SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เรื่ อง
    ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชน
                                  ั
           รายวิชาคณิ ตศาสตร์



                      จัดทาโดย
              นายนรินทร์ โชติ บุณยนันท์ สิริ




กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนหนองแวงวิทยาคม
              อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุ รินทร์
      สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33
                     ้ ่
คานา

            บทเรี ยนสาเร็ จรู ปชุดลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชนชุดนี้ ได้จดทาขึ้นเพื่อใช้เป็ นสื่ อการ
                                                                   ั           ั
เรี ยนการสอนซ่อมเสริ มประกอบการแก้ไขปั ญหาการเรี ยนรู ้เกี่ยวลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชน             ั
ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 บทเรี ยนสาเร็ จรู ปชุดนี้มีเนื้อหาและวิธีการเรี ยนรู ้ที่เป็ นระบบ โดย
เรี ยนรู ้จากง่ายไปยาก นักเรี ยนจะค้นพบความรู ้ดวยตนเอง และเกิดทักษะในการแก้ปัญหาได้อย่าง
                                                   ้
ถูกต้อง และมีประสิ ทธิภาพ
 บทเรี ยนสาเร็ จรู ปชุดนี้ มีท้ งหมด 2 กรอบ มีเนื้อหาครอบตามหลักสู ตรตามกลุ่มสาระการ
                                ั
เรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ผูจดทาหวังเป็ นอย่างยิงว่า บทเรี ยนสาเร็ จรู ปชุดลิมิตและ
                                               ้ั                    ่
ความต่อเนื่องของฟังก์ชน จะเป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ ช่วยแบ่งเบาภาระครู ผสอน
                            ั                                                                         ู้
สามารถใช้เป็ นเครื่ องนาทางให้นกเรี ยนได้ประสบผลสาเร็ จ มีทกษะการเรี ยนรู้ในเรื่ องของลิมิตและ
                                      ั                                ั
ความต่อเนื่องของฟังก์ชนอย่างมีคุณภาพ หากมีขอผิดพลาดประการใด ต้องกราบขออภัยมา ณ ที่น้ ี
                              ั                      ้
ด้วย
สารบัญ

                                                     หน้า
คานา      ก
สารบัญ      ข
คาชี้แจง    1
คาแนะนาสาหรับครู        2
คาแนะนาสาหรับนักเรี ยน 3
แบบทดสอบก่อนเรี ยน 4
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชน
                              ั
กรอบที่        1 ลิมิตของฟังก์ชน 7
                                ั
กรอบที่        2        ความต่อเนื่องของฟังก์ชน 16
                                              ั
แบบทดสอบหลังเรี ยน 20

บรรณานุกรม                                           22
คาชี้แจง

 บทเรี ยนสาเร็ จรู ปชุดลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชนเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็ นสื่ อการ
                                                           ั
เรี ยนการสอนซ่อมเสริ มประกอบการแก้ไขปั ญหาการเรี ยนรู ้เกี่ยวลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชน      ั
ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ซึ่ งบทเรี ยนสาเร็ จรู ปที่จดทาขึ้นนี้ได้กาหนดเนื้อหาและ
                                                               ั
วัตถุประสงค์ตามหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ผูเ้ รี ยนสามารถศึกษาเนื้อหา และ
ประเมินผลการเรี ยนรู ้ได้ดวยตนเอง ตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ ซึ่ งมีการเสริ มแรงแก่ผเู ้ รี ยนเป็ นระยะๆ
                              ้
โดยการเฉลยคาตอบให้ทนที เนื้อหาการเรี ยนรู ้แบ่งเป็ นตอนย่อยๆ เสนอเนื้อหาทีละน้อย มีคาถาม
                            ั
ให้ผเู ้ รี ยนคิดทากิจกรรมหรื อตอบแล้วเฉลยคาตอบให้ทนที ผูเ้ รี ยนจะสามารถรับรู ้ได้ดวยตนเองตาม
                                                             ั                           ้
ความสามารถแต่ละบุคคล
คาแนะนาสาหรับครู

         1. ครู ควรศึกษาเนื้อหา และจุดประสงค์ของหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เรื่ อง
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชน ให้ละเอียดครบถ้วน
                                      ั
         2. ครู แนะนาให้นกเรี ยนศึกษาเนื้อหาของบทเรี ยนสาเร็ จรู ปด้วยตนเอง และทาแบบทดสอบ
                               ั
ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
         3. บทเรี ยนสาเร็ จรู ปเล่มนี้ ครู สามารถนาไปใช้สอนซ่อมเสริ มกับ
          3.1 นักเรี ยนที่เรี ยนรู้ชา
                                    ้
          3.2 นักเรี ยนที่เรี ยนช้า กรณี หยุดเรี ยน หรื อย้ายมาเรี ยนใหม่ระหว่างภาคเรี ยน
          3.3 ใช้สอนเสริ มกับนักเรี ยนที่ตองการค้นคว้าหาความรู ้เพิ่มเติมจากบทเรี ยน
                                             ้
คาแนะนาสาหรับนักเรียน

