SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1 
บทสังเคราะห์จากงานวิจัย เรื่อง 
ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต 
รศ, วงหทัย ตันชีวะวงศ์ 
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายผ่านเครื่องมือสื่อสารแบบ พกพา (Wireless communication through portable devices) ได้แก่ สมาร์ทโฟน และสมาร์ทแท็บเล็ต มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว และได้รับความนิยมมาก เพราะเป็นการสื่อสารแบบจอสัมผัส (Touch-screen media) ทำให้พกพาสะดวก ใช้งานง่าย ผู้ใช้ไม่ ต้องแบกนํ้าหนักของเครื่องมือสื่อสารเหมือนเดิม เมื่อมีเทคโนโลยี สื่อสารไร้สายความเร็วสูงรองรับก็ยิ่งทำให้ผู้ใช้สามารถสื่อสารได้ทุก ที่ทุกเวลา และในหลายๆโอกาสมากยิ่งขึ้น 
ประเภทของโมบายแอพพลิเคชั่น (Mobile application) ที่มีมากมายบน สมาร์ทโฟน และสมาร์ทแท็บเล็ต ยิ่งทำให้ผู้ใช้สามารถทำการสื่อสารไร้สายรูปแบบต่างๆได้คล่องตัวยิ่งขึ้น เช่น ผู้ใช้สามารถส่งอีเมล์ ค้นหาสถานที่ ถ่ายรูป เล่นเกม ดูดวง ตรวจการจราจร และพูดคุยใน เครือข่ายสังคมออนไลน์ สลับกลับไปมาได้อย่างรวดเร็ว ปรากฎการณ์การใช้เทคโนโลยีการ สื่อสารไร้สายผ่านเครื่องมือสื่อสารแบบพกพาเหล่านี้เป็นที่มาของการวิจัยถึง ปัจจัยที่มีผลต่อการ ใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต 
สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตเป็นเครื่องมือสื่อสาร ของคนทุกๆ วัย ทุกสถานะทางสังคมและเศรษฐกิจ ทุกระดับการศึกษาและ อาชีพ แต่ผู้ใช้ส่วนใหญ่ยังเป็นคนรุ่นใหม่ช่วงวัยรุ่น วัยกำลัง ศึกษาเล่าเรียนและวัยทำงานตอนต้น ศึกษาในระดับอุดมศึกษา และปริญญาตรี ผลวิจัยพบว่า การใช้สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตไม่ สัมพันธ์กับสถานะภาพทางเศรษฐกิจของผู้ใช้ ถึงแม้จะมียี่ห้อ สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตที่ราคาถูกให้เลือกซื้อใช้งาน แต่กลับนิยม ใช้เครื่องมือสื่อสารราคาแพงอย่างแอ็บเปิ้ลและซัมซุง 
จากการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและ แท็บเล็ต ผู้ใช้แอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตส่วนใหญ่สามารถระบุชื่อแอพพลิเคชั่นที่
2 
ใช้เปิดรับข้อมูลเป็นประจำได้ ประเภทแอพพลิเคชั่นที่นิยมใช้ คือ แอพพลิเคชั่นเพื่อการสื่อสารใน สังคมแบบออนไลน์ (Social networking / Social media) ะใช้แอพพลิเคชั่นของสื่อมวลชนเพื่อ เปิดรับข้อมูลข่าวสารมากเป็นอันดับที่สอง และใช้โมบายเว็บบราวเซอร์เพื่อเข้าเครือข่าย อินเทอร์เน็ต เป็นอันดับที่สาม เมื่อดูผลวิจัยทั้งรายชื่อแอพพลิเคชั่นที่เปิดรับมากที่สุด ประกอบกับ ความถี่ในการใช้แอพพลิเคชั่นประเภทต่างๆ พบว่า มีผู้ใช้นิยมใช้แอพพลิเคชั่นของสื่อมวลชน หลายประเภท หนังสือพิมพ์ สถานีโทรทัศน์ และ นิตยสาร ทั้งสื่อไทยและสื่อต่างประเทศเช่น ไทยรัฐ ครอบครัวข่าว Thai TV3 บางกอกโพสต์ Thai PBA BBC และ Bloomberg และมีผู้นิยม ใช้แอพพลิเคชั่นประเภทรวมรายการข่าวสารของสื่อมวลชนที่ผู้ใช้ฯ สามารถดูรายการโทรทัศน์ ละคร ข่าวและรายการวาไรตี้ต่างๆ ได้มากกว่า 1 สถานี หรือ ดูรายการประเภทต่างๆได้ใน แอพพลิเคชั่นเดียว เช่น TV Thailand Thai radio Thai news และ News 360 ฯลฯ 
ผลการวิจัยชี้ให้เห็น แนวโน้มของพฤติกรรม การเปิดรับข้อมูลข่าวสารแบบไร้สายผ่านเครื่องมือ สื่อสารแบบจอสัมผัสจะมีเพิ่มมากขึ้นและอาจจะ มากกว่าการเปิดรับผ่านสื่อมวลชนเดิม โดยเป็นการ เปิดรับข้อมูลข่าวสารแบบเคลื่อนที่ เปิดรับได้ทุกที่ทุก เวลาจากหลายๆแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บ เล็ต 
