SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
กิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง เซต กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT
เสริมสร้างคุณลักษณะโรงเรียนสุจริต 5 ประการ
นรินทร์โชติ บุณยนันท์สิริ
โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฎจักรการเรียนรู้ 4 MAT
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์ 1
รหัสวิชา ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เซต เวลา 19 ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ประเภทของเซต จานวน 1 ชั่วโมง
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. สาระสาคัญ
เซตซึ่งมีจานวนสมาชิกเท่ากับ จานวนเต็มบวกใด ๆ หรือศูนย์เรียกว่า เซตจากัด
และเรียกเซตซึ่งไม่ใช่เซตจากัดว่า เซตอนันต์
เซตว่าง (Empty or Null set) คือเซตที่ไม่มีสมาชิก สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเซตว่าง คือ { }
หรือ 
2. สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
3. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และ
เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
4. ตัวชี้วัด
ค 4.1 ม.4-6/1 มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซตและการดาเนินการของเซต
ค 6.1 ม.4-6/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
ค 6.1 ม.4-6/2 ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการ
แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
ค 6.1 ม.4-6/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ค 6.1 ม.4-6/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
ค 6.1 ม.4-6/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ
ค 6.1 ม.4-6/6 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
(หมายเหตุ ค 6.1 ม.4-6/1-6 ใช้บูรณาการสอดแทรกในทุกตัวชี้วัด)
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้
บอกประเภทของเซตที่กาหนดให้ได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ
1. การให้เหตุผล
2. การแก้ปัญหา
3. การสื่อสาร
ด้านคุณลักษณะ
1. ความรับผิดชอบ
2. มีระเบียบวินัย
3. ทางานเป็นระบบรอบคอบ
6. สมรรถนะ
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
คุณลักษณะโรงเรียนสุจริต
ซื่อสัตย์สุจริต  
มีวินัย  
ใฝ่เรียนรู้ 
อยู่อย่างพอเพียง  
มุ่งมั่นในการทางาน 
รักความเป็นไทย 
มีจิตสาธารณะ  
8. สาระการเรียนรู้
1) เซตจากัด
2) เซตอนันต์
3) เซตว่าง
9. ผังการวิเคราะห์ประเด็นการเรียนรู้
10. การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
1.1 นักเรียนได้มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับประเภทของเซต
1.2 นักเรียนได้เข้าใจเกี่ยวกับเซตจากัด เซตอนันต์ และเซตว่าง
2. ความมีเหตุผล
2.1 รู้จักเซตจากัด เซตอนันต์ และเซตว่าง
2.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเซตจากัด เซตอนันต์ และเซตว่าง
2.3 สามารถเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ ได้
3. การมีภูมิคุ้มกัน
3.1 นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้ เกี่ยวกับเซตจากัด เซตอนันต์ และเซตว่าง
จนเกิดความชานาญ สามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้
3.2 สามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในการคิดวิเคราะห์ ในการสอบ การประเมินผล
การสอบแข่งขันหรือการเรียนชั้นสูงต่อไป
4. เงื่อนไขความรู้
4.1 เข้าใจเซตจากัด เซตอนันต์ และเซตว่าง
ประเภท
ของเซต
เซตจากัด
เซตอนันต์
เซตว่าง
การ
สังเกต
การ
ปฏิบัติ
Why
If
How What
1. ตรวจสอบการเข้าเรียน
2. สังเกตดูความสัมพันธ์
ของเซต
1. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์
ของเซต
1. ศึกษาใบความรู้ที่ 3
2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน
กลุ่ม
3. ช่วยกันสรุปความรู้
นักเรียนทาใบกิจกรรมที่ 3
1. เฉลยใบกิจกรรมที่ 3 ปรับแต่งความคิด
2. ออกแบบชิ้นงาน
1. นาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
2. วิเคราะห์ประโยชน์จากการเรียน
1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งชั้นเรียน
2. ทาแบบทดสอบย่อยที่ 3
สังเกตเซตตอบคาถาม
กระตุ้นความคิด
4.2 รอบรู้เกี่ยวกับเซตจากัด เซตอนันต์ และเซตว่าง
5. เงื่อนไขคุณธรรม
5.1 การใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
5.2 ความรับผิดชอบ
5.3 ความมีระเบียบวินัย
11. ภาระงาน
บอกประเภทของเซตที่กาหนดให้
12. แผนผังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4
ประสบการณ์ตรง
ความคิดรวบยอด
13. กิจกรรมการเรียนรู้
ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
รายละเอียดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 4 MAT 8 ขั้นตอนดังนี้
กิจกรรมการเรียนรู้ เสริมสร้าง ทักษะการคิด/คุณลักษณะ
โรงเรียนสุจริต 5 ประการ
การบูรณาการประสบการด้วยตนเอง (Why)
ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างประสบการณ์
1. ครูเรียกชื่อนักเรียนที่เข้าชั้นเรียน และแนะนาให้นักเรียนเข้าเรียนตรงเวลา สร้างความรับผิดชอบให้ตนเอง
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับสมาชิกของเซต และจานวนสมาชิกของเซตแต่ละเซตว่าสามารถระบุ
สมาชิก และจานวนของสมาชิกของเซตได้หรือไม่ โดยสังเกตจากเซตที่เขียนบนกระดาน
A = {1, 2, 3, 4, ...}
B = {x | x เป็นจานวนเต็มบวกที่เป็นจานวนคู่ตั้งแต่ 2 ถึง 12}
การมีวินัย
การคิดแก้ปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู้ เสริมสร้าง ทักษะการคิด/คุณลักษณะ
โรงเรียนสุจริต 5 ประการ
ขั้นที่ 2 ขั้นวิเคราะห์ประสบการณ์
3. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 – 4 คน คละความสามารถแล้วให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม และ
แบ่งหน้าที่ภายในกลุ่มของตนเอง
4. ครูเขียนเซตบนกระดาน4 เซตจากนั้นให้นักเรียนพิจารณาแล้วตั้งคาถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน ดังนี้
พิจารณาเซตต่อไปนี้
A = {1, 2, 3, 4, 5}
B = {x| เป็นคาตอบของสมการ x2
+ 6x + 8 = 0 }
C = {1, 2, 3, 4, 5, 6, …}
1) เซต A สมาชิกกี่ตัว (5 ตัว)
2) เซต B มีสมาชิกกี่ตัว (2 ตัว)
3) เซต C มีสมาชิกเป็นอะไรบ้าง และมีสมาชิกกี่ตัว (มีสมาชิกคือ 1, 2, 3, ... และสมาชิกมีมากมาย)
การมีจิตสาธารณะ
การมีวินัย
การคิดวิเคราะห์
กิจกรรมการเรียนรู้ เสริมสร้าง ทักษะการคิด/คุณลักษณะ
โรงเรียนสุจริต 5 ประการ
การพัฒนาความคิดรวบยอด (What)
ขั้นที่ 3 บูรณาการการสังเกตไปเป็นความคิดรวบยอด
5. ครูให้นักเรียนสังเกตเซตบนกระดาน แล้วตั้งคาถามกระตุ้นความคิดของนักเรียนต่อไปนี้
1) เซตแต่ละเซตมีสมาชิกของเซตที่ระบุจานวนสมาชิกได้ทุกเซตหรือไม่ (ระบุไม่ได้ทุกเซต)
2) เซตทั้ง 3 เซต แตกต่างกันอย่างไรบ้าง (เซตบางเซตระบุจานวนสมาชิกได้บางเซตระบุจานวน
สมาชิกที่แน่นอนไม่ได้)
การคิดวิเคราะห์
ขั้นที่ 4 ขั้นพัฒนาความคิดรวบยอด
6. หัวหน้ากลุ่มออกมารับใบความรู้ที่ 3 แล้วร่วมกันอภิปรายกลุ่มย่อยเกี่ยวกับประเภทของเซต ได้แก่
เซตจากัด เซตอนันต์ และเซตว่าง โดยครูเดินดูและตอบปัญหาของนักเรียนอย่างใกล้ชิด
7. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ภายในกลุ่ม พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้องและร่วมกัน
อภิปราย ประเภทของเซต ได้แก่ เซตจากัด เซตอนันต์ และเซตว่างเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของสมาชิกแต่ละคน