          1. บทเรี ยนสาเร็ จรู ปชุดลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชนเล่มนี้ นักเรี ยนสามารถเรี ยนด้วย
                                                                    ั
ตนเองตามความสามารถ มีกิจกรรมให้นกเรี ยนทา มีท้ งคาอธิ บาย ตัวอย่าง แบบฝึ กหัด และคาตอบ
                                           ั            ั
พร้อมทั้งบทสรุ ป
          2. นักเรี ยนควรทาความเข้าใจก่อนว่า บทเรี ยนสาเร็ จรู ปนี้ไม่ใช่การทดสอบ แต่มุ่งให้
นักเรี ยนเรี ยนรู้ดวยตนเองตามความสามารถ
                   ้
          3. นักเรี ยนควรมีสมาธิ และความซื่ อสัตย์ต่อตนเอง ในขณะศึกษาบทเรี ยน และปฏิบติ       ั
กิจกรรมไม่เปิ ดดูเฉลยก่อน โดยการเตรี ยมแถบกระดาษไว้สาหรับปิ ดเฉลยคาตอบก่อน หากเฉลย
                 ่
คาตอบนั้นอยูในกรอบเดียวกันกับแบบฝึ กหัด จนกว่านักเรี ยนจะทาแบบฝึ กหัดเสร็ จแล้ว จึงค่อย
เปิ ดดูเฉลยคาตอบ
          4. ขอให้นกเรี ยนทาแบบฝึ กหัดด้วยความมันใจ ถ้าทาไม่ได้หรื อสงสัยก็พยายามดูบทเรี ยนที่
                      ั                               ่
                                                   ั
ผ่านมา และคาตอบของนักเรี ยนสามารถตรวจดูกบเฉลยคาตอบได้ทนทีหลักจากนักเรี ยนทา
                                                                      ั
กิจกรรมหรื อทาแบบฝึ กหัดเสร็ จแล้ว
          5. ก่อนที่นกเรี ยนจะศึกษาบทเรี ยนสาเร็ จรู ป ควรทาแบบฝึ กหัด หรื อแบบทดสอบก่อนเรี ยน
                        ั
และทาแบบฝึ กหัดหรื อแบบทดสอบหลังเรี ยน เมื่อนักเรี ยนศึกษาเนื้อหาจบแล้วพร้อมตรวจคาตอบ
กับเฉลย เพื่อทราบความก้าวหน้าของนักเรี ยน
          6. เมื่อนักเรี ยนได้ศึกษา และทราบผลความก้าวหน้าของตนเองแล้ว ให้เก็บเอกสารหรื อ
สิ่ งของต่าง ๆ ที่นามาใช้ในการเรี ยนให้เรี ยบร้อย เพื่อพร้อมที่ผอื่นจะนาไปศึกษาได้ต่อไป
                                                                ู้
แบบทดสอบก่อนเรียน
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนทาเครื่ องหมาย x ในกระดาษคาตอบหน้าข้อ ก,ข,ค, และ ง ที่ถูกต้อง
             ั
                   x2 , x  2                               ค.  1
1. ถ้า    f ( x)               แล้ว
                   2  x, x  2                                 8

 lim f ( x) มีค่าเท่าใด                                       ง. 1
x2 2                                                           10
           ก.     0                                             x2  9
                                                   6.   lim 2
                                                        x 3 x  2 x  3
                                                                         เท่ากับเท่าใด
           ข.     1
                                                           ก. 0
           ค.     2
                                                           ข. 1
           ง.     4
                                                           ค. 2
                    x  1, x  1
2. ถ้า f ( x)  
                                แล้วข้อต่อไปนี้           ง. 3
                   2, x  1
ข้อใดไม่ถูกต้อง                                    7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เมื่อกาหนด
                                                             3x, x  2
ก.          f (1)  2                               f ( x)  
                                                             2 x  3, x  2
       ข. xlim f ( x)  2
            1        
                                                            ก. lim f ( x)  6
                                                                    x 2
           ค.    lim f ( x)  0
                    
                 x 1                                        ข. f เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x = 2
                                                                               ั
           ง. lim f ( x) 
               x 1
                             f (1)                           ค. f เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x= 3
                                                                                 ั
            2
                 4x  3                                     ง. f เป็ นฟังก์ชนที่มี lim f ( x)
                                                                             ั
3. lim x                 เท่ากับเท่าใด
                x 1
                                                                                    x4
   x 2

           ก.     –7                               8. f จะต่อเนื่องที่จุด x = a ก็ต่อเมื่อ
           ข.     –5                                   1. f(a) หาค่าได้
           ค.     –1                                   2. lim f ( x) หาค่าได้
                                                           xa

           ง.     7                                     3. f(a) =    lim f ( x)
                                                                     xa

            4
            2
                                                                       x 2 , x  1
4. lim x       เท่ากับเท่าใด                       กาหนด      f ( x)                f ไม่ต่อเนื่องที่
   x 2    x2                                                         2, x  1
           ก.     x-2                              x = 1เนื่องจากขาดสมบัติขอใด
                                                                           ้
           ข.     0                                          ก. 1
           ค.     2                                          ข. 2
           ง.     4                                          ค. 3
            x4 2
5. lim
   x 0
                   เท่ากับเท่าใด                             ง. ข้อ 1,2
              x
             1
ก.
             4
             1
ข.
             6
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

1.   ง
2.   ค
3.   ก
4.   ง
5.   ก
6.   ค
7.   ข
8.   ค
สวัสดีครับน้อง ๆ พี่ตนหอมมีเรื่ องมาฝากให้นองชั้น ม.6 ทุกคน
                      ้                       ้
พี่รู้มาว่าตอนนี้นอง ๆ กาลังเรี ยนคณิ ตศาสตร์
                  ้
                                        ั ่
เรื่ อง ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชน อยูใช่ไหม
ถ้างันตามพี่ตนหอมมาเลย
               ้
กรอบที่ 1
                                    ลิมิตของฟังก์ชัน



           ถ้า a และ L เป็ นจานวนจริ ง โดยที่ y = f(x) ซึ่งมีโดเมน
และเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริ งมีค่าเข้าใกล้หรื อเท่ากับ L ในขณะ
ที่ x มีค่าเข้าใกล้ a ใด ๆ แล้วจะกล่าวว่า f(x) มีลิมิตเท่ากับ L ในขณะที่
x เข้าใกล้ a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ lim f ( x)  L
                                        x a

 การพิจารณาว่า            x เข้าใกล้ a ใด ๆ จะพิจารณา 2 กรณี คือ เมื่อ
x เข้าใกล้ a โดยที่ x < a ซึ่ งจะเรี ยกว่า x เข้าใกล้ a ทางซ้าย เขียนแทน
ด้วยสัญลักษณ์ xa- และพิจารณาเมื่อ x เข้าใกล้ a โดยที่ x > a ซึ่งจะ
เรี ยกว่า x เข้าใกล้ a ทางด้านขวา เขียนแทนด้วย xa+




                               น้อง ๆ ครับ ดังนั้น ลิมิตของฟังก์ชน f(x) เมื่อ xa จะหาค่าได้เมื่อ
                                                                 ั
                                       1. lim f ( x) หาค่าได้
                                             x a 

                                        2.   lim f ( x) หาค่าได้
                                             x a 

                                        3.   lim f ( x) = lim f ( x)
                                             x a        x a
น้ อง ๆ ลงดูตัวอย่ างนีนะครับจะได้ เข้ าใจมากขึน
                       ้                        ้
ตัวอย่าง จงพิจารณาฟังก์ชน f(x) = x+5 ขณะที่ x เข้าใกล้ 2 โดยเติมค่า f(x)
                           ั
ลงในตาราง
                x<2                                 x>2
         x                f(x)                    x          f(x)
        1.5               6.5                  2.5            7.5
        1.9               6.9                  2.1            7.1
       1.95               6.95                2.05           7.05
       1.99               6.99                2.01           7.01
      1.995              6.995               2.005          7.005
      1.999              6.999               2.001          7.001

lim f ( x)
x 2 
                =        7
lim f ( x)
x 2 
                =        7
lim f ( x)
x2
                =        7