โมบายแอพพลิเคชั่นมีคุณลักษณะของสื่อใหม่ตามที่มาร์ติน ลีสเตอร์ เดนนิส แมคเควล และเฮนรี่ เจนกินส์ ระบุไว้ และตั้งข้อสังเกตว่า การใช้แอพพลิเคชั่นเพื่อแบ่งปัน (Sharing) ซึ่ง หมายถึงการให้หรือการส่งข้อมูลรูปแบบต่างๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และ ข้อความ ฯลฯ ต่อไปให้กับผู้อื่นนั้น นอกจากจะเป็นประโยชน์กับตัวผู้ใช้งานแอพพลิเคชั่นเองแล้ว ยังเป็น ประโยชน์กับผู้ประกอบการเจ้าของแอพพลิเคชั่นในแง่ธุรกิจด้วย
3 
ความสามารถของแอพพลิเคชั่นเป็นปัจจัยสำคัญต่อ การใช้เพื่อสื่อสาร แม้ว่า ผู้ใช้ฯแม้มีภูมิหลังทาง ประชากรต่างกันแต่มีความตั้งใจจะใช้แอพพลิเคชั่น เพื่อการสื่อสารในอนาคตไม่ต่างกัน เพราะ แอพพลิเคชั่นถูกสร้างขึ้นมาเพื่อตอบสนองการใช้ งานของผู้ใช้จำนวนมากเป็นหลัก และมีมากมาย หลายประเภท 
สำหรับผู้ใช้ แม้ว่าจะมีความแตกต่างกันทางลักษณะประชากร เช่น เพื่อการปฎิ สัมพันธ์ทางสังคม เพื่อเปิดรับข้อมูลข่าวสาร เพื่อความสนุกเพลิดเพลิน ฯลฯ นอกจากนี้ยังอธิบาย ได้ว่าบางแอพพลิเคชั่นพัฒนามาจากเว็บไซต์ หรือสื่อ ซึ่งมีผู้เปิดรับข้อมูลข่าวสารเป็นประจำเป็น จำนวนมากอยู่แล้ว บางเว็บไซต์และบางสื่อเมื่อพัฒนาต่อมาเป็นโมบายแอพพลิเคชั่น จึงมีผู้นิยม ใช้เป็นจำนวนมากเช่นกัน 
แม้การวิจัยจะยังไม่ได้ผลที่ชัดเจนว่า การใช้โมบายแอพพลิเคชั่นจะได้รับความนิยม มากกว่า การใช้ World Wide Web เพื่อการค้นหา/เปิดรับข้อมูลข่าวสาร หรือไม่ พฤติกรรมการ ค้นหาข้อมูลผ่านplatform แบบWorld Wide Web และ platform แบบ applicationบนสื่อแบบ จอสัมผัส ก็เป็นสิ่งที่น่าติดตามศึกษาว่าจะพัฒนาไปในทิศทางใด และ โมบายแอพพลิเคชั่นจะยัง เป็น Platform ที่นิยมใช้ในการสื่อสารแบบไร้สายและเคลื่อนที่ได้ ไปอีกนานไช่หรือไม่ 
...................................................................................................................................
4 
บรรณานุกรม 
ตำรา 
1. McQuail, Denis. McQuail’s Mass Communication Theory, 6th ed., ( London : Sage, 2010) 
2. Lister, Martin. New Media in Everyday Life, New Media: A Critical Introduction, (London :Routledgeg , 2003) 
3. พิสณุ ฟองศรี. (2549). เทคนิควิธีประเมินโครงการ. สุราษฎร์ธานี : พิมพ์งาม. 
วารสารวิชาการ 
1. Davis, Fred. Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance of Information Technology, MIS Quartery, September, 1989, (Accessed: August 8, 2012) 
2. Davis, Fred. User acceptance of information technology: system characteristics, user perceptions and behavioral impacts, International Journal of Machine Studies, 38 (3), 475-487 , (1993) (Accessed : August 8, 2012) 
ผลงานวิจัยจากอินเทอร์เน็ต 
1. Theories use in IS Research , Unified Theory of Acceptance and Use of Technology, Last updated September 30, 2005, http://www.istheory.yorku.ca/UTAUT.htm 
2. Long, .Li "A Critical Review of Technology Acceptance Literature." Retrieved April 19 (2010): 2011., also in www.swdsi.org/swdsi2010/SW2010_Preceedings/papers/PA104.pdf , (Access dates February 17, 2013) 
ผลงานวิจัย 
