลากรในทุกมิติให้มีคุณธรรมนาความรู้ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและมีคุณภาพตามมาตรฐานโดย ชุมชนมีส่วนร่วม พันธกิจ 1. รับนักเรียนการศึกษาภาคบังคับในเขตพื้นที่บริการได้อย่างทั่วถึงโดยการรณรงค์แบบมีส่วน ร่วมทุกภาคส่วน 2. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนและมาตรฐานการศึกษาช่วงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษา ตอนปลาย โดยมีเป้าหมายให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 3. จัดส่งเสริมพัฒนาประสิทธิภาพครูตามเกณฑ์มาตรฐานตาแหน่งและวิทยฐานะครูและ ประสิทธิภาพการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในทุกมิติ 4. จัดบริหาร จัดการศึกษาโรงเรียนที่เป็นนิติบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ 5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคเอกชนและท้องถิ่นเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียนโดยมีเป้าหมายการจัดการศึกษาสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน และท้องถิ่น เป้าหมาย/จุดเน้นของโรงเรียน ผาสามยอดวิทยาคม 1. ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะตามมาตรฐานการเรียนรู้ สู่ความเป็นสากลตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
  • 7. 7 2. ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะการดารงชีวิตใน วิถีประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 3. ผู้เรียนการพัฒนาศักยภาพทั้งด้านวิชาการ พื้นฐานอาชีพ ศิลปะ ดนตรีและกีฬา ได้เต็ม ศักยภาพของตนเอง 4. รักษ์และภูมิใจในท้องถิ่นชาวเลย วัฒนธรรม วิถีการดารงชีวิตของท้องถิ่นอย่างมีความสุข นาไปประยุกต์ใช้กับสังคมภายนอก วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี จัดและส่งเสริมการศึกษาด้านการงานอาชีพที่เกี่ยวกับทักษะการดารงชีวิตและครอบครัวให้ ผู้เรียนได้เรียนอย่างทั่วถึง สอดแทรกคุณธรรม คุณภาพของการปฏิบัติงาน ผู้เรียนมีศักยภาพในการ พัฒนาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรมมีจิตสานึกในความเป็นไทยรัก การประกอบอาชีพสุจริต ผู้เรียนมีศักยภาพการเรียนรู้ในระดับสากล เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข พันธะกิจของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1. ให้ผู้เรียนในเขตพื้นที่บริการได้เข้าเรียนทั่วถึง 2. พัฒนาสถานศึกษาร่วมกับโรงเรียนให้สถานศึกษาได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน จัดกิจกรรมการ สอนในกลุ่มสาระโดยมุ่งเน้นคุณภาพของนักเรียน 3. พัฒนาระบบการเรียนการสอนโดยใช้สื่อเทคโนโลยี 4. ส่งเสริมสนับสนุนให้ครู ในกลุ่มสาระได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและนามาปฏิบัติภารกิจได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ส่งเสริมผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพโดยยึดหลัก คุณธรรมนาความรู้ตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียง
  • 8. 8 ทาไมต้องเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนาความรู้เกี่ยวกับการดารงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์ในการทางาน อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และแข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รัก การทางาน และมีเจตคติที่ดีต่อการทางาน สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียงและมี ความสุข เรียนรู้อะไรในการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพื่อให้มี ความรู้ความสามารถ มีทักษะในการทางาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้  การดารงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเกี่ยวกับการทางานในชีวิตประจาวัน ช่วยเหลือ ตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม เน้นการปฏิบัติจริง จนเกิดความมั่นใจและภูมิใจในผลสาเร็จของงาน เพื่อให้ค้นพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ของตนเอง  การออกแบบและเทคโนโลยี เป็นสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถ ของมนุษย์อย่างสร้างสรรค์ โดยนาความรู้มาใช้กับกระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่งของ เครื่องใช้ วิธีการ หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการดารงชีวิต  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นสาระเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร การค้นหาข้อมูล การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรือ การสร้างงาน คุณค่าและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  การอาชีพ เป็นสาระที่เกี่ยวข้องกับทักษะที่จาเป็นต่ออาชีพ เห็นความสาคัญของ คุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
