SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 2
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม – 4Cs
สาระวิชาหลัก-- 3Rs
(การอาน (reading) การเขียน(writing), arithmetic (คณิตศาสตร)
และทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21
มาตรฐานและการวัดผล
หลักสูตรและวิธีการสอน
การพัฒนาวิชาชีพ
บรรยากาศการเรียนรู
ทักษะชีวิต
และอาชีพ
ทักษะดานสารสนเทศ
สื่อและเทคโนโลยี
การคิดวิเคราะห (Critical thinking) • การสื่อสาร (Communication)
การรวมมือ (Collaboration) • ความคิดสรางสรรค (Creativity)
21st Century Student Outcomes
and Support Systems21st Century Student Outcomes and Support Systems
ทักษะแหงอนาคตใหม
การเรียนรูในศตวรรษที่ 21
เครือขายองคกรความรวมมือเพื่อทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือมีชื่อยอวา
เครือขายP21 ไดพัฒนาวิสัยทัศนเพื่อความสำเร็จของนักเรียนในระบบเศรษฐกิจโลกใหม
ผลลัพธการเรียนรูของนักเรียนในศตวรรษที่ 21
เพื่อชวยใหผูปฏิบัติบูรณาการทักษะเขาในการสอนเนื้อหาหลักดานวิชาการ เครือขาย P21 ไดพัฒนาวิสัยทัศนการเรียนรู
เปนกรอบความคิดเพื่อการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองคความรู ทักษะเฉพาะดาน ความชำนาญการและความรู
เทาทันดานตางๆเขาดวยกัน เพื่อใหประสบความสำเร็จทั้งในดานการทำงานและการดำเนินชีวิต กรอบแนวคิดขางตนเอง
เปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาทักษะแหงอนาคตใหมสำหรับประเทศไทย
การนำทักษะในศตวรรษที่ 21 ทุกทักษะไปใช นักเรียนทุกคนจำเปนตองไดรับการพัฒนาใหมีความรูความเขาใจเนื้อหาหลัก
ดานวิชาการ การที่นักเรียนจะสามารถคิดอยางมีวิจารณญานและสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพนั้นตองอาศัยบูรณาการ
ของพื้นฐานความรูดังกลาว
ภายใตบริบทการสอนความรูวิชาหลัก นักเรียนตองเรียนรูทักษะที่จำเปนเพื่อใหประสบความสำเร็จในโลกทุกวันนี้
เชน การคิดอยางมีวิจารณญาน การแกปญหา การคิดสรางสรรค การสื่อสารและการรวมมือกัน
กรอบความคิดขางตนจำเปนตองมีระบบสนับสนุนการศึกษาที่จำเปน ไดแก มาตรฐานการเรียนรู การประเมินผล หลักสูตร
และวิธีการสอน การพัฒนาวิชาชีพและบรรยากาศการเรียนรูที่สงเสริมใหนักเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูมากขึ้น
และจบการศึกษาออกไปดวยความพรอมที่จะประสบความสำเร็จในเศรษฐกิจโลกของทุกวันนี้
เครือขาย P21 ประกอบดวยหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ไดขับเคลื่อนแนวคิดขางตนในสหรัฐอเมริกาตั้งแตป 2002
ขอมูลเพิ่มเติม
Publication date:03/11
ขอมูลเพิ่มเติม www.facebook.com/ThaiPLC และ www.QLF.or.th
• ความรูเรื่องโลก (Global Awareness)
• ความรูดานการเงิน, เศรษฐกิจ, ธุรกิจและการเปนผูประกอบการ
(Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy)
• ความรูดานการเปนพลเมืองที่ดี (Civic Literacy)
• ความรูดานสุขภาพ (Health Literacy)
• ความรูดานสิ่งแวดลอม (Environmental Literacy)
ขอมูลเพิ่มเติม www.facebook.com/ThaiPLC และ www.QLF.or.th
สาระวิชาหลักและทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21
การรอบรูสาระวิชามีความสำคัญและจำเปนอยางยิ่งตอความสำเร็จของนักเรียน สาระวิชาหลักไดแก ภาษาอังกฤษ การอาน
ภาษาของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร เศรษฐศาสตร วิทยาศาสตร ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร การปกครองและความเปนพลเมืองที่ดี
แตไมเพียงพอสำหรับการเรียนรูเพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ 21 โรงเรียนตองสงเสริมความเขาใจเนื้อหาวิชาการใหอยูใน
ระดับสูงดวยการสอดแทรกทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ตอไปนี้เขาในทุกวิชาหลัก:
ทักษะดานการเรียนรูและนวัตกรรม
ทักษะดานการเรียนรูและนวัตกรรมจะเปนตัวกำหนดความพรอมของนักเรียนในการเขาสูการทำงานซึ่งมีความซับซอนเพิ่มขึ้น
ในโลกปจจุบัน ทักษะดานนี้ไดแก:
• ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
• การคิดอยางมีวิจารณญานและการแกปญหา (Critical Thinking and Problem Solving)