1. วงหทัย ตันชีวะวงศ์ , การปฏิสัมพันธ์ทางสังคมผ่านสื่อดิจิตอลของคนวัยทำงานในเขต กรุงเทพมหานคร ศึกษาเฉพาะ อินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์เคลื่อนที่, 2549
5 
ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต 
3. “ Internet users in Asia 2012 Q2,” Last modified January 17, 2013, Retrieved from : http://www.internetworldstats.com/stats3.htm#asia 
4. “The World in 2011 : ICT Facts and Figures,” Retrieved from: http://www.itu.int/ITU- D/ict/facts/2011/material/ICTFactsFigures2011.pdf , ( Accessed : August 28, 2012) 
5. The Horizon Report, 2011, p. 12 , Retrieved from : http://www.nmc.org/pdf/2011- Horizon-Report.pdf , ( Accessed : August 28, 2012) 
6. “In-Flight Wi-Fi & Technology,” Retrieved from : http://www.delta.com/traveling_checkin/inflight_services/products/wi-fi.jsp (Accessed : August 28, 2012) 
7. “iPhone nano จะไม่มีพื้นที่เก็บข้อมูล, ใช้ระบบCloud-based เป็นหลัก!?,” Retrieved from: http://www.imaicafe.com/2011/02/15/iphone-nano-to-eliminate-storage-and- clond-based-content/ 
8. Computer Industry Almanac-Press Release ,“ Worldwide Tablet Sales Will Reach Nearly 36% of Total PC Sales in 2015,” Last modified :January 4, 2012 , Retrieved from : http://www.c-i-a.com/pr012012.htm , ( Accessed : August 3, 2012) 
9. Gartner Survey Highlights Top Five Daily Activities on Mobile Tablet, July 3, 2012 , Retrieved from : http://www.gartner.com/it/page.jsp?id=2070515 , (Access date: August 3, 2012) 
10. Global mobile statistics 2012 Part A: Mobile subscribers; handset market share; mobile operators, December 2012, Retrieved from : http://mobithinking.com/mobile-marketing-tools/latest-mobile-stats/ 
11. Gartner Says Worldwide Smartphone Sales Soared in Fourth Quarter of 2011 With 47 Percent Growth, February 15, 2012 , http://www.gartner.com/it/page.jsp?id=1924314 , (Access date: August 3, 2012) 
12. ชี้อีก 5 ปี มีผู้ใช้มือถือ 9 พันล้านคน, June 15, 2012, http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=127075:59&catid=123:2009-02-08-11-44-33&Itemid=491 , ( วันที่ค้นข้อมูล :23 กรกฎาคม 2555)
6 
13. แสงวิทย์ เกวลีวงศ์ศธร ,โฆษณาผ่านสื่อใหม่แรง "ตัดสินใจซื้อ" แซงสื่อเก่า , 2 กรกฎาคม 2012, เข้าถึงได้จาก: http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/global/ ( วันที่ ค้นข้อมูล :23 กรกฎาคม 2555) 
14. ดิจิตอล แบรนดิ้ง ตอบโจทย์องค์กร, เข้าถึงได้จาก : http://www.ecommerce- magazine.com/issue/161/May_2012_E-Cover_Digital_Branding 
15. สุชาดา พลาชัยภิรมย์ศิล, “แนวโน้มการใช้โมบายแอพพลิเคชั่น”, วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปีที่31 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม) หน้า 110-111, เข้าถึงได้จาก: 
http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/oct_dec_11/pdf/aw018.pdf, (Accessed : August 2, 2012) 
16. “โปรแกรมประยุกต์สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ ( Mobile Application) สำหรับ 25 ปี เนคเทค,” Last modified : 2011, Retrieved from : http://www.nectec.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=2267:- mobile-application-25-&catid=340:2011-07-02-05-49-13&Itemid=1066 , (Accessed: August 3, 2012) 