  • 9. 9 คุณภาพผู้เรียน จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  เข้าใจกระบวนการทางานที่มีประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางาน มีทักษะ การแสวงหาความรู้ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาและทักษะการจัดการ มีลักษณะนิสัยการทางานที่ เสียสละ มีคุณธรรม ตัดสินใจอย่างมีเหตุผลและถูกต้อง และมีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมอย่างประหยัดและคุ้มค่า  เข้าใจกระบวนการเทคโนโลยีและระดับของเทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์ ในการ แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่าง ถูกต้องและปลอดภัย โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพฉายเพื่อนาไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือแบบจาลอง ความคิดและการรายงานผล เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีการ จัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม  เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หลักการและวิธี แก้ปัญหา หรือการทาโครงงานด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะการค้นหาข้อมูล และการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม การใช้คอมพิวเตอร์ ใน การแก้ปัญหา สร้างชิ้นงานหรือโครงงานจากจินตนาการ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองาน  เข้าใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติที่ดีต่อและเห็นความสาคัญของการประกอบ อาชีพ วิธีการหางานทา คุณสมบัติที่จาเป็นสาหรับการมีงานทา วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ มีทักษะ พื้นฐานที่จาเป็นสาหรับการประกอบอาชีพ และประสบการณ์ต่ออาชีพที่สนใจ และประเมินทางเลือกใน การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ ความถนัด และความสนใจ
  • 10. 10 โครงสร้างเวลาเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2553 กลุ่มสาระ/ สาขา ม.1 ม.2 ม.3 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม ภาษาไทย 60 40 60 40 60 40 60 40 60 40 60 40 คณิตศาสตร์ 60 60 60 60 60 60 วิทยาศาสตร์ 60 40 60 40 60 40 60 40 60 40 60 40 สังคมศึกษาและ วัฒนธรรม - ประวัติศาสตร์ - ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม - หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการ ดาเนินชีวิตในสังคม - ภูมิศาสตร์ - เศรษฐศาสตร์ 60 60 60 60 60 60 สุขศึกษา 20 20 20 20 20 20 พลศึกษา 20 20 20 20 20 20 ศิลปะ 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 การงานฯ 40 60 40 60 40 60 40 60 40 60 40 60 ภาษาต่างประเทศ 60 60 60 60 60 60 กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน 60 60 60 60 60 60  กิจกรรมแนะแนว 20 20 20 20 20 20  กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือ – เนตรนารี - ชุมนุม 20 15 20 15 20 15 20 15 20 15 20 15 กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ 5 5 5 5 5 5 รวมรายภาค 600 600 600 600 600 600 รวมรายปี 1,200 1,200 1,200 รวมตลอดหลักสูตร 3,600 หมายเหตุ ให้ผู้เรียนเลือกเรียนวิชาเพิ่มเติม ภาคเรียนละ 100 ชั่วโมง 20 20 20 20 20 20 40 40 40 40 40 40