ภายในกลุ่ม
ความพอเพียง (ภูมิคุ้มกันที่ดี ในการทางาน,
เงื่อนไขคุณธรรม)
การมีจิตสาธารณะ
การมีวินัย
กิจกรรมการเรียนรู้ เสริมสร้าง ทักษะการคิด/คุณลักษณะ
โรงเรียนสุจริต 5 ประการ
8. นักเรียนช่วยกันสรุปเกี่ยวกับประเภทของเซต ได้แก่ เซตจากัด เซตอนันต์ และเซตว่าง (แนวการสรุป)
1. เซตซึ่งมีจานวนสมาชิกเท่ากับ จานวนเต็มบวกใด ๆ หรือศูนย์เรียกว่า เซตจากัด และเรียกเซตซึ่งไม่ใช่เซต
จากัดว่า เซตอนันต์
2. เซตว่าง (Empty or Null set) คือเซตที่ไม่มีสมาชิก สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเซตว่าง คือ { } หรือ 
ความพอเพียง (ความพอประมาณ, เงื่อนไข
ความรู้)
ความซื่อสัตย์สุจริต
การมีวินัย
การมีจิตสาธารณะ
การคิดสรุปความ
การปฏิบัติและปรับแต่งเป็นความคิด (How)
ขั้นที่ 5 ขั้นปฏิบัติตามความคิดรวบยอด
9. ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมารับใบกิจกรรมที่ 3 แล้วทาใบกิจกรรมที่ได้รับเพื่อทดสอบความรู้ความ
เข้าใจของแต่ละคน และความชานาญในการแก้ไขปัญหา โดยครูคอยกากับดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อให้ความ
ช่วยเหลือนักเรียน
ความพอเพียง (ภูมิคุ้มกันที่ดีในการทางาน)
ความซื่อสัตย์สุจริต
การมีวินัย
การมีจิตสาธารณะ
การคิดแก้ปัญหา
ขั้นที่ 6 ปรับแต่งเป็นความคิดของตนเอง
10. นักเรียนและครูร่วมกันเฉลยใบกิจกรรมที่ 3 และแก้ไขส่วนที่ผิดพร้อมให้คาแนะนาที่ถูกต้อง
11. นักเรียนออกแบบชิ้นงาน โดยให้นักเรียนแต่ละคนเขียนเซตจากัด เซตอนันต์และเซตว่างอย่างละ 2
เซต
ความพอเพียง (การมีเหตุผล)
ความซื่อสัตย์สุจริต
การมีวินัย
การมีจิตสาธารณะ
การคิดสร้างสรรค์
กิจกรรมการเรียนรู้ เสริมสร้าง ทักษะการคิด/คุณลักษณะ
โรงเรียนสุจริต 5 ประการ
การบูรณาการและประยุกต์ประสบการณ์ (What...if)
ขั้นที่ 7 วิเคราะห์เพื่อนาไปประยุกต์ใช้
12. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุดของกลุ่ม
13. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรียนมา และในการปฏิบัติกิจกรรมมีจุดใดที่ยังไม่
เข้าใจไม่ชัดเจนหรือยังมีข้อสงสัย ถ้ามีครูช่วยอธิบายเพิ่มเติม
14. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นถึงประโยชน์ที่ได้จากหัวข้อที่เรียน จากการปฏิบัติกิจกรรม
และการนาความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์
ความพอเพียง (เงื่อนไขคุณธรรม,
ภูมิคุ้มกันที่ดี)
ความซื่อสัตย์สุจริต
การมีวินัย
การมีจิตสาธารณะ
การคิดสรุปความ
ขั้นที่ 8 แลกเปลี่ยนความรู้ของตนเองกับผู้อื่น
15. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาผลงานมาแลกเปลี่ยนความรู้ พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้องร่วมกันหน้า
ชั้นเรียน โดยครูและนักเรียนช่วยกันอภิปรายเกี่ยวกับเซตจากัด เซตอนันต์ และเซตว่าง ของแต่ละกลุ่มแล้วนา
ผลงานมาติดบอร์ดหน้าชั้นเรียน
16. นักเรียนทาแบบทดสอบย่อยที่ 3 ครูตรวจให้คะแนนแล้วแจ้งผลคะแนนกับนักเรียนในวันต่อไป
ความพอเพียง (เงื่อนไขความรู้, เงื่อนไข
คุณธรรม)
ความซื่อสัตย์สุจริต
การมีวินัย
การมีจิตสาธารณะ
การคิดแก้ปัญหา
14. สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้
1. ใบความรู้ที่ 3
2. ใบกิจกรรมที่ 3
3. แบบทดสอบย่อยที่ 3
15. แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
1. ห้องสมุดโรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
2. ห้องสมุดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3. ห้องอินเตอร์เน็ต
16. การวัดผลและการประเมินผลการเรียนรู้
1. สิ่งที่ต้องการวัด
1.1 ด้านความรู้
1.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
1.3 ด้านคุณลักษณะ
2. เครื่องมือที่ใช้วัด
2.1 แบบทดสอบย่อย
2.2 แบบประเมินทักษะ/กระบวนการ