17. The Rise of Mobile Application Stores Gateways to the World of Apps , 2010 , p.7 Retrieve from : http://www.booz.com/media/uploads/The_Rise_of_Mobile_Application_Stores.pdf , (Accessed : August 3, 2012) 
18. “The State of Mobile Apps,” Last modified: June 1, 2010, Retrieved form : http://blog.nielsen.com/nielsenwire/online_mobile/the-state-of-mobile-apps, (Accessed : August 3, 2012) 
19. “ Consumers OK With Ads…if the Apps are Free,” Last modified : January9, 2012, Retrieved from:http://blog.nielsen.com/nielsenwire/consumer/consumers-ok-with- ads-if-the-apps-are-free/, (Accessed : August 3, 2012) 
20. “The Rise of Mobile Application Stores Gateways to the World of Apps ,” Last modified: 2010 , p.7 , Retrieved from: http://www.booz.com/media/uploads/The_Rise_of_Mobile_Application_Stores.pdf , 
21. “The Digital Media Habits and Attitudes of Southeast Asian Consumers,” Last modified : October 2011, p. 8, Retrieved from : http://www.nielsen.com/us/en/insights/reports-downloads/2011/south-east-asian- digital-consumer-habits.html, (Accessed : October11, 2012)
7 
22. “Global Online Consumers and Multi-Screen Media : Today and Tomorrow,” Retrieved from : http://www.nielsen.com/us/en/insights/reports- downloads/2012/global-online-consumers-and-multi-screen-media-today-and- tomorr.html , (Accessed : August 3, 2012) 
23. “The Asian media landscape is turning digital, Online survey 2010,” Retrieved form http://www.nielsen.com/us/en/insights/reports-downloads/2012/turning-digital--the- asian-media-landscape.html, (Accessed : October11, 2012) 
24. “ญี่ปุ่นคาดสมาร์ทโฟน-แท็บเล็ตจะกระตุ้นเศรษฐกิจกว่า 7.2 ล้านล้านเยน ,” 17 กรกฎาคม 2555, เข้าถึงได้จาก: http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1342528081&grpid=03&catid=03 , ( วันที่ค้นข้อมูล: 3 สิงหาคม 2555) 
25. “Hong Kong Digital Behavior Insights Report,” Last modified :November 2011, Retrieved from : http://nielsen.com/us/en/insights/reports-downloads/2011/hong- kong-digital-behaviour-insights-report.html , (Accessed : October 11, 2012) 
26. “The Digital Media Habits and Attitudes of Southeast Asian Consumers,” Last modified: October 2011, p. 3 – 4, Retrieved from : http://www.nielsen.com/us/en/insights/reports-downloads/2011/south-east-asian- digital-consumer-habits.html , (Accessed : August 3, 2012) 
27. “The Touchy Freely of Future of Technology,” Retrieved from : http://www.npr.org/2011/12/26/144146395/the-touchy-feely-future-of-technology ( Accessed : December 26,2011) 
28. Bill Buxton, “A Touching Story: A Personal Perspective on the History of Touching Interfaces Past and Future , “ Society of Information Display (SID) Symposium Digest of Technical Paper, May 2010, Volume 41 ( 1) , Session 31 , 444-4 48, Retrieved from : http://www.billbuxton.com/SID10%2031-1.pdf (Accessed : November 14, 2011)