  • 11. 11 โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ง21102 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร 1 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ง22101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ง22102 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร 2 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ง23101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต วิชาเพิ่มเติม กลุ่มการดารงชีวิตและครอบครัว ง20201 งานถนอมอาหาร 1 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20202 งานถนอมอาหาร 2 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20203 งานผลิตภัณฑ์จากวัสดุในท้องถิ่น 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20204 งานประดิษฐ์ดอกไม้จากเศษวัสดุ 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20205 งานช่างขนมไทย 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20206 ร้อยมาลัย และงานใบตอง 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ง20207 การปลูกพืชผักทั่วไป 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ง20208 การปลูกพืชสมุนไพร 20 ชั่วโมง/ภาค 0.5 หน่วยกิต ง20209 การปลูกไม้ดอกประดับ 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20210 การปลูกไม้ผลประเภทล้มลุก 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20211 การปลูกไม้ประดับ 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20212 การปลูกไม้ผลเศรษฐกิจทั่วไป 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20213 ช่างไฟฟ้า 1 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20214 ช่างไฟฟ้า 2 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต รายวิชาในกลุ่มการออกแบบและเทคโนโลยี ง20221 ช่างเชื่อมโลหะ 1 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ง20222 ช่างเชื่อมโลหะ 2 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต
  • 12. 12 รายวิชาในกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ง20241 คอมพิวเตอร์กราฟิก 20 ชั่วโมง/ภาค 0.5 หน่วยกิต ง20242 การออกแบบพัฒนาเว็บไซต์ 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20243 การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ง20244 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ง20245 การจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้น 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20246 โครงงานคอมพิวเตอร์ 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20247 เทคโนโลยีสารสนเทศ 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ง20247 การสร้างมัลติมีเดีย 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต รายวิชาในกลุ่มการอาชีพ ง20261 งานประดิษฐ์ดอกไม้ 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ง20262 งานประดิษฐ์ของชาร่วย 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20263 การผลิตพันธุ์ไม้ 60 ชั่วโมง/ภาค 1.5 หน่วยกิต ง20264 การจัดสวนในภาชนะ 20 ชั่วโมง/ภาค 0.5 หน่วยกิต ง20265 ช่างเดินสายไฟฟ้าในอาคาร1 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต ง20265 การปลูกพืชเศรษฐกิจอาเซียน 40 ชั่วโมง/ภาค 1.0 หน่วยกิต หมายเหตุ - การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (งานบ้าน-งานประดิษฐ์) - การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (งานช่าง) - การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 (งานเกษตร) - การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 (งานธุรกิจ)
  • 13. 13 คาอธิบายรายวิชาพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี คาอธิบายรายวิชา ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต อธิบายหลักการ ขั้นตอนการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น ประเภทของงานช่าง ขั้นตอนการทางานช่าง การซ่อมแซมดัดแปลงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ หลัก ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน อาชีพทางธุรกิจ องค์กรธุรกิจ ธุรกิจทั่วไป ลักษณะงานสานักงาน การติดต่อสื่อสาร การจัดเก็บเอกสาร กระบวนการของงานสานักงาน การเงินการบัญชี การขาย การ จัดการประเภทของธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ มีทักษะกระบวนการการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น รู้จัก ขั้นตอนการทางานช่าง