2.3 แบบประเมินคุณลักษณะ
3. วิธีวัด
3.1 ตรวจผลงาน
3.2 สังเกตพฤติกรรมและตรวจผลงาน
3.3 สังเกตพฤติกรรม
4. เกณฑ์การประเมิน
4.1 นักเรียนทาแบบทดสอบย่อยผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80
4.2 นักเรียนมีทักษะ/กระบวนการผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80
4.3 นักเรียนมีคุณลักษณะผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80
17. หลักฐานการเรียนรู้
1. ใบกิจกรรมที่ 3
2. แบบทดสอบย่อยที่ 3
3. แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการและเกณฑ์การวัด
4. แบบประเมินด้านคุณลักษณะและเกณฑ์การวัด
18. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูแนะนานักเรียนให้เขียนแผนผังความคิดและยกตัวอย่างประกอบเกี่ยวกับประเภทของ
เซตแล้วมาแลกเปลี่ยนกับเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน ติดลงบอร์ดหน้าชั้นเรียน
ใบความรู้ที่ 3
เรื่อง ประเภทของเซต
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4
ประเภทของเซต
1. เซตจากัดและเซตอนันต์ (Finite and Infinite Sets)
พิจารณาจากเซตต่อไปนี้
A = {1, 2, 3, 4, 5}
B = {x | x2 + 9x + 20 = 0}
C = {1, 2, 3, 4, 5, ...}
จะเห็นได้ว่าเซต A มีสมาชิก 5 ตัว คือ 1, 2, 3, 4 และ 5
เนื่องจาก B = {x | x2 + 9x + 20 = 0}
ดังนั้น x2 + 9x + 20 = 0
(x + 4)(x + 5) = 0
x + 4 = 0 หรือ x + 5 = 0
x = -4 หรือ x = -5
ดังนั้นB = {-4, -5}
เซต B มีสมาชิก 2 ตัว คือ -4 และ -5
เราเรียกเซต A และเซต B ว่า เซตจากัด
เซต C มีจานวนสมาชิกนับได้ไม่สิ้นสุด เรียกเซต C ว่า เซตอนันต์
ในกรณีที่เซตจากัดมีสมาชิกจานวนมากและต้องการเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก จะใช้จุด
สามจุดระหว่างสมาชิกบางตัว เช่น
A = {2, 4, 6, 8, ..., 100}
หมายถึง เซตที่มีสมาชิกเป็นจานวนคู่ตั้งแต่ 2 ถึง 100
เรียกเซตซึ่งมีจานวนสมาชิกเท่ากับจานวนเต็มบวกใด ๆ หรือศูนย์เรียกว่า เซตจากัด
และเรียกเซตซึ่งไม่ใช่เซตจากัดว่า เซตอนันต์
2. เซตว่าง (Empty or Null Set)
พิจารณาเซตต่อไปนี้
A = {x | x + 1 = x + 3}
B = {x | x2 + 1 < 0}
สาหรับเซต A เราไม่สามารถแทน x ด้วยจานวนจริงใดแล้วทาให้สมการเป็นจริงได้
เช่นเดียวกัน สาหรับเซต B ก็ไม่สามารถแทน x ด้วยจานวนจริงใดแล้วทาให้อสมการเป็นจริงได้
เราเรียก เซต A และเซต B นี้ว่า เซตว่าง
เซตว่าง คือ เซตที่ไม่มีสมาชิก สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเซตว่าง คือ { } หรือ 
( อ่านว่า phi)
ตัวอย่างที่ 3 จงพิจารณาว่าเซตใดเป็นเซตว่าง
1) A = {}
2) B = {0}
3) C = {x | 2x2 + 2 = 2x - 4}
4) E = {x | x2 + 5 = 0}
5) P = {x | x เป็นจานวนจริงที่ x2 < 9}
วิธีทา 1) A ไม่เป็นเซตว่าง เนื่องจาก   A
2) B ไม่เป็นเซตว่าง เนื่องจาก 0  B
3) C เป็นเซตว่าง เนื่องจากไม่ว่าจะแทน x ด้วยจานวนจริงใดก็ตาม
จะได้ ประโยคที่เป็นเท็จ
ดังนั้น C= 
4) E เป็นเซตว่าง เนื่องจากไม่ว่าจะแทน x ด้วยจานวนจริงใดก็ตาม
จะได้ประโยคที่เป็นเท็จ
ดังนั้น E = 
5) P = {x | x เป็นจานวนจริงที่ x2 < 9}
เนื่องจากจานวนจริง x ที่ x2 < 9 คือจานวนจริงทุกจานวนที่อยู่ระหว่าง -3 และ 3
นั่นคือ -3 < x < 3
ดังนั้น P ไม่เป็นเซตว่าง
ใบกิจกรรมที่ 3
เรื่อง ประเภทของเซต
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4
คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้ข้อใดเป็นเซตว่าง เซตจากัด เซตอนันต์
แล้วกาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ข้อที่ เซตที่กาหนดให้
คาตอบ
เซตว่าง เซตจากัด เซตอนันต์
1 A = {1, 2, 3, 4}
2 B = {2, 4, 5}
3 C = {2, 4, 6, 8, 10, ...}
4 D = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 5}
5 E = {1, 2, 3, . . .}
