SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 11
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ
เรื่อง ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ โรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก จังหวัดร้อยเอ็ด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
E-mail : narinchoti@gmail.com
บทคัดย่อ
การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ในบางหัวข้อยังไม่บรรลุผล
เท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเกิดจากครู ผสอนยังใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบเดิม ครู เป็ นผู ้
ู้
อธิ บายให้นกเรี ยนฟังและการวางแผนตลอดทั้งการเตรี ยมการสอนยังไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร จึงส่ งผล
ั
ให้นกเรี ยนไม่บรรลุผลตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดที่กาหนดไว้ในหลักสู ตร ผูศึกษาค้นคว้า
ั
ั
้
จึงมีความมุ่งหมายที่จะนารู ปแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ มาจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดดังกล่าว การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อ สร้าง
ั
และหาประสิ ทธิ ภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และ
ฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ที่
ั
กาหนด 80/80 ศึกษาดัชนีประสิ ทธิ ผลของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ
เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ และศึกษาความพึง
พอใจของผูเ้ รี ยน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา เป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/10 ปี การศึกษา
2555 โรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 43 คน
จานวน 1 ห้องเรี ยน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่ องมือที่ใช้ใน
การศึกษา มี 3 ชนิด ได้แก่ กิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ จานวน 10 กิจกรรม เวลา 10 ชัวโมง
่
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ มีค่าความยากง่าย
ตั้งแต่ 0.42 – 0.58 ค่าอานาจจาแนกมีค่าตั้งแต่ 0.25 – 0.67 และค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบทั้ง
่
ฉบับเท่ากับ 0.72 แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรี ยน จานวน 20 ข้อ มีค่าความเชื่อมันของ
่
แบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.80 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่ วน
้
เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานใช้ t – test (Dependent Samples)
ผลการศึกษาปรากฏดังนี้
1. กิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการ
ั
เรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่ผศึกษาได้สร้างขึ้นมีประสิ ทธิ ภาพ เท่ากับ 84.40/80.29
ู้
เป็ นไปตามเกณฑ์ที่ต้ งไว้
ั
2. กิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการ
ั
เรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่ผศึกษาได้สร้างขึ้นมีค่าดัชนีประสิ ทธิ ผลเท่ากับ 0.7364
ู้
3. นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่ม
ั
สาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเพิ่มขึ้นจากก่อน
เรี ยน อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
ั
4. ความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณา
การ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
ั
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.79 และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 แสดงว่ามีความพึงพอใจ
่
อยูในระดับมากที่สุด
คาสาคัญ : คณิตศาสตร์ , การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการ
บทนา
การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้มีหลายรู ปแบบ เช่น การเรี ยนรู ้โดยโครงงาน การใช้
กระบวนการกลุ่ม การจัดการเรี ยนรู ้แบบมุ่งประสบการณ์ทางภาษา บทเรี ยนสาเร็ จรู ป เกมการศึกษา
บทบาทสมมติ การแสดงละคร การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ เป็ นต้น (วิมลรัตน์ สุ นทร
โรจน์. 2545 : 153 – 178) การเรี ยนรู ้ในสาระการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ มีกระบวนการ และวิธีการที่
หลากหลาย ผูสอนต้องคานึงถึงพัฒนาการทางด้านร่ างกาย และสติปัญญา วิธีการเรี ยนรู ้ ความสนใจ
้
และความสามารถของผูเ้ รี ยนเป็ นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น การจัดการเรี ยนรู ้ในแต่ละช่วงชั้น
ควรใช้รูปแบบวิธีการที่หลากหลาย เน้นการจัดการเรี ยนการสอนตามสภาพจริ ง การเรี ยนรู้ดวย
้
ตนเอง การเรี ยนรู ้ร่วมกัน การเรี ยนรู ้จากธรรมชาติ การเรี ยนรู ้จากการปฏิบติจริ งและการเรี ยนรู ้แบบ
ั
บูรณาการ การใช้วจยเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการเรี ยนรู ้การเรี ยนรู ้คู่คุณธรรม ทั้งนี้ตองพยายาม
ิั
้
นากระบวนการจัดการ กระบวนการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม กระบวนการคิดและ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปสอดแทรกในการเรี ยนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ เนื้อหา
กระบวนการต่าง ๆ ข้ามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ซึ่ งเรี ยนรู ้ในลักษณะองค์รวม การบูรณาการ เป็ นการ
กาหนดเป้ าหมายการเรี ยนร่ วมกัน ยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญโดยการนากระบวนการเรี ยนรู ้จากกลุ่มสาระ
เดียวกันหรื อต่างกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้มาบูรณาการในการจัดการเรี ยนการสอน (กรมวิชาการ. 2544 :
21)
สภาพปัจจุบนของโรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัด
ั
ร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จากรายงานผลการประเมินผลสัมฤทธิ์
นักเรี ยน ปี การศึกษา 2554 ค่าเฉลี่ยร้อยละคะแนนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 4 เท่ากับ 40.43 (สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27. 2554 : 118) ซึ่ งค่าเฉลี่ยร้อย