ประเภทของงานช่าง การซ่อมแซมดัดแปลงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ รู้จักหลัก ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน รู้จักอาชีพทางธุรกิจ องค์กรธุรกิจ ธุรกิจทั่วไป ลักษณะงานสานักงาน การติดต่อสื่อสาร การจัดเก็บเอกสาร กระบวนการของงานสานักงาน การเงินการบัญชี การขาย การ จัดการประเภทของธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ ความรู้ ความเข้าใจ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตสานึกในการใช้ พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี รักการทางาน ทางานด้วยความประณีต รอบคอบ รับผิดชอบ ขยันซื่อสัตย์ ประหยัดอดออม มีเจตคติที่ดีเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ สุจริต เข้าใจธรรมชาติ ใช้ความรู้ภูมิปัญญา จินตนาการและความคิดอย่างเป็นระบบ ตาม กระบวนการเทคโนโลยี สามารถตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีที่สร้างสรรค์ต่อชีวิต รหัสตัวชี้วัด ง 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 ง 4.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3 รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด
  • 14. 14 คาอธิบายรายวิชา ง21102 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษาความหมาย บทบาท ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ การทางานของคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะการเลือกใช้ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ พัฒนาการของการสื่อสารข้อมูล ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความหมายและพัฒนาการ อินเตอร์เน็ต ปฏิบัติการใช้งานอินเตอร์เน็ตสาหรับการสืบค้นข้อมูล และการติดต่อสื่อสารโดยใช้บริการ ในอินเตอร์เน็ท คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต ซอฟแวร์ประยุกต์ ซอฟแวร์ระบบช่วยใน การทางาน ศึกษาความหมาย บทบาท ความสาคัญในการนาโปรแกรมประมวลผลคา ( Word Processor ) สาหรับงานประมวลผลคาประเภทต่างๆ เทคนิคการสร้างงานเอกสารแต่ละประเภท การจัดการ เอกสาร การนาเอกสารที่บันทึกไว้มาทาการแก้ไข การเพิ่ม การลบ การย้ายหรือคัดลอก แต่งข้อความ รูปภาพ และวัตถุ (Object) ต่างๆ ในเอกสาร การพิมพ์เอกสารทางเครื่องพิมพ์ โดยใช้กระบวนการ สร้างความรู้ ความเข้าใจ การคิด วิเคราะห์ การฝึกทักษะปฏิบัติงาน การแก้ปัญหา การทางานกลุ่ม การนาเสนอข้อมูล การเสริมสร้างเจตคติ และกระบวนเสริมสร้าง คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ในการช่วยอานวยความสะดวกในการดาเนินกิจกรรม เพื่อประโยชน์สาหรับใช้เป็นเครื่องมือในการทางาน เช่น แก้ปัญหา สร้างงาน สร้างความ บันเทิง ติดต่อสื่อสาร การสืบค้นข้อมูล การประมวลผลข้อมูล ให้ผู้เรียนตระหนักและเห็นคุณค่า มี ความรู้ความเข้าใจ และทักษะเบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างงาน มีคุณธรรมจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศสร้างสรรค์ผลงานในการดารงชีวิต รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่า ถูกวิธี รหัสตัวชี้วัด ง 3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.2/1 ม.2/3 รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด
  • 15. 15 คาอธิบายรายวิชา ง22102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต อธิบายหลักการขั้นตอนการทางาน การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในโรงเรียน หรือ ท้องถิ่น สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่างปลอดภัย ออกแบบโดย ถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3 มิติ หรือภาพฉาย เพื่อนาไปสู่การสร้างต้นแบบของสิ่งของเครื่องใช้ มีทักษะกระบวนการการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในโรงเรียนหรือ ท้องถิ่น มีกระบวนการสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่างปลอดภัย ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3 มิติ หรือภาพฉาย เพื่อนาไปสู่การสร้างต้นแบบของสิ่งของ เครื่องใช้ ความรู้ ความเข้าใจ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตสานึกในการใช้ พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี รักการทางาน ทางานด้วยความประณีต รอบคอบ รับผิดชอบ ขยันซื่อสัตย์ ประหยัดอดออม มีเจตคติที่ดีเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ สุจริต เข้าใจธรรมชาติ ใช้ความรู้ภูมิปัญญา จินตนาการและความคิดอย่างเป็นระบบ ตาม กระบวนการเทคโนโลยี สามารถตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีที่สร้างสรรค์ต่อชีวิต รหัสตัวชี้วัด ง 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 ง 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3,ม.2/4 ง 4.