More Related Content

Similar to 3

การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรSoftware Park Thailand
 
Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationPanita Wannapiroon Kmutnb
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
Emerging technologies in teaching and learning edit
Emerging technologies in teaching and learning editEmerging technologies in teaching and learning edit
Emerging technologies in teaching and learning editIsaiah Thuesayom
 
โครงงาน_29
โครงงาน_29โครงงาน_29
โครงงาน_29choyoungjy_97
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย Thanachart Numnonda
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Kanda Runapongsa Saikaew
 

Similar to 3 (20)

Technology Trends 2011
Technology Trends 2011Technology Trends 2011
Technology Trends 2011
 
4
44
4
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
 
5
55
5
 
Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Emerging technologies in teaching and learning edit
Emerging technologies in teaching and learning editEmerging technologies in teaching and learning edit
Emerging technologies in teaching and learning edit
 
13510163
1351016313510163
13510163
 
โครงงาน_29
โครงงาน_29โครงงาน_29
โครงงาน_29
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
11
1111
11
 
0222
02220222
0222
 
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
Mobile Application for Education (โมบายแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา)
 

More from A'anniiz Nuttida (9)

10
1010
10
 
9
99
9
 
8
88
8
 
7
77
7
 
6
66
6
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
1
11
1
 

3

  • 1. 1 บทสังเคราะห์จากงานวิจัย เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต รศ, วงหทัย ตันชีวะวงศ์ เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายผ่านเครื่องมือสื่อสารแบบ พกพา (Wireless communication through portable devices) ได้แก่ สมาร์ทโฟน และสมาร์ทแท็บเล็ต มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว และได้รับความนิยมมาก เพราะเป็นการสื่อสารแบบจอสัมผัส (Touch-screen media) ทำให้พกพาสะดวก ใช้งานง่าย ผู้ใช้ไม่ ต้องแบกนํ้าหนักของเครื่องมือสื่อสารเหมือนเดิม เมื่อมีเทคโนโลยี สื่อสารไร้สายความเร็วสูงรองรับก็ยิ่งทำให้ผู้ใช้สามารถสื่อสารได้ทุก ที่ทุกเวลา และในหลายๆโอกาสมากยิ่งขึ้น ประเภทของโมบายแอพพลิเคชั่น (Mobile application) ที่มีมากมายบน สมาร์ทโฟน และสมาร์ทแท็บเล็ต ยิ่งทำให้ผู้ใช้สามารถทำการสื่อสารไร้สายรูปแบบต่างๆได้คล่องตัวยิ่งขึ้น เช่น ผู้ใช้สามารถส่งอีเมล์ ค้นหาสถานที่ ถ่ายรูป เล่นเกม ดูดวง ตรวจการจราจร และพูดคุยใน เครือข่ายสังคมออนไลน์ สลับกลับไปมาได้อย่างรวดเร็ว ปรากฎการณ์การใช้เทคโนโลยีการ สื่อสารไร้สายผ่านเครื่องมือสื่อสารแบบพกพาเหล่านี้เป็นที่มาของการวิจัยถึง