6 F = {x | x  2}
7 G = {x  I | 0 < x < 1}
8 H = {x  I | x เป็นจานวนคู่ และ 4 < x < 6}
9 J = {x  I | x2
< 1}
10 M = {x  I | 4 < x < 5}
เฉลยใบกิจกรรมที่ 3
เรื่อง ประเภทของเซต
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4
คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้ข้อใดเป็นเซตว่าง เซตจากัด เซตอนันต์
แล้วกาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ข้อที่ เซตที่กาหนดให้
คาตอบ
เซตว่าง เซตจากัด เซตอนันต์
1 A = {1, 2, 3, 4} 
2 B = {2, 4, 5} 
3 C = {2, 4, 6, 8, 10, ...} 
4 D = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 5} 
5 E = {1, 2, 3, . . .} 
6 F = {x | x  2} 
7 G = {x  I | 0 < x < 1}  
8 H = {x  I | x เป็นจานวนคู่ และ 4 < x < 6}  
9 J = {x  I | x2
< 1}  
10 M = {x  I | 4 < x < 5}  
แบบทดสอบย่อยที่ 3
เรื่อง ประเภทของเซต
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 5 ข้อ (5 คะแนน)
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คาตอบ แล้วทาเครื่องหมาย x ลงใน
กระดาษคาตอบ
3. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ 5 นาที
.................................................................................................................................................................
1. กาหนดให้ A = {..., -3, -2, -1}
B = {x|x เป็นเซตของจานวนเต็ม}
ข้อใดต่อไปนี้เป็นเซตเป็นเซตอนันต์
ก. เซต A
ข. เซต B
ค. เซต A และเซต B
ง. ไม่มีข้อใดถูก
2. กาหนดให้ B = {x I+
| 3  x  8}
C = {1, 2, 3, ...}
D = {x|x เป็นเซตของจานวนเต็มลบ}
ข้อใดต่อไปนี้เป็นเซตจากัด
ก. เซต B
ข. เซต C
ค. เซต B และ C
ง. เซต B และ D
3. กาหนดให้ B = {x|x เป็นตัวอักษรในคาว่า “โครงการ”}
C = {xI+
| 1 x  5}
D = {x I+
| 3  x  4}
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
ก. B เป็นเซตจากัด
ข. D เป็นเซตว่าง
ค. D เป็นเซตจากัด
ง. เซต B เป็นเซตจากัดและมีสมาชิก 3 ตัว
4. กาหนดให้ A = {x|x เป็นตัวอักษรในคาว่า “หนองแวง”}
B = {xI+
| 4  x  5}
C = {x I+
| 3  x  4}
ข้อใดต่อไปนี้เป็นเซตว่าง
ก. เซต C
ข. เซต B
ค. เซต A
ง. เซต B และเซต C
5. กาหนดให้ 1) B = {xI+
| 6  x  7} เป็นเซตว่าง
2) C = {x I-
| -3  x  -2} เป็นเซตว่าง
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
ก. ข้อ 1
ข. ข้อ 2
ค. ข้อ 1 และข้อ 2
ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลยแบบทดสอบย่อยที่ 3
เรื่อง ประเภทของเซต
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4
ข้อ 1 ค
ข้อ 2 ก
ข้อ 3 ง
ข้อ 4 ก
ข้อ 5 ข
แบบประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4
ที่ ชื่อสกุล
รายการประเมิน รวม
(12 คะแนน)
ระดับ
คุณภาพการแก้ปัญหา
(4 คะแนน)
การให้
เหตุผล
(4 คะแนน)
การสื่อสาร
(4 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
เกณฑ์การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
เกณฑ์การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ: การแก้ปัญหา
คะแนน/
ความหมาย
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
4 ดีมาก ใช้ยุทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหาสาเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพ อธิบายถึงเหตุผลในการใช้
วิธีการดังกล่าวได้เข้าใจชัดเจน
3 ดี ใช้ยุทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหาสาเร็จ แต่น่าจะอธิบายถึงเหตุผลในการใช้วิธีการดังกล่าว
ได้ดีกว่านี้
2 พอใช้ มียุทธวิธีดาเนินการแก้ปัญหา สาเร็จเพียงบางส่วน อธิบายถึงเหตุผลในการใช้วิธีการ
ดังกล่าวได้บางส่วน
1 ต้อง
ปรับปรุง