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3 รวมทั้งหมด 10 ตัวชี้วัด
  • 16. 16 คาอธิบายรายวิชา ง 22102 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษาการสื่อสารข้อมูล อุปกรณ์สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชนิดของ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ปฏิบัติการใช้งานอินเตอร์เน็ตสาหรับการสืบค้นข้อมูล การประมวลผลข้อมูล และการ ติดต่อสื่อสารโดยใช้บริการในอินเตอร์เน็ท คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต ซอฟแวร์ ประยุกต์ ซอฟแวร์ระบบช่วยในการทางาน ศึกษาการใช้โปรแกรมสาหรับงานนาเสนอประเภทต่างๆ การจัดการแฟ้มข้อมูล เช่นการเพิ่ม การลบ การย้ายหรือคัดลอก แต่งข้อความ รูปภาพ และวัตถุ (Object) ต่างๆ การดูสไลด์ในมุมมอง ต่างๆ การเพิ่มลวดลาย สีสัน เปลี่ยนชุดสี การนาเสนอผลงานผ่านสื่อประสม ศึกษาการใช้โปรแกรมตารางทางาน วิวัฒนาการของตารางทางาน ส่วนประกอบของโปรแกรม ตารางงาน การจัดสมุดงาน กระดาษทาการ การนาเข้าข้อมูล การแก้ไขข้อมูล การย้ายข้อมูล และ การคัดลอกข้อมูล การจัดรูปแบบกระดาษทาการ การจัดรูปแบบข้อมูล การสร้างสูตรและการใช้ ฟังก์ชันในการคานวณ การออกรายงานในรูปแบบข้อความและแผนภูมิ โดยใช้กระบวนการ สร้างความรู้ ความเข้าใจ การคิด วิเคราะห์ การฝึกทักษะปฏิบัติงาน การแก้ปัญหา การทางานกลุ่ม การนาเสนอข้อมูล การเสริมสร้างเจตคติ และกระบวนเสริมสร้าง คุณลักษณะที่พึงประสงค์เพื่อให้ผู้เรียน ตระหนักและเห็นคุณค่า มีความรู้ความเข้าใจ และทักษะ เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างงานนาเสนอ และการใช้งานโปรแกรมตารางทางาน สร้างแนวคิดในการ จัดการงาน สามารถนาทักษะที่ได้จากการฝึกปฏิบัติไปประยุกต์ในการสร้างงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีคุณธรรมจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างสรรค์ผลงานในการดารงชีวิต รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าถูกวิธี รหัสตัวชี้วัด ง2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ง3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด
  • 17. 17 คาอธิบายรายวิชา ง23101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต อธิบายหลักการ ขั้นตอนการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น ประเภทของงานช่าง ขั้นตอนการทางานช่าง การซ่อมแซมดัดแปลงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ หลัก ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน อาชีพทางธุรกิจ องค์กรธุรกิจ ธุรกิจทั่วไป ลักษณะงานสานักงาน การ ติดต่อสื่อสาร การจัดเก็บเอกสาร กระบวนการของงานสานักงาน การเงินการบัญชี การขาย การจัดการ ประเภทของธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ มีทักษะกระบวนการการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น รู้จักขั้นตอนการทางานช่าง ประเภทของงานช่าง การซ่อมแซมดัดแปลงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ รู้จัก หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน รู้จักอาชีพทางธุรกิจ องค์กรธุรกิจ ธุรกิจทั่วไป ลักษณะงาน สานักงาน การติดต่อสื่อสาร การจัดเก็บเอกสาร กระบวนการของงานสานักงาน การเงินการบัญชี การขาย การจัดการประเภทของธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ ความรู้ ความเข้าใจ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตสานึกในการใช้ พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี รักการทางาน ทางานด้วยความประณีต รอบคอบ รับผิดชอบ ขยันซื่อสัตย์ ประหยัดอดออม มีเจตคติที่ดีเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ สุจริต เข้าใจธรรมชาติ ใช้ความรู้ภูมิปัญญา จินตนาการและความคิดอย่างเป็นระบบ ตาม กระบวนการเทคโนโลยี สามารถตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีที่สร้างสรรค์ต่อชีวิต รหัสตัวชี้วัด ง 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 ง 2.1 ม.3/1, ม.3/2 ง 4.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด
  • 18. 18 คาอธิบายรายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต อธิบายหลักการ ขั้นตอนการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น ประเภทของงานช่าง ขั้นตอนการทางานช่าง การซ่อมแซมดัดแปลงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ หลัก ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน อาชีพทางธุรกิจ องค์กรธุรกิจ ธุรกิจทั่วไป ลักษณะงานสานักงาน การ ติดต่อสื่อสาร การจัดเก็บเอกสาร กระบวนการของงานสานักงาน การเงินการบัญชี การขาย การจัดการ ประเภทของธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ มีทักษะกระบวนการการทางาน ของการประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง จากวัสดุในท้องถิ่น รู้จักขั้นตอนการทางานช่าง ประเภทของงานช่าง การซ่อมแซมดัดแปลงอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ รู้จัก หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน รู้จักอาชีพทางธุรกิจ องค์กรธุรกิจ ธุรกิจทั่วไป ลักษณะงาน สานักงาน การติดต่อสื่อสาร การจัดเก็บเอกสาร กระบวนการของงานสานักงาน การเงินการบัญชี การขาย การจัดการประเภทของธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ ความรู้ ความเข้าใจ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตสานึกในการใช้ พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี รักการทางาน ทางานด้วยความประณีต รอบคอบ รับผิดชอบ ขยันซื่อสัตย์ ประหยัดอดออม มีเจตคติที่ดีเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ สุจริต เข้าใจธรรมชาติ ใช้ความรู้ภูมิปัญญา จินตนาการและความคิดอย่างเป็นระบบ ตาม กระบวนการเทคโนโลยี สามารถตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีที่สร้างสรรค์ต่อชีวิต รหัสตัวชี้วัด ง 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 ง 2.1 ม.3/1, ม.3/2 ง 4.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด
  • 19. 19 วิชาเพิ่มเติม คาอธิบายรายวิชา ง20201 งานถนอมอาหาร 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต รายวิชางานถนอมอาหาร เป็นราย ที่มุ่งปลูกฝังให้ผู้เรียนศึกษาเกี่ยวกับความสาคัญและ หลักการถนอมอาหาร การเลือกอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์และเครื่องใช้ เทคนิคและวิธีการถนอม อาหาร ความสาคัญของสารปรุงแต่งอาหาร ชนิด คุณสมบัติและปริมาณที่ใช้ การเก็บรักษา การ สงวนคุณค่าทางโภชนาการ โดยฝึกปฏิบัติงานถนอมอาหารตามฤดูกาลของท้องถิ่นตามกรรมวิธีต่าง ๆ ซึ่งสามารถทาได้ใน ครัวเรือน เช่น การหมักดอง การทาให้แห้ง การใช้สารปรุงแต่งอาหาร การใช้อุณหภูมิสูง บรรจุและ เก็บอาหารที่ถนอมแล้วให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการและถูกลักษณะ คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคา จัดจาหน่าย จดบันทึกการปฏิบัติงาน ทาบัญชีรายรับ - รายจ่าย และประเมินผล เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะเกี่ยวกับหลักการและเทคนิควิธีถนอมอาหาร สามารถ ถนอมอาหารประเภทต่าง ๆ และจาหน่ายได้ ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจความเป็นมาและความสาคัญของการถนอมอาหาร 2. การใช้และเก็บรักษาวัสดุ – อุปกรณ์ในการการถนอมอาหาร 3. เข้าใจหลักการวิธีการ ขั้นตอน กระบวนการทางานเทคนิคและวิธีการถนอมอาหาร ความสาคัญของสารปรุงแต่งอาหาร 4. ฝึกปฏิบัติงานถนอมอาหารตามฤดูกาลของท้องถิ่นตามกรรมวิธีต่าง ๆ 5. คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาจัดจาหน่าย และบริการ ทาบัญชีรายรับ - รายจ่าย และ จาหน่าย 6. บันทึกผลการปฏิบัติการประเมินผล และรายงาน รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้