                             เป็ นอย่างไรบ้างครับน้อง ๆ คราวนี้ลองทา
                             แบบฝึ กหัดเองบ้างนะครับ
แบบฝึ กหัด

ให้นกเรี ยนพิจารณาฟังก์ชน f(x) = 2x – 1 ขณะที่ x เข้าใกล้ 3 โดยเติมค่า f(x) ลงในตาราง
    ั                   ั

                          x<3                                x>3
                x                 f(x)                 x               f(x)
               2.5                                    3.5
               2.9                                    3.1
              2.95                                   3.05
              2.99                                   3.01
              2.995                                 3.005
              2.999                                 3.001

                 lim f ( x)
                 x 2 
                                 =       ……………..
                 lim f ( x)
                 x 2 
                                 =       ……………..
                lim f ( x)
                 x2
                                 =       ……………..
เฉลยแบบฝึ กหัด


          x<3                         x>3
  x              f(x)            x           f(x)
 2.5               4            3.5            6
 2.9             4.8            3.1          5.2
2.95             4.9           3.05          5.1
2.99            4.98           3.01          5.02
2.995           4.99          3.005          5.01
2.999           4.998         3.001         5.002

  lim f ( x)
  x 3
                =       3
  lim f ( x)
  x 3
                =       3
 lim f ( x)
  x3
                =       3
่
เป็ นอย่างไรบ้างครับน้อง ๆ วิธีการหาลิมิตดังกล่าวค่อนข้างที่จะยุงยากใช่ไหม
ละ คราวนี้พี่ตนหอม มีวธีการง่ายกว่าเดิมโดยการใช้ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต
               ้        ิ
ช่วยในการหาคาตอบ




ทฤษฎีบท          เมื่อ a, L และ M เป็ นจานวนจริ งใด ๆ ถ้า f และ g เป็ นฟังก์ชนที่มีโดเมน
                                                                             ั
และเรนจ์เป็ นสับเซตของเซตของจานวนจริ ง โดยที่ lim f ( x)  L และ lim g ( x)  M
                                                   x a                 x a

แล้ว
         1. lim c  c
            x a
                                เมื่อ c เป็ นค่าคงตัวใด ๆ
         2. lim x  a
            x a

         3. lim x n  a n , n  I 
            x a

         4. lim cf ( x)  c lim f ( x)  cL, c เป็ นค่าคงตัวใด ๆ
            x a            x a

         5. lim[ f ( x)  g ( x)]  lim f ( x)  lim g ( x)  L  M
            x a                    x a         x a

         6. lim[ f ( x)  g ( x)]  lim f ( x)  lim g ( x)  L  M
            x a                    x a         x a

         7. lim[ f ( x).g ( x)]  lim f ( x). lim g ( x)  L.M
            x a                  x a        x a

                                 lim f ( x)
         8. lim  f ( x)  
            x a        
                                 x a
                                                
                                                    L
                                                      ,M  0
                 g ( x)        lim g ( x)
                                 x a
                                                    M

         9. lim[ f ( x)]
            x a
                           n
                                [lim f ( x)]n  Ln , n  I 
                                  x a

         10. lim n
             x a
                     f ( x)  n lim f ( x)  n L , n  I   {1} และ   n
                                                                           L R
                                         x a
ตัวอย่างที่ 1      จงหา lim ( x 2  2 x  4)
                        x 3

วิธีทา โดยทฤษฎีบท จะได้
                   lim ( x 2  2 x  4)
                   x 3
                                                 =   lim x 2  lim 2 x  lim 4
                                                     x 3                  x 3          x 3
                                                         2
                                                 =   3 + 2( lim x)  4
                                                            x 3

                                                 =   9 + (2)(3) – 4
                                                 =   11

                                  x 2  9x  8
ตัวอย่างที่ 2      จงหา      lim
                             x 3     x8
วิธีทา โดยทฤษฎีบท จะได้
                        x 2  9x  8                 lim ( x 2  9 x  8)
                   lim                           =   x 3
                   x 3     x8                                  lim ( x  8)
                                                                 x 3

                                                     lim x  9 lim x  lim 8
                                                                    2

                                                 =   x 3                      x 3      x 3

                                                                   lim x  lim 8
                                                                        x 3      x 3

                                                     3  (9)(3)  8
                                                             2
                                                 =
                                                         38
                                                     44
                                                 =
                                                     11
                                                 =   4

                                   x 2  25
ตัวอย่างที่ 3      จงหา      lim
                             x  5 x  5

                                          x 2  25                       ( x  5)( x  5)
วิธีทา เนื่องจาก                                     =
                                            x5                              ( x  5)
                                                     =                   x 5
                                      x  25
                                       2
                   ดังนั้น    lim                    =                   lim ( x  5)
                             x  5    x5                               x 5

                                                     =                  -5 + 5
                                                     =                  0
                                               x 2  25
ข้ อสั งเกต     การหาลิมิตของฟังก์ชน f(x) =
                                        ั               ที่ x = -5 ไม่สามารถใช้ทฤษฎีบท โดยตรง
                                                 x5
ได้เพราะ จะอยูในรู ป 0 ดังนั้นเมื่อต้องการหาลิมิตของฟังก์ชน f(x) = x  25 ที่ x = -5 จึงหาลิมิต
                                                                       2
              ่                                             ั
                     0                                                 x5
ของฟังก์ชน f(x) = x + 5 ที่ –5 แทน
         ั
x4 2
ตัวอย่างที่ 4      จงหาลิมิต lim
                             x 0     x
วิธีทา จากฟังก์ชนที่กาหนดให้จะเห็นว่าไม่สามารถใช้ทฤษฎีบท หาค่าลิมิตของฟังก์ชน
                ั                                                           ั
                  ได้โดยตรง จึงจะจัดรู ปของฟังก์ชนใหม่ดงนี้
                                                 ั     ั
                                      x4 2                   x4 2       x42
                   เนื่องจาก                         =                 
                                        x                        x          x42
                                                             ( x  4)  2
                                                                     2    2
                                                     =
                                                              x( x  4  2)
                                                                x44
                                                     =
                                                             x( x  4  2)
                                                                 1
                                                     =                   เมื่อ x0
                                                                x42
                                           x4 2                   1
                   จะได้            lim              =       lim
                                    x 0     x               x 0
                                                                  x42
                                                             1
                                                     =
                                                             4