มีร่องรอยการดาเนินการแก้ปัญหาบางส่วน เริ่มคิดว่าทาไมจึงต้องใช้วิธีการนั้นแล้วหยุด
อธิบายต่อไม่ได้แก้ปัญหาไม่สาเร็จ
0 ไม่
พยายาม
ทาได้ไม่ถึงเกณฑ์ข้างต้นหรือไม่มีร่องรอยการดาเนินการแก้ปัญหา
เกณฑ์การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ: การให้เหตุผล
คะแนน/
ความหมาย
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
4 ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างสมเหตุสมผล
3 ดี มีการอ้างอิงที่ถูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
2 พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตุสมผลในการประกอบการตัดสินใจ
1 ต้อง
ปรับปรุง
มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
0 ไม่
พยายาม
ไม่มีแนวคิดประกอบการตัดสินใจ
เกณฑ์การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ: การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
คะแนน/
ความหมาย
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
4 ดีมาก ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ถูกต้อง นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิหรือตาราง
แสดงข้อมูลประกอบตามลาดับขั้นตอน เป็นระบบ กระชับ ชัดเจน มีรายละเอียดสมบูรณ์
3 ดี ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ นาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิหรือตารางแสดง
ข้อมูลประกอบตามลาดับขั้นตอน ได้ถูกต้อง ขาดรายละเอียดที่สมบูรณ์
2 พอใช้ ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ พยายามนาเสนอโดยใช้กราฟ แผนภูมิหรือตาราง
แสดงข้อมูลประกอบชัดเจนบางส่วน
1 ต้อง
ปรับปรุง
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ อย่างง่าย ๆ ไม่ได้ใช้กราฟ แผนภูมิหรือตารางเลย
การนาเสนอไม่ชัดเจน
0 ไม่
พยายาม
ไม่นาเสนอ
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 9-12 หรือร้อยละ 80 ขึ้นไป ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม
คะแนน 6-8 หรือร้อยละ 70 – 79 ระดับคุณภาพ ดี
คะแนน 3-5 หรือร้อยละ 60 – 69 ระดับคุณภาพ พอใช้
คะแนน 0-2 หรือร้อยละ 50 ลงมา ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
แบบประเมินด้านคุณลักษณะ
ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4
ที่ ชื่อสกุล
รายการประเมิน รวม
(12 คะแนน)
ระดับ
คุณภาพมีความรับผิดชอบ
(4 คะแนน)
มีระเบียบวินัย
(4 คะแนน)
ทางานเป็นระบบ
(4 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
ตัวชี้วัดการประเมินด้านคุณลักษณะ
ตัวชี้วัดการประเมินด้านคุณลักษณะ: มีความรับผิดชอบ
คะแนน/
ความหมาย
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
3 ดีมาก
 ส่งงานก่อนหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย
 รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและปฏิบัติเองจนเป็นนิสัย เป็นระบบ
และแนะนาชักชวนให้ผู้อื่นปฏิบัติ
2 ดี
 ส่งงานช้ากว่ากาหนด แต่ไม่มีการติดต่อชี้แจงครูผู้สอน มีเหตุผลรับฟังได้
 รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติเองจนเป็นนิสัย
1 พอใช้
 ส่งงานช้ากว่ากาหนด
 ปฏิบัติงานโดยต้องอาศัยการชี้แนะ แนะนา ตักเตือนหรือให้กาลังใจ
ตัวชี้วัดการประเมินด้านคุณลักษณะ: มีระเบียบวินัย
คะแนน/
ความหมาย
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
3 ดีมาก
 สมุดงาน ชิ้นงาน สะอาดเรียบร้อย
 ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงที่กาหนดให้ร่วมกันทุกครั้ง
2 ดี
 สมุดงาน ชิ้นงาน ส่วนใหญ่สะอาดเรียบร้อย
 ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงที่กาหนดให้ร่วมกันเป็นส่วนใหญ่
1 พอใช้
 สมุดงาน ชิ้นงาน ไม่ค่อยเรียบร้อย
 ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงที่กาหนดให้ร่วมกันเป็นบางครั้ง ต้องอาศัยการแนะนา
เกณฑ์การประเมินด้านคุณลักษณะ: ทางานเป็นระบบ รอบคอบ
คะแนน/
ความหมาย
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
3 ดีมาก
 มีการวางแผนการดาเนินงานเป็นระบบ
 การทางานมีครบทุกขั้นตอน ตัดขั้นตอนที่ไม่สาคัญออก
 จัดเรียงลาดับความสาคัญก่อนหลัง ถูกต้องครบถ้วน
2 ดี
 มีการวางแผนการดาเนินงาน
 การทางานไม่ครบทุกขั้นตอน และผิดพลาดบ้าง
 จัดเรียงลาดับความสาคัญก่อนหลัง ได้เป็นส่วนใหญ่
1 พอใช้
 ไม่มีการวางแผนการดาเนินงาน
 การทางานไม่มีขั้นตอน มีความผิดพลาดต้องแก้ไข
 ไม่จัดเรียงลาดับความสาคัญ
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 9-12 หรือร้อยละ 80 ขึ้นไป ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม
คะแนน 6-8 หรือร้อยละ 70 – 79 ระดับคุณภาพ ดี
คะแนน 3-5 หรือร้อยละ 60 – 69 ระดับคุณภาพ พอใช้
คะแนน 0-2 หรือร้อยละ 50 ลงมา ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
แบบบันทึกคะแนนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4
เลขที่
คะแนนการประเมิน
รวม
(39 คะแนน)
ร้อยละ
ระดับ
คุณภาพ
กิจกรรมที่ 3
(10 คะแนน)
ทดสอบย่อย
(5 คะแนน)
ทักษะ/
กระบวนการ
(12 คะแนน)
คุณลักษณะ
(12 คะแนน)
1 8 4 9 11 32 82.05 ดีเยี่ยม
2 8 4 10 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
3 8 4 10 10 32 82.05 ดีเยี่ยม
4 9 4 9 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
5 8 5 9 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
6 9 4 9 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
7 8 4 10 10 32 82.05 ดีเยี่ยม
8 8 3 10 11 32 82.05 ดีเยี่ยม
9 9 4 9 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
10 8 5 10 11 34 87.18 ดีเยี่ยม
11 8 4 9 12 33 84.62 ดีเยี่ยม
12 9 4 9 12 34 87.18 ดีเยี่ยม
13 9 4 9 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
14 8 5 9 10 32 82.05 ดีเยี่ยม
15 9 4 9 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
16 8 4 10 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
17 8 4 10 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
18 8 4 9 11 32 82.05 ดีเยี่ยม
19 8 4 10 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
20 8 4 9 11 32 82.05 ดีเยี่ยม
21 9 4 10 11 34 87.18 ดีเยี่ยม
22 8 5 9 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
23 8 5 10 10 33 84.62 ดีเยี่ยม
เลขที่
คะแนนการประเมิน
รวม
(39 คะแนน) ร้อยละ
ระดับ
คุณภาพ
กิจกรรมที่ 3
(10 คะแนน)
ทดสอบย่อย
(5 คะแนน)
ทักษะ/
กระบวนการ
(12 คะแนน)
คุณลักษณะ
(12 คะแนน)
24 8 5 10 10 33 84.62 ดีเยี่ยม
25 7 4 10 11 32 82.05 ดีเยี่ยม
26 8 4 10 10 32 82.05 ดีเยี่ยม
27 8 4 10 10 32 82.05 ดีเยี่ยม
28 8 4 10 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
29 8 5 11 10 34 87.18 ดีเยี่ยม
30 8 4 10 10 32 82.05 ดีเยี่ยม
31 8 4 9 11 32 82.05 ดีเยี่ยม
32 9 4 9 10 32 82.05 ดีเยี่ยม
33 8 4 10 10 32 82.05 ดีเยี่ยม
34 9 4 10 11 34 87.18 ดีเยี่ยม
35 9 4 10 11 34 87.18 ดีเยี่ยม
36 8 5 10 10 33 84.62 ดีเยี่ยม
37 9 4 11 10 34 87.18 ดีเยี่ยม
38 8 4 10 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
39 8 4 9 11 32 82.05 ดีเยี่ยม
40 9 3 10 11 33 84.62 ดีเยี่ยม
41 8 4 9 11 32 82.05 ดีเยี่ยม
42 8 3 10 11 32 82.05 ดีเยี่ยม
43 8 4 11 11 34 87.18 ดีเยี่ยม
รวม 355 177 416 462 1410
X 8.26 4.12 9.67 10.74 32.79
S.D. 0.49 0.50 0.61 0.54 0.74
ร้อยละ 82.56 82.33 80.62 89.53 84.08
ระดับ
คุณภาพ