• การสื่อสารและความรวมมือ (Communication and Collaboration)
ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี
ทุกวันนี้ เราอาศัยอยูในสภาพแวดลอมที่ขับเคลื่อนดวยสื่อและเทคโนโลยี ซึ่งจะเห็นไดจากการเขาถึงขอมูลขาวสารจำนวนมากมาย
การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วดานเทคโนโลยีการศึกษาและความสามารถในการเชื่อมโยงกันและการมีสวนรวมในอัตราที่ไมเคย
เกิดขึ้นมากอน พลเมืองและแรงงานที่มีประสิทธิภาพตองสามารถแสดงทักษะการคิดอยางมีวิจารณญานและปฏิบัติงาน
ไดหลากหลาย เชน:
• ทักษะดานสารสนเทศ (Information Literacy)
• ทักษะดานสื่อ (Media Literacy)
• ทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Communications and Technology, Literacy)
ทักษะชีวิตและอาชีพ
ชีวิตและสภาพการทำงานในทุกวันนี้จำเปนตองมีทักษะการคิดและองคความรูเพิ่มขึ้นมากมาย ความสามารถในการทำงานในยุค
ที่แขงขันกันดานขอมูลขาวสารและการดำรงชีวิตที่มีความซำซอนใหประสบความสำเร็จไดนั้น จำเปนที่นักเรียนตองใสใจ
อยางเครงครัดในการพัฒนาทักษะชีวิตตอไปนี้ใหเพียงพอ:
• ความยืดหยุนและความสามารถในการปรับตัว (Flexibility and Adaptability)
• การริเริ่มและการกำกับดูแลตนเองได (Initiative and Self-Direction)
• ทักษะดานสังคมและทักษะขามวัฒนธรรม (Social and Cross-Cultural Skills)
• การมีผลงานและความรับผิดชอบตรวจสอบได (Productivity and Accountability)
• ภาวะผูนำและความรับผิดชอบ (Leadership and Responsibility)
ระบบสงเสริมการเรียนรูในศตวรรษที่ 21
การพัฒนากรอบความคิดที่ครอบคลุมเพื่อการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 นั้นจำเปนตองจะตองสรางระบบสงเสริมเพิ่มขึ้นจาก
ทักษะเฉพาะดาน องคความรู ความชำนาญการและความสามารถในการเรียนรูดานตางๆ เพื่อชวยใหนักเรียนรอบรู
มีความสามารถที่จำเปนและหลากหลาย เครือขาย P21 ไดระบุระบบสงเสริมใหนักเรียนไดรอบรูทักษะการเรียนรูที่สำคัญ
ในศตวรรษที่ 21 ไวดวยกันหาระบบดังนี้:
• มาตรฐานการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (21st Century Standards)
• การประเมินผลทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (Assessments of 21st Century Skills)
• หลักสูตรและวิธีการสอนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Curriculum and Instruction)
• การพัฒนาวิชาชีพในศตวรรษที่ 21 (21st Century Professional Development)
• บรรยากาศการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Environments)
ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมไดที่เว็บไซต www.P21.org
รายชื่อประเทศสมาชิกองคกรฯ
ประเภทองคกร
• สมาคมบรรณารักษอเมริกัน
• ระบบอะโดบี
ประเภทบริษัท
• แอปเปล อิงค (Apple Inc.)
• แบล็กบอรด (Blackboard)
• เคเบิล อิน เดอะ คลาสรูม
(Cable in the Classroom)
• เซ็นเกจ เลิรนนิ่ง
(Cengage Learning)
• ซิสโก ซิสเต็มส
(Cisco Systems)
• เครโยลา (Crayola)
• เดลล (Dell)
• เอ็ดดูเคชั่น เน็ตเวิรก ออฟ อเมริกา
(Education Networks of America)
• อีทีเอส (ETS)
• อี เอฟ เอ็ดดูเคชั่น
(EF Education)
• โกลบอลสกอลาร
(GlobalScholar)
• ฮิวตัน มิฟฟน ฮารคอรต
(Houghton Miffin Harcourt)
• ฮิวเลตต แพคการด
(Hewlett Packard)
• อินเทล คอรปอเรชัน
(Intel® Corporation)
• เจเอ เวิรลไวย (JA Worldwide)
• โนเลจเวิรกส
(KnowledgeWorks)
ประเภทมูลนิธิ
• เลิรนนิ่ง พอยท แอสโซซิเอทส
(Learning Point Associates)
• เลโก กรูป (LEGO Group)
• แมคกรอว-ฮิลล (McGraw-Hill)
• เมเชอร โพรเกรส
(Measured Progress)
• เมก-กะ-เฮริทซ เน็ตเวิรกส
(MHz Networks)
• ไมโครซอลฟ คอรปอเรชัน
(Microsoft Corporation)
• มูลนิธิเนชันแนล อะเคเดมี
(National Academy Foundation)
• เนชันแนล เอ็ดดูเคชัน แอสโซซิเอชัน
(National Education Association)
• เน็ต เทร็กเกอร (netTrekker)
• มูลนิธิโอเรเคิล เอ็ดดูเคชัน
(Oracle Education Foundation)
• เพียรสัน (Pearson)
• มูลนิธิพีเอ็มไอ เอ็ดดูเคชัน
(PMI Educational Foundation)
• เวริซัน (Verizon)
• บริษัทวอลท ดิสนีย
(Walt Disney Company)