                น้องดูตวอย่างแล้วเป็ นอย่างไรกัน
                         ั
                บ้าง เพื่อความเข้าใจให้ดียงขึ้นนะ
                                          ิ่
                ครับ อย่าลืมทาแบบฝึ กหัดทดสอบ
                ความเข้าใจของตนเองนะครับ
แบบฝึ กหัดที่ 2

จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้ ถ้าลิมิตหาค่าได้

        1. lim
           x 4
                   x2  x  5


        2. lim( x 2  2 x  9)
           x 3




                 x 2  25
        3.   lim
             x 5 x  5




                   x4
        4. lim
           x 4   x 2  16

                  t 9
        5. lim
           t 9
                   t 3


                   5x  9  3
        6. lim
           x 0       x
เฉลยแบบฝึ กหัดที่ 2

1.   5
2.   12
3.   10
     1
4.
     8
5.   6
     5
6.
     6
กรอบที่ 2
              ความต่ อเนื่องของฟังก์ชัน




                                    คราวนี้พ่ตนหอมจะพาน้อง ๆ มา
                                             ี ้
                         รู ้จกความต่อเนื่องของฟังก์ชน น้อง ๆ ตาม
                              ั                      ั
                         พี่ตนหอมมาเลยครับจะได้รู้จกลักษณะ
                                ้                      ั
                         และวิธีการตรวจสอบความต่อเนื่องของ
                         ฟังก์ชน  ั




บทนิยาม    ให้ a เป็ นจานวนจริ งใด ๆ ฟังก์ชน f เป็ นฟังก์ชน
                                               ั              ั
           ต่อเนื่องที่ x = a เมื่อฟังก์ชน f มีสมบัติต่อไปนี้
                                         ั
      1.   f(a) หาค่าได้
      2.   lim f ( x) หาค่าได้
            xa

      3.   lim f ( x) = f(a)
           xa




                       ตามพี่ตนหอมมานะครับ
                              ้
            ดูตรวจอย่างการตรวจสอบฟังก์ชน    ั
            ว่าฟังก์ชนใดมีความต่อเนื่องหรื อไม่
                     ั
ตัวอย่างที่ 5   กาหนดให้ f(x) = 3x – 1 จงพิจารณาว่าฟังก์ชน f เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x = 0
                                                         ั              ั
                หรื อไม่
วิธีทา จาก               f(x) =         3x – 1
 จะได้                   f(0) =         -1
                และ lim f ( x) =
                      x0
                                        lim (3x  1)
                                         x 0

                                 =            3(0) – 1
                                 =            -1
                นันคือ lim f ( x) =
                  ่    x0
                                              f(0)
                ดังนั้น ฟังก์ชน f(x) = 3x – 1 เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x = 0
                              ั                          ั

                                        x  1, x  3
ตัวอย่างที่ 6   กาหนดให้      f ( x)  
                                       3x  7, x  3
                จงพิจารณาว่าฟังก์ชน f เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x = 3 หรื อไม่
                                  ั              ั
                                x  1, x  3
วิธีทา จาก            f ( x)  
                               3x  7, x  3
 และ                  x =3
                จะได้ f(x)      =     x–1
                ดังนั้น f(3) =        2
                การหา lim f ( x) จากบทนิยามของลิมิต ดังนั้นจะต้องหา xlim
                         x3                                          3              
                                                                                          f ( x)

                และ     lim f ( x)
                      x 3

                จะได้      lim f ( x)
                           x 3
                                              =          lim ( x  1)
                                                         x 3

                                              =          2
                           lim f ( x)
                           x 3
                                              =          lim (3x  7)
                                                         x 3

                                              =          2
                นันคือ lim f ( x)
                  ่    x3
                                              =          f(3)
                                               x  1, x  3
                ดังนั้น ฟังก์ชน
                              ั      f ( x)                    เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x = 3
                                                                            ั
                                              3x  7, x  3
พี่ตนหอมมีแบบฝึ กหัดมาให้นอง ๆ
                                                               ้                       ้
                                                           ลองทาเพื่อทดสอบ
                                                           ความรู ้ความเข้าใจของน้อง ๆ ว่ามี
                                                           มากแค่ไหน ตามมาเลยครับ




                                                  แบบฝึ กหัดที่ 3


                  ั            ่
จงพิจารณาว่าฟังก์ชนที่กาหนดให้ตอไปนี้เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่อง ณ จุดที่กาหนดให้หรื อไม่
                                                ั

        1. f(x) = 3x2 – 5 เมื่อ          x=0

                    x3
        2. f(x) =                   เมื่อ x = 3
                    x2  9



                     3  x, x  0
        3. f(x) = 
                                   เมื่อ x = 0
                    3x  2,  0


                      2 x  3, x  4
                      
        4.   f ( x)   16               เมื่อ x = 4
                      7  x , x  4
                      
เฉลยแบบฝึ กหัดที่ 3

1.   ต่อเนื่อง
2.   ไม่ต่อเนื่อง
3.   ไม่ต่อเนื่อง
4.   ไม่ต่อเนื่อง
แบบทดสอบหลังเรียน
คาชี้แจง ให้นกเรี ยนทาเครื่ องหมาย x ในกระดาษคาตอบหน้าข้อ ก,ข,ค, และ ง ที่ถูกต้อง
             ั
                   x2 , x  2                               ค.  1
1. ถ้า    f ( x)               แล้ว
                   2  x, x  2                                 8

 lim f ( x) มีค่าเท่าใด                                       ง. 1
x2 2                                                           10
           ก. 0                                                 x2  9
                                                   6.   lim 2
                                                        x 3 x  2 x  3
                                                                         เท่ากับเท่าใด
           ข. 1
                                                           ก. 0
           ค. 2
                                                           ข. 1
           ง. 4
                                                           ค. 2
                    x  1, x  1
2. ถ้า f ( x)  
                                แล้วข้อต่อไปนี้           ง. 3
                   2, x  1
ข้อใดไม่ถูกต้อง                                    7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เมื่อกาหนด
                                                             3x, x  2
ก.          f (1)  2                               f ( x)  
                                                             2 x  3, x  2
       ข. xlim f ( x)  2
            1      
                                                            ก. lim f ( x)  6
                                                                    x 2
           ค.    lim f ( x)  0
                    
                 x 1                                        ข. f เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x = 2
                                                                               ั
           ง. lim f ( x) 
               x 1
                             f (1)                           ค. f เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x= 3
                                                                                 ั
            2
                 4x  3                                     ง. f เป็ นฟังก์ชนที่มี lim f ( x)
                                                                             ั
3. lim x                 เท่ากับเท่าใด
                x 1
                                                                                    x4
   x 2