่
ละไม่ผานเกณฑ์ร้อยละ 50 ตามเกณฑ์ที่โรงเรี ยนตั้งไว้ จากผลการวิเคราะห์ขอมูลที่กล่าวมาแล้วทา
้
่
ให้มองเห็นว่าปั จจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนไม่วาจะทางตรงหรื อทางอ้อมก็
ตาม คือ ปั จจัยด้านการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ อาจเนื่องมาจากกระบวนการจัดการเรี ยนการสอน
ไม่สนองตอบกระบวนการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน ผูสอนส่ วนมากจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยเน้น
้
ผูสอนเป็ นสาคัญ เน้นการถ่ายทอดความรู ้และเนื้อหา ละเลยการมุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้พฒนาศักยภาพ
้
ั
(วิชย วงษ์ใหญ่. 2542 : 2) ครู ให้ความสนใจและความสาคัญแก่นกเรี ยนน้อยมากไม่สนใจความ
ั
ั
ต้องการของผูเ้ รี ยน เพียงแต่เตรี ยมเนื้อหาที่จะสอน ผูเ้ รี ยนแต่ละคนได้รับการปฏิบติอย่างเดียวกัน
ั
โดยไม่คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล (รุ่ ง แก้วแดง. 2543 : 139) เป็ นการสอนเนื้อหา
มากกว่าสอนกระบวนการแสวงหาความรู ้ไม่ได้ดึงเอาศักยภาพของนักเรี ยนออกมาใช้
(บูรชัย ศิริมหาสาร. 2547 : 20) การสอนของครู ส่วนใหญ่ยดหนังสื อแทนหลักสู ตรและสอนโดยวิธี
ึ
บรรยาย (ประไพวรรณ โกศัยสุ นทร. 2533 : 33 – 34) ฉะนั้นการศึกษาส่ วนใหญ่จึงทาให้คนเกิด
ความทุกข์ (ประเวศ วะสี . 2542 : 11) และนอกจากนี้วชาคณิ ตศาสตร์ ส่วนมากมีเนื้อหาเป็ น
ิ
นามธรรม ทาให้นกเรี ยนต้องการเวลาที่จะทาความเข้าใจในเนื้อหา ซึ่ งนักเรี ยนในชั้นเรี ยนมีท้ ง
ั
ั
นักเรี ยนที่เรี ยนเก่งและนักเรี ยนที่เรี ยนอ่อน ถ้าครู คณิ ตศาสตร์ สอนโดยวิธีเดียวกัน นักเรี ยนที่เรี ยน
เก่งก็สามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็ วและไม่มีปัญหาในการเรี ยน แต่สาหรับนักเรี ยนที่เรี ยนอ่อนนั้น
อาจจะไม่เข้าใจก็ได้ ซึ่ งนักเรี ยนเหล่านี้ก็อาจจะมีความคิดว่าวิชาคณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่ยาก และมี
ความรู ้สึกไม่ชอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ดังที่ นพพร พานิชสุ ข (2542 : 43) ให้ความเห็นเกี่ยวกับเจตคติ
่
ของนักเรี ยนสรุ ปได้วา นักเรี ยนจานวนไม่นอยเบื่อหน่ายการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ไม่ค่อยมีความตั้งใจ
้
สนใจเรี ยนมากเท่าที่ควร ทั้งนี้เพราะเหตุผลที่นกเรี ยนมักจะมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ จึงทา
ั
ให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนต่า และยังสอดคล้องกับ เออร์ วง (คาเพียร ปราณี ราช. 2542 : 3 ; อ้างอิง
ิ
่
มาจาก Irving. 1966 : 706 - 715 ) ที่กล่าวว่า “ก่อนที่จะให้การศึกษาแก่เด็กไม่วาจะเป็ นวิชาใด ๆ ก็
ตามจะต้องอาศัยธรรมชาติความต้องการและพื้นฐานของนักเรี ยนเสี ยก่อน จึงสามารถให้การศึกษา
แก่เด็กได้ถูกต้องเด็กจะเรี ยนเรี ยนวิชาใด ๆ ได้เป็ นผลดีจะต้องมีความรับผิดชอบหรื อมีเจตคติที่ดีต่อ
วิชานั้นด้วย” จึงเป็ นหน้าที่ครู ผสอนที่จะต้องศึกษาเทคนิคการจัดกิจกรรมประกอบการสอน
ู้
คณิ ตศาสตร์ เพื่อเสริ มสร้างบรรยากาศในการเรี ยนของนักเรี ยนให้มีความกระตือรื อร้น ไม่เบื่อหน่าย
และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ (สุ ภา ยธิกุล. 2543 : 4) จากสาเหตุดงกล่าวชาตรี สาราญ (2546 :
ั
28) ได้กล่าวถึงวิธีการแก้ปัญหาและพัฒนากิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยการจัดการเรี ยนการสอน
แบบบูรณาการซึ่ งจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้เป็ นองค์รวม ภาพความคิดที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยนจะเชื่อมโยง
กันเป็ นหนึ่ง เด็ก ๆ จะมองเห็นภาพรวมของสิ่ งที่เรี ยนรู ้ จะไม่สับสนและสามารถเชื่อมโยงสิ่ งที่รู้
แล้วเข้ากับสิ่ งที่กาลังเรี ยนรู ้ใหม่ได้
การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการจะช่วยให้นกเรี ยนเชื่อมโยงสิ่ งที่เรี ยนเข้ากับชีวต
ั
ิ
จริ งได้ และในทางกลับกันก็จะสามารถเชื่อมโยงเรื่ องของชีวตจริ งภายนอกห้องเรี ยนเข้ากับสิ่ งที่
ิ
เรี ยนได้ ทาให้นกเรี ยนเข้าใจว่าสิ่ งที่ตนเรี ยนมีประโยชน์หรื อนาไปใช้ได้จริ ง ซึ่ งเหตุผลที่สนับสนุน
ั
การบูรณาการหรื อเชื่อมโยงวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกันมีดงนี้ (ธีระชัย ปูรณโชติ. 2543 : 14)
ั
1) สิ่ งที่เกิดขึ้นในชีวตจริ งไม่จากัดว่าจะเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ใน
ิ
ั
การแก้ปัญหาต่าง ๆ ในลักษณะเชื่อมโยงสัมพันธ์กนช่วยให้นกเรี ยนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง
ั
วิชา และความสัมพันธ์ของวิชาต่าง ๆ เหล่านั้นกับชีวตจริ ง
ิ
2) การจัดการเรี ยนการสอนแบบบูรณาการจะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์เชื่อมโยง
ระหว่างความคิดรวบยอดในศาสตร์ ต่าง ๆ ทาให้เกิดการเรี ยนรู ้ที่มีความหมาย
3) การสอนที่สัมพันธ์เชื่อมโยงความคิดรวบยอดจากหลาย ๆ สาขาวิชาเข้าด้วยกันมี
ประโยชน์หลายอย่างที่สาคัญที่สุดคือการช่วยให้เกิดการถ่ายโอนการเรี ยนรู ้
4) การเรี ยนการสอนแบบบูรณาการสามารถตอบสนองต่อความสามารถของผูเ้ รี ยน
ซึ่ งมีหลายด้าน เช่น ภาษา คณิ ตศาสตร์ การมองพื้นที่ความคล่องของร่ างกายและการเคลื่อนไหว
ดนตรี สังคม หรื อมนุษย์สัมพันธ์ ความรู ้และความเข้าใจตนเอง ซึ่ งรวมเรี ยกว่า พหุ ปัญญา
5) กระบวนการเรี ยนการสอนที่ใช้ในหลักสู ตรแบบบูรณาการสอดคล้องกับทฤษฏี
การสร้างความรู้โดยผูเ้ รี ยน
ผูศึกษาค้นคว้าได้ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการจึง
้
มีความสนใจที่จะพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ให้มีประสิ ทธิ ภาพและพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ั
ทางการเรี ยนของนักเรี ยนให้บรรลุเป้ าหมายที่ต้ งไว้ต่อไป
ั
วัตถุประสงค์ ของการศึกษาค้ นคว้ า
1. เพื่อสร้างและหาประสิ ทธิ ภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ
เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่มี
ั
ประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด 80/80
2. เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระ
ั
การเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน โดยการจัดกิจกรรม
การเรี ยนรู้แบบบูรณาการ
3. เพื่อศึกษาดัชนีประสิ ทธิ ผลของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
แบบบูรณาการ
เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
ั
4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการจัดการเรี ยนรู ้
แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
ั
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
สมมติฐานของการศึกษาค้ นคว้า
1. การจัดการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
ั
คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด 80/80
2. ค่าความแตกต่างของคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ การจัดกิจกรรม
การเรี ยนรู้แบบบูรณาการเรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
ั
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 คะแนนเฉลี่ยการทดสอบหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน ที่ระดับนัยสาคัญ .01
ขอบเขตของการศึกษาค้ นคว้า
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ คือ นักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ 4
ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 โรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อาเภอจตุรพักตรพิมาน
จังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จานวน 10 ห้องเรี ยน จานวน
นักเรี ยน 450 คน
1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ เป็ นนักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ 4/10
ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 โรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อาเภอจตุรพักตรพิมาน
จังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27ในการเลือกกลุ่มตัวอย่างได้ทาการ
เลือก โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากนักเรี ยน จานวน 10 ห้องเรี ยน โดยได้
เลือกนักเรี ยนจานวน 1 ห้องเรี ยน รวม 43 คน มาเป็ นกลุ่มทดลอง
2. เนื้อหาวิชา
เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ คือ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระ
ั
การเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
3. ตัวแปรที่ศึกษา
3.1 ตัวแปรต้น
การจัดการเรี ยนรู้ แบบบูรณาการ
3.2 ตัวแปรตาม
3.2.1 ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
3.2.2 ความคิดเห็นของผูเ้ รี ยนเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ
เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
ั
4. ระยะเวลาในการศึกษาพัฒนา
ระหว่างวันที่ 21 พฤษภาคม 2555 ถึงวันที่ 18 มิถุนายน 2554 รวม 10 ชัวโมง
่
เครื่องมือทีใช้ ในการศึกษาค้ นคว้า
่
เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มี 3 ชนิด คือ
1. กิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระ
ั
การเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 10 กิจกรรม
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ
3. แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณา
การ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
ั
วิธีการดาเนินการศึกษาค้ นคว้า
ผูศึกษาค้นคว้าได้ดาเนินการเก็บข้อมูลในการศึกษาค้นคว้า ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
้
ขั้นที่ 1
1. ทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ จานวน 40 ข้อ
เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ตรวจแล้ว
ั
เก็บคะแนนไว้
2. ดาเนินการทดลอง โดยการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง
ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 10
ั
กิจกรรมใช้เวลาทดลอง รวม 10 ชัวโมง
่
3. ทดสอบหลังเรี ยน (Post – test) เมื่อสิ้ นสุ ดการดาเนินการทดลอง โดยใช้
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนซึ่ งเป็ นชุดเดียวกันกับที่ใช้ทดสอบก่อนเรี ยน
ขั้นที่ 2 ให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีต่อการเรี ยนรู้
ด้วยกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
ั
คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
ขั้นที่ 3 นาผลการตอบของนักเรี ยนมาวิเคราะห์หาค่าทางสถิติ ได้แก่
1. การวิเคราะห์ประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ตามเกณฑ์
80/80
2. การวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรี ยนและ
หลังเรี ยน
3. การวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิ ทธิ ผลของกระบวนการจัดกิจกรรม
การเรี ยนรู้
4. การวิเคราะห์ความพึงพอใจที่มีต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
ขั้นที่ 4 สรุ ปผลการทดลอง
การวิเคราะห์ ข้อมูล
ผูศึกษาค้นคว้าดาเนินการวิเคราะห์ขอมูล ดังนี้
้
้
1. การวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
1.1
หาความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยน โดยใช้สูตรดัชนีความสอดคล้อง IOC
1.2
หาความยากง่าย (Difficulty) (P) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
รายข้อ
1.3 หาค่าอานาจจาแนก (
Discrimination) (D) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนรายข้อ
1.4 หาค่าความเชื่อมัน (
Reliability) (rtt) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
่
ทางการเรี ยน
2. การหาคุณภาพของแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของผูเ้ รี ยน
2.1
หาความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ของแบบสอบถามวัดความพึง
พอใจ โดยใช้สูตรดัชนีความสอดคล้อง IOC
2.2 หาความเชื่อมันของแบบสอบถามทั้งฉบับ ตามวิธีของ
Cronbach วิเคราะห์
่
ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ป Statistical Package for the Social Sciences (SPSS for Windows)
3. การวิเคราะห์แบบประเมินกิจกรรมการเรี ยนรู ้
แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์
และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 สาหรับผูเ้ ชี่ยวชาญ โดยใช้
ั
ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กาหนดการตัดสิ นผลการประเมินกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ดังนี้
คะแนนเฉลี่ย การแปลผล
4.51 – 5.00
เหมาะสมมากที่สุด
3.51 – 4.50
เหมาะสมมาก
2.51 – 3.50
เหมาะสมปานกลาง
1.51 – 2.50 เหมาะสมน้อย
1.00 – 1.50
เหมาะสมน้อยที่สุด
4. การวิเคราะห์หาประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณา
การ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ตาม
ั
เกณฑ์ 80/80 โดยใช้สถิติพ้ืนฐาน ดังนี้
4.1 ร้อยละ
4.2 ค่าเฉลี่ย
4.3 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
4.4 การคานวณหาประสิ ทธิ ภาพของกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตามเกณฑ์ 80/80
5. การวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิ ทธิ ผลของกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้
แบบบูรณาการ
เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยใช้สถิติ
ั
พื้นฐาน ดังนี้
5.1 ร้อยละ
5.2 ค่าเฉลี่ย
5.3 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
5.4 การคานวณหาดัชนีประสิ ทธิ ผลของกิจกรรมการเรี ยนรู ้
6. การวิเคราะห์แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่มีต่อกระบวนการจัด
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
ั
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กาหนดการตัดสิ นผลการประเมิน
การให้คะแนนความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ดังนี้
คะแนนเฉลี่ย การแปลผล
4.51 – 5.00
เหมาะสมมากที่สุด
3.51 – 4.50
เหมาะสมมาก
2.51 – 3.50
เหมาะสมปานกลาง
1.51 – 2.50 เหมาะสมน้อย
1.00 – 1.50
เหมาะสมน้อยที่สุด
สรุ ปผลการศึกษา
จากการศึกษา
การพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน
ั
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ปรากฏผลดังนี้
1. กิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการ
ั
เรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่ผศึกษาได้สร้างขึ้นมีประสิ ทธิ ภาพ เท่ากับ 84.40/80.29
ู้
เป็ นไปตามเกณฑ์ที่ต้ งไว้
ั
2. คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน
ั
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยสาคัญ
ั
ทางสถิติที่ระดับ .01
3. ดัชนีประสิ ทธิ ผลของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง
ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 มีค่าเท่ากับ
ั
0.7364 หรื อร้อยละ 73.64 ซึ่ งสู งกว่าเกณฑ์ของค่าดัชนีประสิ ทธิ ผล คือ 0.50 หรื อร้อยละ 50 นันคือ
่
ผูเ้ รี ยนมีความรู ้เพิ่มขึ้นร้อยละ73.64 หลังจากการเรี ยนรู้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และ
ฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
ั
4. ความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณา
การ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เมื่อ
ั
เรี ยนครบทุกกิจกรรม พบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ มี
่
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.79 และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 แสดงว่ามีความพึงพอใจอยูในระดับ
มากที่สุด
ข้ อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
1.1 ครู ผสอนควรนากกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการไปใช้ในกิจกรรมการเรี ยน
ู้
การสอนได้ทุกกลุ่มสาระเพราะเป็ นกิจกรรมที่ครอบคลุมทั้งด้านเนื้อหาลาการลงมือปฏิบติและยังมี
ั
ผลดีที่นกเรี ยนไม่เบื่อเพราะเป็ นกิจกรรมที่หลากหลาย
ั
1.2 การนาแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการไปใช้ ครู ผสอนควรมี
ู้
การศึกษาขั้นตอนในการใช้ให้มีความเข้าใจ เพื่อประโยชน์ในการแนะนานักเรี ยนได้อย่างดี
1.3 ในการนาแผนการจัดกิจกรรมบูรณาการไปใช้ควรระมัดระวังในเรื่ องการจัด
กิจกรรมที่อาจส่ งผลไปรบกวนสมาชิกห้องเรี ยนใกล้เคียง ควรเลือกสถานที่เหมาะสมกับกิจกรรมใน
แต่ละกิจกรรม
1.4 ครู ผสอนควรดูแลนักเรี ยนอย่างทัวถึงในขณะที่ปฏิบติกิจกรรมกลุ่ม เอื้ออานวย
ู้
ั
่
ั
ความสะดวก และช่วยแก้ปัญหาให้กบนักเรี ยนในการทางานกลุ่ม ควรเสริ มแรงและให้กาลังใจทุก
ครั้งที่นกเรี ยนสามารถแก้ปัญหาได้โดยวิธีการที่สร้างสรรค์และมีคุณธรรมในการทางาน จะทาให้
ั
นักเรี ยนเกิดความภาคภูมิใจและมีเจตคติที่ดีต่อการทางานโดยใช้ทกษะกระบวนการกลุ่ม
ั
1.5 การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ถ้าจัดกิจกรรมเป็ นกลุ่มควรแบ่งนักเรี ยนแบบคละ
ความสามารถ แบ่งนักเรี ยนเก่ง กลาง อ่อน ให้คละกันเพื่อจะได้ช่วยเหลือกัน เป็ นการฝึ กให้
นักเรี ยนรู ้จกแบ่งปั นซึ่ งกันและกัน
ั
2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป
2.1 ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับพหุ ปัญญาของนักเรี ยนทั้ง 8 ด้าน ที่เกิดจากการจัด
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ใช้รูปแบบการสอนบูรณาการ โดยเน้นรู ปแบบการเรี ยนรู ้ตามแนวทางพัฒนา
สมองโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรี ยนรู้ 4 MAT
2.2 ควรมีการพัฒนากิจกรรมการเรี ยนรู ้บูรณาการควบคู่ไปกับนวัตกรรมต่าง ๆ เพื่อ
ศึกษาว่ามีความแตกต่างกันและศึกษาข้อดีของแต่ละประเภทและสามารถนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.3 ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่นอกเหนือไปจากนี้ เช่น เจตคติต่อการเรี ยน
ความคงทนในการเรี ยนรู้ ระดับสติปัญญาในการเรี ยนรู้ดวยรู ปแบบการจัดกระบวนการเรี ยนรู้
้
แบบสร้างองค์ความรู้ เป็ นต้น
หน้าหลัก http://krunarinchoti.wordpress.com/

สื่ อการเรียนรู้ สาหรับการศึกษาค้ นคว้ า

การร่ วมกิจกรรมของนักเรียน

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von Aon Narinchoti

ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชาAon Narinchoti