Weitere ähnliche Inhalte

Andere mochten auch

Andere mochten auch (10)

Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Prob
ProbProb
Prob
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
Uprightschool
UprightschoolUprightschool
Uprightschool
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อเล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
 

Ähnlich wie Lxt6 sonvyqi20150807080936

สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21nanza
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Kittipun Udomseth
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21Wiriyah Ruechaipanit
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษChantana Papattha
 
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionLearning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionAnucha Somabut
 
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...Chantana Papattha
 
Khon Kaen University : GE & TQF-HEd
Khon Kaen University : GE & TQF-HEdKhon Kaen University : GE & TQF-HEd
Khon Kaen University : GE & TQF-HEdDenpong Soodphakdee
 
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์30082527
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนTeacher Sophonnawit
 
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastPattie Pattie
 
โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224Pattie Pattie
 
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลาการจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลาAssociation of Thai Information Science Education
 

Ähnlich wie Lxt6 sonvyqi20150807080936 (20)

Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1Media&tech2learn 001-Part 1
Media&tech2learn 001-Part 1
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษ
 
21 Century skills
21 Century skills 21 Century skills
21 Century skills
 
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionLearning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชนในยุคหลอ...
คุณลักษณะนักสื่อมวลชนดิจิทัลและ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักสื่อมวลชน ในยุคหลอ...
 
Khon Kaen University : GE & TQF-HEd
Khon Kaen University : GE & TQF-HEdKhon Kaen University : GE & TQF-HEd
Khon Kaen University : GE & TQF-HEd
 
960447
960447960447
960447
 
Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
 
Teacher
Teacher Teacher
Teacher
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
 
โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224
 
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลาการจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
 

Mehr von Aon Narinchoti

รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชาAon Narinchoti
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศAon Narinchoti
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสAon Narinchoti
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามAon Narinchoti
 
เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓Aon Narinchoti
 

Mehr von Aon Narinchoti (20)

Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 
History
HistoryHistory
History
 
แนะนำวิชา
แนะนำวิชาแนะนำวิชา
แนะนำวิชา
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 
เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓เครื่องเล่น Mp๓
เครื่องเล่น Mp๓
 