           ก. –7                                   8. f จะต่อเนื่องที่จุด x = a ก็ต่อเมื่อ
           ข. –5                                       1. f(a) หาค่าได้
           ค. –1                                       2. lim f ( x) หาค่าได้
                                                           xa

           ง. 7                                         3. f(a) =    lim f ( x)
                                                                     xa

            4
            2
                                                                       x 2 , x  1
4. lim x       เท่ากับเท่าใด                       กาหนด      f ( x)                f ไม่ต่อเนื่องที่
   x 2    x2                                                         2, x  1
           ก. x-2                                  x = 1เนื่องจากขาดสมบัติขอใด
                                                                           ้
           ข. 0                                              ก. 1
           ค. 2                                              ข. 2
           ง. 4                                              ค. 3
            x4 2
5. lim
   x 0
                   เท่ากับเท่าใด                             ง. ข้อ 1,2
              x
             1
ก.
             4
             1
ข.
             6
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

1.   ง
2.   ค
3.   ก
4.   ง
5.   ก
6.   ค
7.   ข
8.   ค

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1Nattarinthon Soysuwan
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส Kikkokz K
 
Math m3 [compatibility mode]
Math m3 [compatibility mode]Math m3 [compatibility mode]
Math m3 [compatibility mode]Laongphan Phan
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 

Was ist angesagt? (19)

60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
แผนการสอน 32102 สัปดาห์ 1
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
 
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 
Math m3 [compatibility mode]
Math m3 [compatibility mode]Math m3 [compatibility mode]
Math m3 [compatibility mode]
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt
01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt
01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt
 