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศAon Narinchoti
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสAon Narinchoti
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามAon Narinchoti
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1Aon Narinchoti
 
เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓Aon Narinchoti
 

Mehr von Aon Narinchoti (20)

Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 
History
HistoryHistory
History
 
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชา
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓
 

การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ

  • 1. การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ เรื่อง ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 นายนริ นทร์โชติ บุณยนันท์สิริ โรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก จังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 E-mail : narinchoti@gmail.com บทคัดย่อ การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ในบางหัวข้อยังไม่บรรลุผล เท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเกิดจากครู ผสอนยังใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบเดิม ครู เป็ นผู ้ ู้ อธิ บายให้นกเรี ยนฟังและการวางแผนตลอดทั้งการเตรี ยมการสอนยังไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร จึงส่ งผล ั ให้นกเรี ยนไม่บรรลุผลตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดที่กาหนดไว้ในหลักสู ตร ผูศึกษาค้นคว้า ั ั ้ จึงมีความมุ่งหมายที่จะนารู ปแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ มาจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดดังกล่าว การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อ สร้าง ั และหาประสิ ทธิ ภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และ ฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ที่ ั กาหนด 80/80 ศึกษาดัชนีประสิ ทธิ ผลของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ และศึกษาความพึง พอใจของผูเ้ รี ยน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา เป็ นนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/10 ปี การศึกษา 2555 โรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 43 คน จานวน 1 ห้องเรี ยน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่ องมือที่ใช้ใน การศึกษา มี 3 ชนิด ได้แก่ กิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ จานวน 10 กิจกรรม เวลา 10 ชัวโมง ่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ มีค่าความยากง่าย ตั้งแต่ 0.42 – 0.58 ค่าอานาจจาแนกมีค่าตั้งแต่ 0.25 – 0.67 และค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบทั้ง ่ ฉบับเท่ากับ 0.72 แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรี ยน จานวน 20 ข้อ มีค่าความเชื่อมันของ ่ แบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.80 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่ วน ้ เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานใช้ t – test (Dependent Samples)
  • 2. ผลการศึกษาปรากฏดังนี้ 1. กิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการ ั เรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่ผศึกษาได้สร้างขึ้นมีประสิ ทธิ ภาพ เท่ากับ 84.40/80.29 ู้ เป็ นไปตามเกณฑ์ที่ต้ งไว้ ั 2. กิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการ ั เรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่ผศึกษาได้สร้างขึ้นมีค่าดัชนีประสิ ทธิ ผลเท่ากับ 0.7364 ู้ 3. นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยน เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่ม ั สาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเพิ่มขึ้นจากก่อน เรี ยน อย่างมีนยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ั 4. ความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณา การ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ั มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.79 และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 แสดงว่ามีความพึงพอใจ ่ อยูในระดับมากที่สุด คาสาคัญ : คณิตศาสตร์ , การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการ บทนา การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้มีหลายรู ปแบบ เช่น การเรี ยนรู ้โดยโครงงาน การใช้ กระบวนการกลุ่ม การจัดการเรี ยนรู ้แบบมุ่งประสบการณ์ทางภาษา บทเรี ยนสาเร็ จรู ป เกมการศึกษา บทบาทสมมติ การแสดงละคร การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ เป็ นต้น (วิมลรัตน์ สุ นทร โรจน์. 2545 : 153 – 178) การเรี ยนรู ้ในสาระการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ มีกระบวนการ และวิธีการที่ หลากหลาย ผูสอนต้องคานึงถึงพัฒนาการทางด้านร่ างกาย และสติปัญญา วิธีการเรี ยนรู ้ ความสนใจ ้ และความสามารถของผูเ้ รี ยนเป็ นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น การจัดการเรี ยนรู ้ในแต่ละช่วงชั้น ควรใช้รูปแบบวิธีการที่หลากหลาย เน้นการจัดการเรี ยนการสอนตามสภาพจริ ง การเรี ยนรู้ดวย ้ ตนเอง การเรี ยนรู ้ร่วมกัน การเรี ยนรู ้จากธรรมชาติ การเรี ยนรู ้จากการปฏิบติจริ งและการเรี ยนรู ้แบบ ั บูรณาการ การใช้วจยเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการเรี ยนรู ้การเรี ยนรู ้คู่คุณธรรม ทั้งนี้ตองพยายาม ิั ้ นากระบวนการจัดการ กระบวนการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม กระบวนการคิดและ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปสอดแทรกในการเรี ยนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ เนื้อหา กระบวนการต่าง ๆ ข้ามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ซึ่ งเรี ยนรู ้ในลักษณะองค์รวม การบูรณาการ เป็ นการ กาหนดเป้ าหมายการเรี ยนร่ วมกัน ยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญโดยการนากระบวนการเรี ยนรู ้จากกลุ่มสาระ