  • 20. 20 คาอธิบายรายวิชา ง20202 งานถนอมอาหาร 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษาความสาคัญและหลักการถนอมอาหาร การเลือกอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ และเทคนิคและ วิธีการถนอมอาหาร ความสาคัญของสารปรุงชนิด คุณสมบัติและปริมาณที่ใช้ การเก็บรักษา การสงวน คุณค่าโภชนาการและถูกสุขลักษณะ วิเคราะห์ปฏิบัติการถนอมอาหารตามฤดูกาลของท้องถิ่นตามกรรมวิธีต่างๆ เช่นการหมักดอง แช่อิ่ม การกวน การเชื่อม การตากแห้ง อาหารในท้องถิ่นใช้อุณหภูมิสูงใช้สารเคมีปรุงแต่งอาหารบรรจุ และเก็บอาหารที่ถนอมแล้วให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการและถูกสุขลักษณะ คานวณค่าใช้จ่าย กาหนด ราคา จัดจาหน่าย จดบันทึกการปฏิบัติงาน ทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับหลักการปละเทคนิควิธีถนอมอาหารประเภทต่างๆ ออกแบบ บรรจุภัณฑ์และจัดจาหน่ายได้ ผลการเรียนรู้ 1.เลือกวัสดุผักและผลไม้ที่มีในท้องถิ่นประเภทผักและผลไม้ 2.ฝึกปฏิบัติทักษะการถนอมอาหารประเภทกวน 3.ฝึกปฏิบัติทักษะการถนอมอาหารประเภทหมักดอง 4.ฝึกปฏิบัติทักษะการถนอมอาหารประเภทเชื่อม,แช่อิ่ม 5.ออกแบบบรรจุภัณฑ์และจัดจาหน่าย 6.การขาย และการตลาด รวมทั้งหมด6 ผลการเรียนรู้
  • 21. 21 คาอธิบายรายวิชา ง20203 งานผลิตภัณฑ์จากวัสดุในท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษารูปแบบผลิตภัณฑ์ แหล่งวัสดุ ทั้งที่เป็นธรรมชาติและสังเคราะห์ คุณสมบัติวัสดุใน ท้องถิ่น เครื่องมือและอุปกรณ์ การออกแบบให้ตรงกับความต้องการของตลาด วิธีการผลิต เช่น ถัก ผูก พัน สาน ฟั่น ฯลฯ การบรรจุหีบห่อ ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานสารวจผลิตภัณฑ์และแหล่งวัสดุภายในท้องถิ่น และหรือวัสดุสังเคราะห์ ออกแบบ ผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับวัสดุ เตรียมเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ ผลิตชิ้นงานด้วยวิธีต่าง ๆ ตกแต่งขั้น สาเร็จ ทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย กาหนดราคา และจัดจาหน่าย เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับการเลือกวัสดุ สามารถทาผลิตภัณฑ์ตาม ขั้นตอนและจาหน่ายได้ ผลการเรียนรู้ 1. ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบผลิตภัณฑ์ แหล่งวัสดุ ทั้งที่เป็นธรรมชาติและสังเคราะห์ 2. เลือกใช้เครื่องมือและเก็บบารุงรักษา ได้อย่างถูกวิธี 3. เลือกใช้เศษวัสดุในท้องถิ่นและวัสดุสังเคราะห์ได้อย่างเหมาะสม 4. เข้าใจหลักการวิธีการ ขั้นตอน กระบวนการทางานผลิตภัณฑ์จากวัสดุในท้องถิ่น 5. ปฏิบัติงานการทาผลิตภัณฑ์จากวัสดุ ภายในท้องถิ่น อย่างน้อย 2 ชิ้น 6. คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาจัดจาหน่าย และบริการ ทาบัญชีรายรับ - รายจ่าย และ จาหน่าย 7. บันทึกผลการปฏิบัติการประเมินผล และรายงาน รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้
  • 22. 22 คาอธิบายรายวิชา ง20204 งานประดิษฐ์ดอกไม้จากเศษวัสดุ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษาเทคนิควิธีทาดอกไม้ประดิษฐ์ด้วยผ้ากระดาษและเศษวัสดุการออกแบบดอกไม้ประดิษฐ์ การตกแต่งเป็นช่อ การใช้และบารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ ปฏิบัติการเลือกแบบและวัสดุทาดอกไม้ตามความต้องการของตลาด ทาเกสรดอกใบและเข้าช่อ ติดวัสดุตกแต่ง เป็นดอกไม้ประดิษฐ์ชนิดต่างๆ คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาหรือค่าบริการ จัด จาหน่าย จดบันทึกการปฏิบัติงาน ทาบัญชีรายรับ-รายจ่ายและการประเมินผล เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะเกี่ยวกับการออกแบบ เลือกวัสดุและความสามารถ ทา ดอกไม้ประดิษฐ์จาหน่ายได้ ผลการเรียนรู้ 1. ศึกษาเทคนิคทาดิกไม้ประดิษฐ์จากผ้า,กระดาษ และเศษวัสดุ 2. วิเคราะห์วัสดุอุปกรณ์นามาออกแบบ,การบารุงรักษา เครื่องมือเครื่องใช้ 3. ฝึกปฏิบัติทักษะการทาดอกไม้ ส่วนประกอบชนิดต่างๆของดอกไม้ การเข้าช่อ 4. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับโอกาสการใช้งานและการตลาด 5. จัดทาบัญชีรับ-จ่าย บันทึกการปฏิบัติงานการคานวณ ค่าใช้จ่าย รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