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 

Ähnlich wie Limit

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 

Ähnlich wie Limit (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 

Mehr von Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

Mehr von Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Limit

  • 1. เรื่ อง ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชน ั รายวิชาคณิ ตศาสตร์ จัดทาโดย นายนรินทร์ โชติ บุณยนันท์ สิริ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนหนองแวงวิทยาคม อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุ รินทร์ สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ้ ่
  • 2. คานา บทเรี ยนสาเร็ จรู ปชุดลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชนชุดนี้ ได้จดทาขึ้นเพื่อใช้เป็ นสื่ อการ ั ั เรี ยนการสอนซ่อมเสริ มประกอบการแก้ไขปั ญหาการเรี ยนรู ้เกี่ยวลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชน ั ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 บทเรี ยนสาเร็ จรู ปชุดนี้มีเนื้อหาและวิธีการเรี ยนรู ้ที่เป็ นระบบ โดย เรี ยนรู ้จากง่ายไปยาก นักเรี ยนจะค้นพบความรู ้ดวยตนเอง และเกิดทักษะในการแก้ปัญหาได้อย่าง ้ ถูกต้อง และมีประสิ ทธิภาพ บทเรี ยนสาเร็ จรู ปชุดนี้ มีท้ งหมด 2 กรอบ มีเนื้อหาครอบตามหลักสู ตรตามกลุ่มสาระการ ั เรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ผูจดทาหวังเป็ นอย่างยิงว่า บทเรี ยนสาเร็ จรู ปชุดลิมิตและ ้ั ่ ความต่อเนื่องของฟังก์ชน จะเป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ ช่วยแบ่งเบาภาระครู ผสอน ั ู้ สามารถใช้เป็ นเครื่ องนาทางให้นกเรี ยนได้ประสบผลสาเร็ จ มีทกษะการเรี ยนรู้ในเรื่ องของลิมิตและ ั ั ความต่อเนื่องของฟังก์ชนอย่างมีคุณภาพ หากมีขอผิดพลาดประการใด ต้องกราบขออภัยมา ณ ที่น้ ี ั ้ ด้วย
  • 3. สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข คาชี้แจง 1 คาแนะนาสาหรับครู 2 คาแนะนาสาหรับนักเรี ยน 3 แบบทดสอบก่อนเรี ยน 4 ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชน ั กรอบที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชน 7 ั กรอบที่ 2 ความต่อเนื่องของฟังก์ชน 16 ั แบบทดสอบหลังเรี ยน 20 บรรณานุกรม 22
  • 4. คาชี้แจง บทเรี ยนสาเร็ จรู ปชุดลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชนเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็ นสื่ อการ ั เรี ยนการสอนซ่อมเสริ มประกอบการแก้ไขปั ญหาการเรี ยนรู ้เกี่ยวลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชน ั ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ซึ่ งบทเรี ยนสาเร็ จรู ปที่จดทาขึ้นนี้ได้กาหนดเนื้อหาและ ั วัตถุประสงค์ตามหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ผูเ้ รี ยนสามารถศึกษาเนื้อหา และ ประเมินผลการเรี ยนรู ้ได้ดวยตนเอง ตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ ซึ่ งมีการเสริ มแรงแก่ผเู ้ รี ยนเป็ นระยะๆ ้ โดยการเฉลยคาตอบให้ทนที เนื้อหาการเรี ยนรู ้แบ่งเป็ นตอนย่อยๆ เสนอเนื้อหาทีละน้อย มีคาถาม ั ให้ผเู ้ รี ยนคิดทากิจกรรมหรื อตอบแล้วเฉลยคาตอบให้ทนที ผูเ้ รี ยนจะสามารถรับรู ้ได้ดวยตนเองตาม ั ้ ความสามารถแต่ละบุคคล
  • 5. คาแนะนาสาหรับครู 1. ครู ควรศึกษาเนื้อหา และจุดประสงค์ของหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เรื่ อง ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชน ให้ละเอียดครบถ้วน ั 2. ครู แนะนาให้นกเรี ยนศึกษาเนื้อหาของบทเรี ยนสาเร็ จรู ปด้วยตนเอง และทาแบบทดสอบ ั ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน 3. บทเรี ยนสาเร็ จรู ปเล่มนี้ ครู สามารถนาไปใช้สอนซ่อมเสริ มกับ 3.1 นักเรี ยนที่เรี ยนรู้ชา ้ 3.2 นักเรี ยนที่เรี ยนช้า กรณี หยุดเรี ยน หรื อย้ายมาเรี ยนใหม่ระหว่างภาคเรี ยน 3.3 ใช้สอนเสริ มกับนักเรี ยนที่ตองการค้นคว้าหาความรู ้เพิ่มเติมจากบทเรี ยน ้
  • 6. คาแนะนาสาหรับนักเรียน 1. บทเรี ยนสาเร็ จรู ปชุดลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชนเล่มนี้ นักเรี ยนสามารถเรี ยนด้วย ั ตนเองตามความสามารถ มีกิจกรรมให้นกเรี ยนทา มีท้ งคาอธิ บาย ตัวอย่าง แบบฝึ กหัด และคาตอบ ั ั พร้อมทั้งบทสรุ ป 2. นักเรี ยนควรทาความเข้าใจก่อนว่า บทเรี ยนสาเร็ จรู ปนี้ไม่ใช่การทดสอบ แต่มุ่งให้ นักเรี ยนเรี ยนรู้ดวยตนเองตามความสามารถ ้ 3. นักเรี ยนควรมีสมาธิ และความซื่ อสัตย์ต่อตนเอง ในขณะศึกษาบทเรี ยน และปฏิบติ ั กิจกรรมไม่เปิ ดดูเฉลยก่อน โดยการเตรี ยมแถบกระดาษไว้สาหรับปิ ดเฉลยคาตอบก่อน หากเฉลย ่ คาตอบนั้นอยูในกรอบเดียวกันกับแบบฝึ กหัด จนกว่านักเรี ยนจะทาแบบฝึ กหัดเสร็ จแล้ว จึงค่อย เปิ ดดูเฉลยคาตอบ 4. ขอให้นกเรี ยนทาแบบฝึ กหัดด้วยความมันใจ ถ้าทาไม่ได้หรื อสงสัยก็พยายามดูบทเรี ยนที่ ั ่ ั ผ่านมา และคาตอบของนักเรี ยนสามารถตรวจดูกบเฉลยคาตอบได้ทนทีหลักจากนักเรี ยนทา ั กิจกรรมหรื อทาแบบฝึ กหัดเสร็ จแล้ว 5. ก่อนที่นกเรี ยนจะศึกษาบทเรี ยนสาเร็ จรู ป ควรทาแบบฝึ กหัด หรื อแบบทดสอบก่อนเรี ยน ั และทาแบบฝึ กหัดหรื อแบบทดสอบหลังเรี ยน เมื่อนักเรี ยนศึกษาเนื้อหาจบแล้วพร้อมตรวจคาตอบ กับเฉลย เพื่อทราบความก้าวหน้าของนักเรี ยน 6. เมื่อนักเรี ยนได้ศึกษา และทราบผลความก้าวหน้าของตนเองแล้ว ให้เก็บเอกสารหรื อ สิ่ งของต่าง ๆ ที่นามาใช้ในการเรี ยนให้เรี ยบร้อย เพื่อพร้อมที่ผอื่นจะนาไปศึกษาได้ต่อไป ู้