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
ความเห็นและข้อเสนอแนะ
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
(นางสาคร สียางนอก)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
........................................................
(นายจรรโลง ธนกัญญา)
หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ
ความเห็นของผู้บังคับบัญชา
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
......................................................
(นางสาวเบญจวรรษ เชิงสะอาด)
ผู้อานวยการโรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก
บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ลงชื่อ...........................................ผู้สอน
(นายนรินทร์โชติ บุณยนันท์สิริ)
ครูชานาญการพิเศษ
แบบบันทึกการนิเทศ
หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
(นางสาวเบญจวรรษ เชิงสะอาด)
ผู้อานวยการโรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก

More Related Content

What's hot

แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
Kantiya Dornkanha
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
krupornpana55
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
supap6259
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลัง
แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลังแบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลัง
แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลัง
ทับทิม เจริญตา
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
chanaruk
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
Duangnapa Jangmoraka
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
guychaipk
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลัง
แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลังแบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลัง
แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลัง
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
 
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิดจำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
จำนวนเชิงซ้อนไม่ซับซ้อนอย่างที่คิด
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
 
Document 1820130813093402
Document 1820130813093402Document 1820130813093402
Document 1820130813093402
 

Viewers also liked (7)

Model aon
Model aonModel aon
Model aon
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2
 
Games7
Games7Games7
Games7
 
Games6
Games6Games6
Games6
 
Games3
Games3Games3
Games3
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 

Similar to 4mat

ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
Aon Narinchoti
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
atunya2530
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
krunum11
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
apiwat97
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
Kroo Keng
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
krurutsamee
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
apiwat97
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
an1030
 

Similar to 4mat (20)

Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 

More from Aon Narinchoti

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

4mat