  • 23. 23 คาอธิบายรายวิชา ง20205 งานช่างขนมไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษาความรู้ทั่วไปในการทาขนมไทย การเลือกซื้อและการบารุงรักษาเครื่องปรุงสดและ เครื่องปรุงแห้ง เทคนิคการทาขนมไทยชนิดต่างๆ การบรรจุวิธีเก็บรักษาขนมไทยไว้ได้นานและถูก สุขลักษณะ วิเคราะห์งานปฏิบัติงานเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ในการทาขนมไทยแต่ละ ชนิด ทาขนมไทยประเภทต่างๆ การบรรจุและเก็บ คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาหรือค่าบริการจัด จาหน่าย จดบันทึกปฏิบัติงานทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย และประเมินผล เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับการทาขนมไทยและจาหน่าย ผลการเรียนรู้ 1. ศึกษาและเทคนิคความรู้ทั่วไปในการทาขนมไทย 2. การเลือกวัสดุ อุปกรณ์และเทคนิคการทาขนมไทย 3. ออกแบบการบรรจุภัณฑ์ขนมไทย การจัดจาหน่าย 4. ปฏิบัติงานการทาขนมไทยชนิดต่างๆ 5. บันทึกการปฏิบัติงาน จัดทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย กาหนดราคาขายได้ รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้
  • 24. 24 คาอธิบายรายวิชา ง20206 ร้อยมาลัย และงานใบตอง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต อธิบายหลักการ ขั้นตอนการร้อยมาลัย - งานใบตอง การเลือกใช้ และการซ่อมแซม วัสดุ อุปกรณ์อานวยความสะดวก วิเคราะห์การเลือกวัสดุในการปฏิบัติงาน การจัดจาหน่าย ฝึกปฏิบัติให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและวิธีการขั้นตอนการ ปฏิบัติงาน จนเกิดทักษะกระบวนการทางาน โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการทางาน ด้วยความเสียสละ ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางาน อย่างมีเหตุผล เห็นแนวทางการเลือกอาชีพ มีเจตคติที่ดี เห็นความสาคัญของการประกอบอาชีพ ผลการเรียนรู้ 1. รู้ความเป็นมาของการร้อยมาลัย และใบตอง 2. รู้จักวิธีการเลือก และการเก็บรักษา ดอกไม้ ใบไม้ วัสดุตกแต่ง 3. ใช้และเก็บรักษาวัสดุ – อุปกรณ์ในการร้อยมาลัย - ใบตอง 4. หลักการ วิธีการ ขั้นตอน กระบวนการ ร้อย อุบะ และ วัสดุตกแต่ง 5. หลักการ วิธีการ ขั้นตอน กระบวนการ ทาบายศรี และตกแต่ง มาลัย ต่าง ๆ 6. คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาจัดจาหน่าย และบริการ ทา บัญชีรายรับ – รายจ่าย และ จาหน่าย 7. บันทึกผลการปฏิบัติการประเมินผล และรายงาน รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้
  • 25. 25 คาอธิบายรายวิชา ง20207 การปลูกพืชผักทั่วไป กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษาความหมาย ความสาคัญ และประโยชน์ของพืชผักทั่วไป เช่น ผักกาด ผักคะน้า กะหล่าปลี ฯลฯ การจาแนกและการแบ่งชนิดของพืชผัก ทาเลที่เหมาะสมกับสาหรับสวนผัก ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืชผัก ลักษณะเมล็ดพันธุ์ที่ดี การเตรียมดินปลูก การปฏิบัติดูแลรักษา การป้องกันโรคและกาจัดศัตรู การเก็บเกี่ยว และการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การถนอมอาหารและ การแปรรูป วิเคราะห์ข้อมูลความต้องการของตลาด เลือกปลูกพืชผักอย่างน้อย 3 ชนิด ปฏิบัติงานเตรียม ดินปลูก ทาแปลงเพาะเมล็ด ทดสอบการงอกของเมล็ด เพาะเมล็ด หว่านเมล็ด ย้ายกล้าปลูก ดูแล รักษา เก็บเกี่ยว แปรรูป และจัดผลิตผลจาหน่าย คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาขาย จัด จาหน่าย จดบันทึกการปฏิบัติงาน ทาบัญชีรายรับ - รายจ่าย และประเมินผล เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการปลูกพืชผักทั่วไป สามารถแปรรูปพืชผักและ จาหน่ายได้ ผลการเรียนรู้ 1. บอกความหมายและความสาคัญและประโยชน์ของของพืชผักทั่วไป 2. การจาแนกและการแบ่งชนิดของพืชผัก ทาเลที่เหมาะสมกับสาหรับสวนผัก 3. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืชผัก 4. สามารถใช้เครื่องมือวัสดุอุปกรณ์ในปลูกพืชผักได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 5. บอกวิธีการปลูกพืชผัก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว การจัดผลิตผลจาหน่าย 6. เลือกปลูกพืชผักอย่างน้อย 3 ชนิด 7. มีจัดการดูแลรักษาพืชผักได้อย่างถูกต้อง 8. จัดทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย การปลูกพืชผัก 9. บันทึกผลการปฏิบัติการประเมินผล และรายงาน รวมทั้งหมด 9 ผลการเรียนรู้