  • 7. แบบทดสอบก่อนเรียน คาชี้แจง ให้นกเรี ยนทาเครื่ องหมาย x ในกระดาษคาตอบหน้าข้อ ก,ข,ค, และ ง ที่ถูกต้อง ั x2 , x  2 ค. 1 1. ถ้า f ( x)   แล้ว 2  x, x  2 8 lim f ( x) มีค่าเท่าใด ง. 1 x2 2 10 ก. 0 x2  9 6. lim 2 x 3 x  2 x  3 เท่ากับเท่าใด ข. 1 ก. 0 ค. 2 ข. 1 ง. 4 ค. 2 x  1, x  1 2. ถ้า f ( x)    แล้วข้อต่อไปนี้ ง. 3 2, x  1 ข้อใดไม่ถูกต้อง 7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เมื่อกาหนด 3x, x  2 ก. f (1)  2 f ( x)   2 x  3, x  2 ข. xlim f ( x)  2 1  ก. lim f ( x)  6 x 2 ค. lim f ( x)  0  x 1 ข. f เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x = 2 ั ง. lim f ( x)  x 1 f (1) ค. f เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x= 3 ั 2  4x  3 ง. f เป็ นฟังก์ชนที่มี lim f ( x) ั 3. lim x เท่ากับเท่าใด x 1 x4 x 2 ก. –7 8. f จะต่อเนื่องที่จุด x = a ก็ต่อเมื่อ ข. –5 1. f(a) หาค่าได้ ค. –1 2. lim f ( x) หาค่าได้ xa ง. 7 3. f(a) = lim f ( x) xa 4 2 x 2 , x  1 4. lim x เท่ากับเท่าใด กาหนด f ( x)   f ไม่ต่อเนื่องที่ x 2 x2 2, x  1 ก. x-2 x = 1เนื่องจากขาดสมบัติขอใด ้ ข. 0 ก. 1 ค. 2 ข. 2 ง. 4 ค. 3 x4 2 5. lim x 0 เท่ากับเท่าใด ง. ข้อ 1,2 x 1 ก. 4 1 ข. 6
  • 8. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ง 2. ค 3. ก 4. ง 5. ก 6. ค 7. ข 8. ค
  • 9. สวัสดีครับน้อง ๆ พี่ตนหอมมีเรื่ องมาฝากให้นองชั้น ม.6 ทุกคน ้ ้ พี่รู้มาว่าตอนนี้นอง ๆ กาลังเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ้ ั ่ เรื่ อง ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชน อยูใช่ไหม ถ้างันตามพี่ตนหอมมาเลย ้
  • 10. กรอบที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน ถ้า a และ L เป็ นจานวนจริ ง โดยที่ y = f(x) ซึ่งมีโดเมน และเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริ งมีค่าเข้าใกล้หรื อเท่ากับ L ในขณะ ที่ x มีค่าเข้าใกล้ a ใด ๆ แล้วจะกล่าวว่า f(x) มีลิมิตเท่ากับ L ในขณะที่ x เข้าใกล้ a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ lim f ( x)  L x a การพิจารณาว่า x เข้าใกล้ a ใด ๆ จะพิจารณา 2 กรณี คือ เมื่อ x เข้าใกล้ a โดยที่ x < a ซึ่ งจะเรี ยกว่า x เข้าใกล้ a ทางซ้าย เขียนแทน ด้วยสัญลักษณ์ xa- และพิจารณาเมื่อ x เข้าใกล้ a โดยที่ x > a ซึ่งจะ เรี ยกว่า x เข้าใกล้ a ทางด้านขวา เขียนแทนด้วย xa+ น้อง ๆ ครับ ดังนั้น ลิมิตของฟังก์ชน f(x) เมื่อ xa จะหาค่าได้เมื่อ ั 1. lim f ( x) หาค่าได้ x a  2. lim f ( x) หาค่าได้ x a  3. lim f ( x) = lim f ( x) x a  x a
  • 11. น้ อง ๆ ลงดูตัวอย่ างนีนะครับจะได้ เข้ าใจมากขึน ้ ้ ตัวอย่าง จงพิจารณาฟังก์ชน f(x) = x+5 ขณะที่ x เข้าใกล้ 2 โดยเติมค่า f(x) ั ลงในตาราง x<2 x>2 x f(x) x f(x) 1.5 6.5 2.5 7.5 1.9 6.9 2.1 7.1 1.95 6.95 2.05 7.05 1.99 6.99 2.01 7.01 1.995 6.995 2.005 7.005 1.999 6.999 2.001 7.001 lim f ( x) x 2  = 7 lim f ( x) x 2  = 7 lim f ( x) x2 = 7 เป็ นอย่างไรบ้างครับน้อง ๆ คราวนี้ลองทา แบบฝึ กหัดเองบ้างนะครับ
  • 12. แบบฝึ กหัด ให้นกเรี ยนพิจารณาฟังก์ชน f(x) = 2x – 1 ขณะที่ x เข้าใกล้ 3 โดยเติมค่า f(x) ลงในตาราง ั ั x<3 x>3 x f(x) x f(x) 2.5 3.5 2.9 3.1 2.95 3.05 2.99 3.01 2.995 3.005 2.999 3.001 lim f ( x) x 2  = …………….. lim f ( x) x 2  = …………….. lim f ( x) x2 = ……………..
  • 13. เฉลยแบบฝึ กหัด x<3 x>3 x f(x) x f(x) 2.5 4 3.5 6 2.9 4.8 3.1 5.2 2.95 4.9 3.05 5.1 2.99 4.98 3.01 5.02 2.995 4.99 3.005 5.01 2.999 4.998 3.001 5.002 lim f ( x) x 3 = 3 lim f ( x) x 3 = 3 lim f ( x) x3 = 3
  • 14. ่ เป็ นอย่างไรบ้างครับน้อง ๆ วิธีการหาลิมิตดังกล่าวค่อนข้างที่จะยุงยากใช่ไหม ละ คราวนี้พี่ตนหอม มีวธีการง่ายกว่าเดิมโดยการใช้ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต ้ ิ ช่วยในการหาคาตอบ ทฤษฎีบท เมื่อ a, L และ M เป็ นจานวนจริ งใด ๆ ถ้า f และ g เป็ นฟังก์ชนที่มีโดเมน ั และเรนจ์เป็ นสับเซตของเซตของจานวนจริ ง โดยที่ lim f ( x)  L และ lim g ( x)  M x a x a แล้ว 1. lim c  c x a เมื่อ c เป็ นค่าคงตัวใด ๆ 2. lim x  a x a 3. lim x n  a n , n  I  x a 4. lim cf ( x)  c lim f ( x)  cL, c เป็ นค่าคงตัวใด ๆ x a x a 5. lim[ f ( x)  g ( x)]  lim f ( x)  lim g ( x)  L  M x a x a x a 6. lim[ f ( x)  g ( x)]  lim f ( x)  lim g ( x)  L  M x a x a x a 7. lim[ f ( x).g ( x)]  lim f ( x). lim g ( x)  L.M x a x a x a lim f ( x) 8. lim  f ( x)   x a   x a  L ,M  0  g ( x)  lim g ( x) x a M 9. lim[ f ( x)] x a n  [lim f ( x)]n  Ln , n  I  x a 10. lim n x a f ( x)  n lim f ( x)  n L , n  I   {1} และ n L R x a