Lxt6 sonvyqi20150807080936

  • 1. ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม – 4Cs สาระวิชาหลัก-- 3Rs (การอาน (reading) การเขียน(writing), arithmetic (คณิตศาสตร) และทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 มาตรฐานและการวัดผล หลักสูตรและวิธีการสอน การพัฒนาวิชาชีพ บรรยากาศการเรียนรู ทักษะชีวิต และอาชีพ ทักษะดานสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี การคิดวิเคราะห (Critical thinking) • การสื่อสาร (Communication) การรวมมือ (Collaboration) • ความคิดสรางสรรค (Creativity) 21st Century Student Outcomes and Support Systems21st Century Student Outcomes and Support Systems ทักษะแหงอนาคตใหม การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 เครือขายองคกรความรวมมือเพื่อทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือมีชื่อยอวา เครือขายP21 ไดพัฒนาวิสัยทัศนเพื่อความสำเร็จของนักเรียนในระบบเศรษฐกิจโลกใหม ผลลัพธการเรียนรูของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 เพื่อชวยใหผูปฏิบัติบูรณาการทักษะเขาในการสอนเนื้อหาหลักดานวิชาการ เครือขาย P21 ไดพัฒนาวิสัยทัศนการเรียนรู เปนกรอบความคิดเพื่อการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองคความรู ทักษะเฉพาะดาน ความชำนาญการและความรู เทาทันดานตางๆเขาดวยกัน เพื่อใหประสบความสำเร็จทั้งในดานการทำงานและการดำเนินชีวิต กรอบแนวคิดขางตนเอง เปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาทักษะแหงอนาคตใหมสำหรับประเทศไทย การนำทักษะในศตวรรษที่ 21 ทุกทักษะไปใช นักเรียนทุกคนจำเปนตองไดรับการพัฒนาใหมีความรูความเขาใจเนื้อหาหลัก ดานวิชาการ การที่นักเรียนจะสามารถคิดอยางมีวิจารณญานและสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพนั้นตองอาศัยบูรณาการ ของพื้นฐานความรูดังกลาว ภายใตบริบทการสอนความรูวิชาหลัก นักเรียนตองเรียนรูทักษะที่จำเปนเพื่อใหประสบความสำเร็จในโลกทุกวันนี้ เชน การคิดอยางมีวิจารณญาน การแกปญหา การคิดสรางสรรค การสื่อสารและการรวมมือกัน กรอบความคิดขางตนจำเปนตองมีระบบสนับสนุนการศึกษาที่จำเปน ไดแก มาตรฐานการเรียนรู การประเมินผล หลักสูตร และวิธีการสอน การพัฒนาวิชาชีพและบรรยากาศการเรียนรูที่สงเสริมใหนักเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูมากขึ้น และจบการศึกษาออกไปดวยความพรอมที่จะประสบความสำเร็จในเศรษฐกิจโลกของทุกวันนี้ เครือขาย P21 ประกอบดวยหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ไดขับเคลื่อนแนวคิดขางตนในสหรัฐอเมริกาตั้งแตป 2002 ขอมูลเพิ่มเติม Publication date:03/11 ขอมูลเพิ่มเติม www.facebook.com/ThaiPLC และ www.QLF.or.th
  • 2. • ความรูเรื่องโลก (Global Awareness) • ความรูดานการเงิน, เศรษฐกิจ, ธุรกิจและการเปนผูประกอบการ (Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy) • ความรูดานการเปนพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) • ความรูดานสุขภาพ (Health Literacy) • ความรูดานสิ่งแวดลอม (Environmental Literacy) ขอมูลเพิ่มเติม www.facebook.com/ThaiPLC และ www.QLF.or.th สาระวิชาหลักและทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 การรอบรูสาระวิชามีความสำคัญและจำเปนอยางยิ่งตอความสำเร็จของนักเรียน สาระวิชาหลักไดแก ภาษาอังกฤษ การอาน ภาษาของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร เศรษฐศาสตร วิทยาศาสตร ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร การปกครองและความเปนพลเมืองที่ดี แตไมเพียงพอสำหรับการเรียนรูเพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ 21 โรงเรียนตองสงเสริมความเขาใจเนื้อหาวิชาการใหอยูใน ระดับสูงดวยการสอดแทรกทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ตอไปนี้เขาในทุกวิชาหลัก: ทักษะดานการเรียนรูและนวัตกรรม ทักษะดานการเรียนรูและนวัตกรรมจะเปนตัวกำหนดความพรอมของนักเรียนในการเขาสูการทำงานซึ่งมีความซับซอนเพิ่มขึ้น ในโลกปจจุบัน ทักษะดานนี้ไดแก: • ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรม (Creativity and Innovation) • การคิดอยางมีวิจารณญานและการแกปญหา (Critical Thinking and Problem Solving) • การสื่อสารและความรวมมือ (Communication and Collaboration) ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ทุกวันนี้ เราอาศัยอยูในสภาพแวดลอมที่ขับเคลื่อนดวยสื่อและเทคโนโลยี ซึ่งจะเห็นไดจากการเขาถึงขอมูลขาวสารจำนวนมากมาย การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วดานเทคโนโลยีการศึกษาและความสามารถในการเชื่อมโยงกันและการมีสวนรวมในอัตราที่ไมเคย เกิดขึ้นมากอน พลเมืองและแรงงานที่มีประสิทธิภาพตองสามารถแสดงทักษะการคิดอยางมีวิจารณญานและปฏิบัติงาน ไดหลากหลาย เชน: • ทักษะดานสารสนเทศ (Information Literacy) • ทักษะดานสื่อ (Media Literacy) • ทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information, Communications and Technology, Literacy) ทักษะชีวิตและอาชีพ ชีวิตและสภาพการทำงานในทุกวันนี้จำเปนตองมีทักษะการคิดและองคความรูเพิ่มขึ้นมากมาย ความสามารถในการทำงานในยุค ที่แขงขันกันดานขอมูลขาวสารและการดำรงชีวิตที่มีความซำซอนใหประสบความสำเร็จไดนั้น จำเปนที่นักเรียนตองใสใจ อยางเครงครัดในการพัฒนาทักษะชีวิตตอไปนี้ใหเพียงพอ: • ความยืดหยุนและความสามารถในการปรับตัว (Flexibility and Adaptability) • การริเริ่มและการกำกับดูแลตนเองได (Initiative and Self-Direction) • ทักษะดานสังคมและทักษะขามวัฒนธรรม (Social and Cross-Cultural Skills) • การมีผลงานและความรับผิดชอบตรวจสอบได (Productivity and Accountability) • ภาวะผูนำและความรับผิดชอบ (Leadership and Responsibility) ระบบสงเสริมการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 การพัฒนากรอบความคิดที่ครอบคลุมเพื่อการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 นั้นจำเปนตองจะตองสรางระบบสงเสริมเพิ่มขึ้นจาก ทักษะเฉพาะดาน องคความรู ความชำนาญการและความสามารถในการเรียนรูดานตางๆ เพื่อชวยใหนักเรียนรอบรู มีความสามารถที่จำเปนและหลากหลาย เครือขาย P21 ไดระบุระบบสงเสริมใหนักเรียนไดรอบรูทักษะการเรียนรูที่สำคัญ ในศตวรรษที่ 21 ไวดวยกันหาระบบดังนี้: • มาตรฐานการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (21st Century Standards) • การประเมินผลทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (Assessments of 21st Century Skills) • หลักสูตรและวิธีการสอนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Curriculum and Instruction) • การพัฒนาวิชาชีพในศตวรรษที่ 21 (21st Century Professional Development) • บรรยากาศการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Environments) ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมไดที่เว็บไซต www.P21.org รายชื่อประเทศสมาชิกองคกรฯ ประเภทองคกร • สมาคมบรรณารักษอเมริกัน • ระบบอะโดบี ประเภทบริษัท • แอปเปล อิงค (Apple Inc.) • แบล็กบอรด (Blackboard) • เคเบิล อิน เดอะ คลาสรูม (Cable in the Classroom) • เซ็นเกจ เลิรนนิ่ง (Cengage Learning) • ซิสโก ซิสเต็มส (Cisco Systems) • เครโยลา (Crayola) • เดลล (Dell) • เอ็ดดูเคชั่น เน็ตเวิรก ออฟ อเมริกา (Education Networks of America) • อีทีเอส (ETS) • อี เอฟ เอ็ดดูเคชั่น (EF Education) • โกลบอลสกอลาร (GlobalScholar) • ฮิวตัน มิฟฟน ฮารคอรต (Houghton Miffin Harcourt) • ฮิวเลตต แพคการด (Hewlett Packard) • อินเทล คอรปอเรชัน (Intel® Corporation) • เจเอ เวิรลไวย (JA Worldwide) • โนเลจเวิรกส (KnowledgeWorks) ประเภทมูลนิธิ • เลิรนนิ่ง พอยท แอสโซซิเอทส (Learning Point Associates) • เลโก กรูป (LEGO Group) • แมคกรอว-ฮิลล (McGraw-Hill) • เมเชอร โพรเกรส (Measured Progress) • เมก-กะ-เฮริทซ เน็ตเวิรกส (MHz Networks) • ไมโครซอลฟ คอรปอเรชัน (Microsoft Corporation) • มูลนิธิเนชันแนล อะเคเดมี (National Academy Foundation) • เนชันแนล เอ็ดดูเคชัน แอสโซซิเอชัน (National Education Association) • เน็ต เทร็กเกอร (netTrekker) • มูลนิธิโอเรเคิล เอ็ดดูเคชัน (Oracle Education Foundation) • เพียรสัน (Pearson) • มูลนิธิพีเอ็มไอ เอ็ดดูเคชัน (PMI Educational Foundation) • เวริซัน (Verizon) • บริษัทวอลท ดิสนีย (Walt Disney Company)