  • 3. เดียวกันหรื อต่างกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้มาบูรณาการในการจัดการเรี ยนการสอน (กรมวิชาการ. 2544 : 21) สภาพปัจจุบนของโรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัด ั ร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จากรายงานผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ นักเรี ยน ปี การศึกษา 2554 ค่าเฉลี่ยร้อยละคะแนนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 4 เท่ากับ 40.43 (สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27. 2554 : 118) ซึ่ งค่าเฉลี่ยร้อย ่ ละไม่ผานเกณฑ์ร้อยละ 50 ตามเกณฑ์ที่โรงเรี ยนตั้งไว้ จากผลการวิเคราะห์ขอมูลที่กล่าวมาแล้วทา ้ ่ ให้มองเห็นว่าปั จจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของนักเรี ยนไม่วาจะทางตรงหรื อทางอ้อมก็ ตาม คือ ปั จจัยด้านการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ อาจเนื่องมาจากกระบวนการจัดการเรี ยนการสอน ไม่สนองตอบกระบวนการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน ผูสอนส่ วนมากจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยเน้น ้ ผูสอนเป็ นสาคัญ เน้นการถ่ายทอดความรู ้และเนื้อหา ละเลยการมุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้พฒนาศักยภาพ ้ ั (วิชย วงษ์ใหญ่. 2542 : 2) ครู ให้ความสนใจและความสาคัญแก่นกเรี ยนน้อยมากไม่สนใจความ ั ั ต้องการของผูเ้ รี ยน เพียงแต่เตรี ยมเนื้อหาที่จะสอน ผูเ้ รี ยนแต่ละคนได้รับการปฏิบติอย่างเดียวกัน ั โดยไม่คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล (รุ่ ง แก้วแดง. 2543 : 139) เป็ นการสอนเนื้อหา มากกว่าสอนกระบวนการแสวงหาความรู ้ไม่ได้ดึงเอาศักยภาพของนักเรี ยนออกมาใช้ (บูรชัย ศิริมหาสาร. 2547 : 20) การสอนของครู ส่วนใหญ่ยดหนังสื อแทนหลักสู ตรและสอนโดยวิธี ึ บรรยาย (ประไพวรรณ โกศัยสุ นทร. 2533 : 33 – 34) ฉะนั้นการศึกษาส่ วนใหญ่จึงทาให้คนเกิด ความทุกข์ (ประเวศ วะสี . 2542 : 11) และนอกจากนี้วชาคณิ ตศาสตร์ ส่วนมากมีเนื้อหาเป็ น ิ นามธรรม ทาให้นกเรี ยนต้องการเวลาที่จะทาความเข้าใจในเนื้อหา ซึ่ งนักเรี ยนในชั้นเรี ยนมีท้ ง ั ั นักเรี ยนที่เรี ยนเก่งและนักเรี ยนที่เรี ยนอ่อน ถ้าครู คณิ ตศาสตร์ สอนโดยวิธีเดียวกัน นักเรี ยนที่เรี ยน เก่งก็สามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็ วและไม่มีปัญหาในการเรี ยน แต่สาหรับนักเรี ยนที่เรี ยนอ่อนนั้น อาจจะไม่เข้าใจก็ได้ ซึ่ งนักเรี ยนเหล่านี้ก็อาจจะมีความคิดว่าวิชาคณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่ยาก และมี ความรู ้สึกไม่ชอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ดังที่ นพพร พานิชสุ ข (2542 : 43) ให้ความเห็นเกี่ยวกับเจตคติ ่ ของนักเรี ยนสรุ ปได้วา นักเรี ยนจานวนไม่นอยเบื่อหน่ายการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ไม่ค่อยมีความตั้งใจ ้ สนใจเรี ยนมากเท่าที่ควร ทั้งนี้เพราะเหตุผลที่นกเรี ยนมักจะมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ จึงทา ั ให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนต่า และยังสอดคล้องกับ เออร์ วง (คาเพียร ปราณี ราช. 2542 : 3 ; อ้างอิง ิ ่ มาจาก Irving. 1966 : 706 - 715 ) ที่กล่าวว่า “ก่อนที่จะให้การศึกษาแก่เด็กไม่วาจะเป็ นวิชาใด ๆ ก็ ตามจะต้องอาศัยธรรมชาติความต้องการและพื้นฐานของนักเรี ยนเสี ยก่อน จึงสามารถให้การศึกษา แก่เด็กได้ถูกต้องเด็กจะเรี ยนเรี ยนวิชาใด ๆ ได้เป็ นผลดีจะต้องมีความรับผิดชอบหรื อมีเจตคติที่ดีต่อ วิชานั้นด้วย” จึงเป็ นหน้าที่ครู ผสอนที่จะต้องศึกษาเทคนิคการจัดกิจกรรมประกอบการสอน ู้
  • 4. คณิ ตศาสตร์ เพื่อเสริ มสร้างบรรยากาศในการเรี ยนของนักเรี ยนให้มีความกระตือรื อร้น ไม่เบื่อหน่าย และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ (สุ ภา ยธิกุล. 2543 : 4) จากสาเหตุดงกล่าวชาตรี สาราญ (2546 : ั 28) ได้กล่าวถึงวิธีการแก้ปัญหาและพัฒนากิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยการจัดการเรี ยนการสอน แบบบูรณาการซึ่ งจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้เป็ นองค์รวม ภาพความคิดที่เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยนจะเชื่อมโยง กันเป็ นหนึ่ง เด็ก ๆ จะมองเห็นภาพรวมของสิ่ งที่เรี ยนรู ้ จะไม่สับสนและสามารถเชื่อมโยงสิ่ งที่รู้ แล้วเข้ากับสิ่ งที่กาลังเรี ยนรู ้ใหม่ได้ การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการจะช่วยให้นกเรี ยนเชื่อมโยงสิ่ งที่เรี ยนเข้ากับชีวต ั ิ จริ งได้ และในทางกลับกันก็จะสามารถเชื่อมโยงเรื่ องของชีวตจริ งภายนอกห้องเรี ยนเข้ากับสิ่ งที่ ิ เรี ยนได้ ทาให้นกเรี ยนเข้าใจว่าสิ่ งที่ตนเรี ยนมีประโยชน์หรื อนาไปใช้ได้จริ ง ซึ่ งเหตุผลที่สนับสนุน ั การบูรณาการหรื อเชื่อมโยงวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกันมีดงนี้ (ธีระชัย ปูรณโชติ. 2543 : 14) ั 1) สิ่ งที่เกิดขึ้นในชีวตจริ งไม่จากัดว่าจะเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ใน ิ ั การแก้ปัญหาต่าง ๆ ในลักษณะเชื่อมโยงสัมพันธ์กนช่วยให้นกเรี ยนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง ั วิชา และความสัมพันธ์ของวิชาต่าง ๆ เหล่านั้นกับชีวตจริ ง ิ 2) การจัดการเรี ยนการสอนแบบบูรณาการจะช่วยให้เกิดความสัมพันธ์เชื่อมโยง ระหว่างความคิดรวบยอดในศาสตร์ ต่าง ๆ ทาให้เกิดการเรี ยนรู ้ที่มีความหมาย 3) การสอนที่สัมพันธ์เชื่อมโยงความคิดรวบยอดจากหลาย ๆ สาขาวิชาเข้าด้วยกันมี ประโยชน์หลายอย่างที่สาคัญที่สุดคือการช่วยให้เกิดการถ่ายโอนการเรี ยนรู ้ 4) การเรี ยนการสอนแบบบูรณาการสามารถตอบสนองต่อความสามารถของผูเ้ รี ยน ซึ่ งมีหลายด้าน เช่น ภาษา คณิ ตศาสตร์ การมองพื้นที่ความคล่องของร่ างกายและการเคลื่อนไหว ดนตรี สังคม หรื อมนุษย์สัมพันธ์ ความรู ้และความเข้าใจตนเอง ซึ่ งรวมเรี ยกว่า พหุ ปัญญา 5) กระบวนการเรี ยนการสอนที่ใช้ในหลักสู ตรแบบบูรณาการสอดคล้องกับทฤษฏี การสร้างความรู้โดยผูเ้ รี ยน ผูศึกษาค้นคว้าได้ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการจึง ้ มีความสนใจที่จะพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ให้มีประสิ ทธิ ภาพและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ั ทางการเรี ยนของนักเรี ยนให้บรรลุเป้ าหมายที่ต้ งไว้ต่อไป ั