  • 15. ตัวอย่างที่ 1 จงหา lim ( x 2  2 x  4) x 3 วิธีทา โดยทฤษฎีบท จะได้ lim ( x 2  2 x  4) x 3 = lim x 2  lim 2 x  lim 4 x 3 x 3 x 3 2 = 3 + 2( lim x)  4 x 3 = 9 + (2)(3) – 4 = 11 x 2  9x  8 ตัวอย่างที่ 2 จงหา lim x 3 x8 วิธีทา โดยทฤษฎีบท จะได้ x 2  9x  8 lim ( x 2  9 x  8) lim = x 3 x 3 x8 lim ( x  8) x 3 lim x  9 lim x  lim 8 2 = x 3 x 3 x 3 lim x  lim 8 x 3 x 3 3  (9)(3)  8 2 = 38 44 = 11 = 4 x 2  25 ตัวอย่างที่ 3 จงหา lim x  5 x  5 x 2  25 ( x  5)( x  5) วิธีทา เนื่องจาก = x5 ( x  5) = x 5 x  25 2 ดังนั้น lim = lim ( x  5) x  5 x5 x 5 = -5 + 5 = 0 x 2  25 ข้ อสั งเกต การหาลิมิตของฟังก์ชน f(x) = ั ที่ x = -5 ไม่สามารถใช้ทฤษฎีบท โดยตรง x5 ได้เพราะ จะอยูในรู ป 0 ดังนั้นเมื่อต้องการหาลิมิตของฟังก์ชน f(x) = x  25 ที่ x = -5 จึงหาลิมิต 2 ่ ั 0 x5 ของฟังก์ชน f(x) = x + 5 ที่ –5 แทน ั
  • 16. x4 2 ตัวอย่างที่ 4 จงหาลิมิต lim x 0 x วิธีทา จากฟังก์ชนที่กาหนดให้จะเห็นว่าไม่สามารถใช้ทฤษฎีบท หาค่าลิมิตของฟังก์ชน ั ั ได้โดยตรง จึงจะจัดรู ปของฟังก์ชนใหม่ดงนี้ ั ั x4 2 x4 2 x42 เนื่องจาก =  x x x42 ( x  4)  2 2 2 = x( x  4  2) x44 = x( x  4  2) 1 = เมื่อ x0 x42 x4 2 1 จะได้ lim = lim x 0 x x 0 x42 1 = 4 น้องดูตวอย่างแล้วเป็ นอย่างไรกัน ั บ้าง เพื่อความเข้าใจให้ดียงขึ้นนะ ิ่ ครับ อย่าลืมทาแบบฝึ กหัดทดสอบ ความเข้าใจของตนเองนะครับ
  • 17. แบบฝึ กหัดที่ 2 จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้ ถ้าลิมิตหาค่าได้ 1. lim x 4 x2  x  5 2. lim( x 2  2 x  9) x 3 x 2  25 3. lim x 5 x  5 x4 4. lim x 4 x 2  16 t 9 5. lim t 9 t 3 5x  9  3 6. lim x 0 x
  • 18. เฉลยแบบฝึ กหัดที่ 2 1. 5 2. 12 3. 10 1 4. 8 5. 6 5 6. 6
  • 19. กรอบที่ 2 ความต่ อเนื่องของฟังก์ชัน คราวนี้พ่ตนหอมจะพาน้อง ๆ มา ี ้ รู ้จกความต่อเนื่องของฟังก์ชน น้อง ๆ ตาม ั ั พี่ตนหอมมาเลยครับจะได้รู้จกลักษณะ ้ ั และวิธีการตรวจสอบความต่อเนื่องของ ฟังก์ชน ั บทนิยาม ให้ a เป็ นจานวนจริ งใด ๆ ฟังก์ชน f เป็ นฟังก์ชน ั ั ต่อเนื่องที่ x = a เมื่อฟังก์ชน f มีสมบัติต่อไปนี้ ั 1. f(a) หาค่าได้ 2. lim f ( x) หาค่าได้ xa 3. lim f ( x) = f(a) xa ตามพี่ตนหอมมานะครับ ้ ดูตรวจอย่างการตรวจสอบฟังก์ชน ั ว่าฟังก์ชนใดมีความต่อเนื่องหรื อไม่ ั
  • 20. ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ f(x) = 3x – 1 จงพิจารณาว่าฟังก์ชน f เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x = 0 ั ั หรื อไม่ วิธีทา จาก f(x) = 3x – 1 จะได้ f(0) = -1 และ lim f ( x) = x0 lim (3x  1) x 0 = 3(0) – 1 = -1 นันคือ lim f ( x) = ่ x0 f(0) ดังนั้น ฟังก์ชน f(x) = 3x – 1 เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x = 0 ั ั  x  1, x  3 ตัวอย่างที่ 6 กาหนดให้ f ( x)   3x  7, x  3 จงพิจารณาว่าฟังก์ชน f เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x = 3 หรื อไม่ ั ั  x  1, x  3 วิธีทา จาก f ( x)   3x  7, x  3 และ x =3 จะได้ f(x) = x–1 ดังนั้น f(3) = 2 การหา lim f ( x) จากบทนิยามของลิมิต ดังนั้นจะต้องหา xlim x3 3  f ( x) และ lim f ( x) x 3 จะได้ lim f ( x) x 3 = lim ( x  1) x 3 = 2 lim f ( x) x 3 = lim (3x  7) x 3 = 2 นันคือ lim f ( x) ่ x3 = f(3)  x  1, x  3 ดังนั้น ฟังก์ชน ั f ( x)   เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x = 3 ั 3x  7, x  3
  • 21. พี่ตนหอมมีแบบฝึ กหัดมาให้นอง ๆ ้ ้ ลองทาเพื่อทดสอบ ความรู ้ความเข้าใจของน้อง ๆ ว่ามี มากแค่ไหน ตามมาเลยครับ แบบฝึ กหัดที่ 3 ั ่ จงพิจารณาว่าฟังก์ชนที่กาหนดให้ตอไปนี้เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่อง ณ จุดที่กาหนดให้หรื อไม่ ั 1. f(x) = 3x2 – 5 เมื่อ x=0 x3 2. f(x) = เมื่อ x = 3 x2  9 3  x, x  0 3. f(x) =   เมื่อ x = 0 3x  2,  0 2 x  3, x  4  4. f ( x)   16 เมื่อ x = 4 7  x , x  4 
  • 22. เฉลยแบบฝึ กหัดที่ 3 1. ต่อเนื่อง 2. ไม่ต่อเนื่อง 3. ไม่ต่อเนื่อง 4. ไม่ต่อเนื่อง
  • 23. แบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง ให้นกเรี ยนทาเครื่ องหมาย x ในกระดาษคาตอบหน้าข้อ ก,ข,ค, และ ง ที่ถูกต้อง ั x2 , x  2 ค. 1 1. ถ้า f ( x)   แล้ว 2  x, x  2 8 lim f ( x) มีค่าเท่าใด ง. 1 x2 2 10 ก. 0 x2  9 6. lim 2 x 3 x  2 x  3 เท่ากับเท่าใด ข. 1 ก. 0 ค. 2 ข. 1 ง. 4 ค. 2 x  1, x  1 2. ถ้า f ( x)    แล้วข้อต่อไปนี้ ง. 3 2, x  1 ข้อใดไม่ถูกต้อง 7. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เมื่อกาหนด 3x, x  2 ก. f (1)  2 f ( x)   2 x  3, x  2 ข. xlim f ( x)  2 1  ก. lim f ( x)  6 x 2 ค. lim f ( x)  0  x 1 ข. f เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x = 2 ั ง. lim f ( x)  x 1 f (1) ค. f เป็ นฟังก์ชนต่อเนื่องที่ x= 3 ั 2  4x  3 ง. f เป็ นฟังก์ชนที่มี lim f ( x) ั 3. lim x เท่ากับเท่าใด x 1 x4 x 2 ก. –7 8. f จะต่อเนื่องที่จุด x = a ก็ต่อเมื่อ ข. –5 1. f(a) หาค่าได้ ค. –1 2. lim f ( x) หาค่าได้ xa ง. 7 3. f(a) = lim f ( x) xa 4 2 x 2 , x  1 4. lim x เท่ากับเท่าใด กาหนด f ( x)   f ไม่ต่อเนื่องที่ x 2 x2 2, x  1 ก. x-2 x = 1เนื่องจากขาดสมบัติขอใด ้ ข. 0 ก. 1 ค. 2 ข. 2 ง. 4 ค. 3 x4 2 5. lim x 0 เท่ากับเท่าใด ง. ข้อ 1,2 x 1 ก. 4 1 ข. 6
  • 24. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 1. ง 2. ค 3. ก 4. ง 5. ก 6. ค 7. ข 8. ค