  • 5. วัตถุประสงค์ ของการศึกษาค้ นคว้ า 1. เพื่อสร้างและหาประสิ ทธิ ภาพกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่มี ั ประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 2. เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระ ั การเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน โดยการจัดกิจกรรม การเรี ยนรู้แบบบูรณาการ 3. เพื่อศึกษาดัชนีประสิ ทธิ ผลของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ั 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการจัดการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ั ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 สมมติฐานของการศึกษาค้ นคว้า 1. การจัดการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ั คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 2. ค่าความแตกต่างของคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ การจัดกิจกรรม การเรี ยนรู้แบบบูรณาการเรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ั ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 คะแนนเฉลี่ยการทดสอบหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน ที่ระดับนัยสาคัญ .01 ขอบเขตของการศึกษาค้ นคว้า 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ คือ นักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 โรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จานวน 10 ห้องเรี ยน จานวน นักเรี ยน 450 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ เป็ นนักเรี ยนมัธยมศึกษาปี ที่ 4/10 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 โรงเรี ยนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อาเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27ในการเลือกกลุ่มตัวอย่างได้ทาการ
  • 6. เลือก โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากนักเรี ยน จานวน 10 ห้องเรี ยน โดยได้ เลือกนักเรี ยนจานวน 1 ห้องเรี ยน รวม 43 คน มาเป็ นกลุ่มทดลอง 2. เนื้อหาวิชา เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ คือ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระ ั การเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 3. ตัวแปรที่ศึกษา 3.1 ตัวแปรต้น การจัดการเรี ยนรู้ แบบบูรณาการ 3.2 ตัวแปรตาม 3.2.1 ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน 3.2.2 ความคิดเห็นของผูเ้ รี ยนเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ั 4. ระยะเวลาในการศึกษาพัฒนา ระหว่างวันที่ 21 พฤษภาคม 2555 ถึงวันที่ 18 มิถุนายน 2554 รวม 10 ชัวโมง ่ เครื่องมือทีใช้ ในการศึกษาค้ นคว้า ่ เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มี 3 ชนิด คือ 1. กิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระ ั การเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 10 กิจกรรม 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณา การ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ั วิธีการดาเนินการศึกษาค้ นคว้า ผูศึกษาค้นคว้าได้ดาเนินการเก็บข้อมูลในการศึกษาค้นคว้า ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ ้ ขั้นที่ 1 1. ทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) ด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ จานวน 40 ข้อ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ตรวจแล้ว ั เก็บคะแนนไว้
  • 7. 2. ดาเนินการทดลอง โดยการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 10 ั กิจกรรมใช้เวลาทดลอง รวม 10 ชัวโมง ่ 3. ทดสอบหลังเรี ยน (Post – test) เมื่อสิ้ นสุ ดการดาเนินการทดลอง โดยใช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนซึ่ งเป็ นชุดเดียวกันกับที่ใช้ทดสอบก่อนเรี ยน ขั้นที่ 2 ให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีต่อการเรี ยนรู้ ด้วยกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ั คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ขั้นที่ 3 นาผลการตอบของนักเรี ยนมาวิเคราะห์หาค่าทางสถิติ ได้แก่ 1. การวิเคราะห์ประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ตามเกณฑ์ 80/80 2. การวิเคราะห์เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรี ยนและ หลังเรี ยน 3. การวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิ ทธิ ผลของกระบวนการจัดกิจกรรม การเรี ยนรู้ 4. การวิเคราะห์ความพึงพอใจที่มีต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ขั้นที่ 4 สรุ ปผลการทดลอง การวิเคราะห์ ข้อมูล ผูศึกษาค้นคว้าดาเนินการวิเคราะห์ขอมูล ดังนี้ ้ ้ 1. การวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน 1.1 หาความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน โดยใช้สูตรดัชนีความสอดคล้อง IOC 1.2 หาความยากง่าย (Difficulty) (P) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน รายข้อ 1.3 หาค่าอานาจจาแนก ( Discrimination) (D) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนรายข้อ 1.4 หาค่าความเชื่อมัน ( Reliability) (rtt) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ่ ทางการเรี ยน 2. การหาคุณภาพของแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของผูเ้ รี ยน 2.1 หาความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ของแบบสอบถามวัดความพึง
  • 8. พอใจ โดยใช้สูตรดัชนีความสอดคล้อง IOC 2.2 หาความเชื่อมันของแบบสอบถามทั้งฉบับ ตามวิธีของ Cronbach วิเคราะห์ ่ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ป Statistical Package for the Social Sciences (SPSS for Windows) 3. การวิเคราะห์แบบประเมินกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์ และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 สาหรับผูเ้ ชี่ยวชาญ โดยใช้ ั ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กาหนดการตัดสิ นผลการประเมินกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย การแปลผล 4.51 – 5.00 เหมาะสมมากที่สุด 3.51 – 4.50 เหมาะสมมาก 2.51 – 3.50 เหมาะสมปานกลาง 1.51 – 2.50 เหมาะสมน้อย 1.00 – 1.50 เหมาะสมน้อยที่สุด 4. การวิเคราะห์หาประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณา การ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ตาม ั เกณฑ์ 80/80 โดยใช้สถิติพ้ืนฐาน ดังนี้ 4.1 ร้อยละ 4.2 ค่าเฉลี่ย 4.3 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.4 การคานวณหาประสิ ทธิ ภาพของกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตามเกณฑ์ 80/80 5. การวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิ ทธิ ผลของกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยใช้สถิติ ั พื้นฐาน ดังนี้ 5.1 ร้อยละ 5.2 ค่าเฉลี่ย 5.3 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5.4 การคานวณหาดัชนีประสิ ทธิ ผลของกิจกรรมการเรี ยนรู ้ 6. การวิเคราะห์แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่มีต่อกระบวนการจัด กิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ั ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กาหนดการตัดสิ นผลการประเมิน การให้คะแนนความคิดเห็นของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ดังนี้
  • 9. คะแนนเฉลี่ย การแปลผล 4.51 – 5.00 เหมาะสมมากที่สุด 3.51 – 4.50 เหมาะสมมาก 2.51 – 3.50 เหมาะสมปานกลาง 1.51 – 2.50 เหมาะสมน้อย 1.00 – 1.50 เหมาะสมน้อยที่สุด สรุ ปผลการศึกษา จากการศึกษา การพัฒนาการจัดการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน ั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ปรากฏผลดังนี้ 1. กิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการ ั เรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่ผศึกษาได้สร้างขึ้นมีประสิ ทธิ ภาพ เท่ากับ 84.40/80.29 ู้ เป็ นไปตามเกณฑ์ที่ต้ งไว้ ั 2. คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน ั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยสาคัญ ั ทางสถิติที่ระดับ .01 3. ดัชนีประสิ ทธิ ผลของกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 มีค่าเท่ากับ ั 0.7364 หรื อร้อยละ 73.64 ซึ่ งสู งกว่าเกณฑ์ของค่าดัชนีประสิ ทธิ ผล คือ 0.50 หรื อร้อยละ 50 นันคือ ่ ผูเ้ รี ยนมีความรู ้เพิ่มขึ้นร้อยละ73.64 หลังจากการเรี ยนรู้ แบบบูรณาการ เรื่ อง ความสัมพันธ์และ ฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ั 4. ความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณา การ เรื่ อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เมื่อ ั เรี ยนครบทุกกิจกรรม พบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อกระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ มี ่ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.79 และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 แสดงว่ามีความพึงพอใจอยูในระดับ มากที่สุด
  • 10. ข้ อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้ 1.1 ครู ผสอนควรนากกิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการไปใช้ในกิจกรรมการเรี ยน ู้ การสอนได้ทุกกลุ่มสาระเพราะเป็ นกิจกรรมที่ครอบคลุมทั้งด้านเนื้อหาลาการลงมือปฏิบติและยังมี ั ผลดีที่นกเรี ยนไม่เบื่อเพราะเป็ นกิจกรรมที่หลากหลาย ั 1.2 การนาแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ แบบบูรณาการไปใช้ ครู ผสอนควรมี ู้ การศึกษาขั้นตอนในการใช้ให้มีความเข้าใจ เพื่อประโยชน์ในการแนะนานักเรี ยนได้อย่างดี 1.3 ในการนาแผนการจัดกิจกรรมบูรณาการไปใช้ควรระมัดระวังในเรื่ องการจัด กิจกรรมที่อาจส่ งผลไปรบกวนสมาชิกห้องเรี ยนใกล้เคียง ควรเลือกสถานที่เหมาะสมกับกิจกรรมใน แต่ละกิจกรรม 1.4 ครู ผสอนควรดูแลนักเรี ยนอย่างทัวถึงในขณะที่ปฏิบติกิจกรรมกลุ่ม เอื้ออานวย ู้ ั ่ ั ความสะดวก และช่วยแก้ปัญหาให้กบนักเรี ยนในการทางานกลุ่ม ควรเสริ มแรงและให้กาลังใจทุก ครั้งที่นกเรี ยนสามารถแก้ปัญหาได้โดยวิธีการที่สร้างสรรค์และมีคุณธรรมในการทางาน จะทาให้ ั นักเรี ยนเกิดความภาคภูมิใจและมีเจตคติที่ดีต่อการทางานโดยใช้ทกษะกระบวนการกลุ่ม ั 1.5 การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ถ้าจัดกิจกรรมเป็ นกลุ่มควรแบ่งนักเรี ยนแบบคละ ความสามารถ แบ่งนักเรี ยนเก่ง กลาง อ่อน ให้คละกันเพื่อจะได้ช่วยเหลือกัน เป็ นการฝึ กให้ นักเรี ยนรู ้จกแบ่งปั นซึ่ งกันและกัน ั 2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับพหุ ปัญญาของนักเรี ยนทั้ง 8 ด้าน ที่เกิดจากการจัด กิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ใช้รูปแบบการสอนบูรณาการ โดยเน้นรู ปแบบการเรี ยนรู ้ตามแนวทางพัฒนา สมองโดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรี ยนรู้ 4 MAT 2.2 ควรมีการพัฒนากิจกรรมการเรี ยนรู ้บูรณาการควบคู่ไปกับนวัตกรรมต่าง ๆ เพื่อ ศึกษาว่ามีความแตกต่างกันและศึกษาข้อดีของแต่ละประเภทและสามารถนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสม 2.3 ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่นอกเหนือไปจากนี้ เช่น เจตคติต่อการเรี ยน ความคงทนในการเรี ยนรู้ ระดับสติปัญญาในการเรี ยนรู้ดวยรู ปแบบการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ้ แบบสร้างองค์ความรู้ เป็ นต้น
  • 11. หน้าหลัก http://krunarinchoti.wordpress.com/ สื่ อการเรียนรู้ สาหรับการศึกษาค้ นคว้ า การร่ วมกิจกรรมของนักเรียน