ปัจจัยที่มีผลต่อการ ใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตเป็นเครื่องมือสื่อสาร ของคนทุกๆ วัย ทุกสถานะทางสังคมและเศรษฐกิจ ทุกระดับการศึกษาและ อาชีพ แต่ผู้ใช้ส่วนใหญ่ยังเป็นคนรุ่นใหม่ช่วงวัยรุ่น วัยกำลัง ศึกษาเล่าเรียนและวัยทำงานตอนต้น ศึกษาในระดับอุดมศึกษา และปริญญาตรี ผลวิจัยพบว่า การใช้สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตไม่ สัมพันธ์กับสถานะภาพทางเศรษฐกิจของผู้ใช้ ถึงแม้จะมียี่ห้อ สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตที่ราคาถูกให้เลือกซื้อใช้งาน แต่กลับนิยม ใช้เครื่องมือสื่อสารราคาแพงอย่างแอ็บเปิ้ลและซัมซุง จากการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและ แท็บเล็ต ผู้ใช้แอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตส่วนใหญ่สามารถระบุชื่อแอพพลิเคชั่นที่
  • 2. 2 ใช้เปิดรับข้อมูลเป็นประจำได้ ประเภทแอพพลิเคชั่นที่นิยมใช้ คือ แอพพลิเคชั่นเพื่อการสื่อสารใน สังคมแบบออนไลน์ (Social networking / Social media) ะใช้แอพพลิเคชั่นของสื่อมวลชนเพื่อ เปิดรับข้อมูลข่าวสารมากเป็นอันดับที่สอง และใช้โมบายเว็บบราวเซอร์เพื่อเข้าเครือข่าย อินเทอร์เน็ต เป็นอันดับที่สาม เมื่อดูผลวิจัยทั้งรายชื่อแอพพลิเคชั่นที่เปิดรับมากที่สุด ประกอบกับ ความถี่ในการใช้แอพพลิเคชั่นประเภทต่างๆ พบว่า มีผู้ใช้นิยมใช้แอพพลิเคชั่นของสื่อมวลชน หลายประเภท หนังสือพิมพ์ สถานีโทรทัศน์ และ นิตยสาร ทั้งสื่อไทยและสื่อต่างประเทศเช่น ไทยรัฐ ครอบครัวข่าว Thai TV3 บางกอกโพสต์ Thai PBA BBC และ Bloomberg และมีผู้นิยม ใช้แอพพลิเคชั่นประเภทรวมรายการข่าวสารของสื่อมวลชนที่ผู้ใช้ฯ สามารถดูรายการโทรทัศน์ ละคร ข่าวและรายการวาไรตี้ต่างๆ ได้มากกว่า 1 สถานี หรือ ดูรายการประเภทต่างๆได้ใน แอพพลิเคชั่นเดียว เช่น TV Thailand Thai radio Thai news และ News 360 ฯลฯ ผลการวิจัยชี้ให้เห็น แนวโน้มของพฤติกรรม การเปิดรับข้อมูลข่าวสารแบบไร้สายผ่านเครื่องมือ สื่อสารแบบจอสัมผัสจะมีเพิ่มมากขึ้นและอาจจะ มากกว่าการเปิดรับผ่านสื่อมวลชนเดิม โดยเป็นการ เปิดรับข้อมูลข่าวสารแบบเคลื่อนที่ เปิดรับได้ทุกที่ทุก เวลาจากหลายๆแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บ เล็ต โมบายแอพพลิเคชั่นมีคุณลักษณะของสื่อใหม่ตามที่มาร์ติน ลีสเตอร์ เดนนิส แมคเควล และเฮนรี่ เจนกินส์ ระบุไว้ และตั้งข้อสังเกตว่า การใช้แอพพลิเคชั่นเพื่อแบ่งปัน (Sharing) ซึ่ง หมายถึงการให้หรือการส่งข้อมูลรูปแบบต่างๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และ ข้อความ ฯลฯ ต่อไปให้กับผู้อื่นนั้น นอกจากจะเป็นประโยชน์กับตัวผู้ใช้งานแอพพลิเคชั่นเองแล้ว ยังเป็น ประโยชน์กับผู้ประกอบการเจ้าของแอพพลิเคชั่นในแง่ธุรกิจด้วย
  • 3. 3 ความสามารถของแอพพลิเคชั่นเป็นปัจจัยสำคัญต่อ การใช้เพื่อสื่อสาร แม้ว่า ผู้ใช้ฯแม้มีภูมิหลังทาง ประชากรต่างกันแต่มีความตั้งใจจะใช้แอพพลิเคชั่น เพื่อการสื่อสารในอนาคตไม่ต่างกัน เพราะ แอพพลิเคชั่นถูกสร้างขึ้นมาเพื่อตอบสนองการใช้ งานของผู้ใช้จำนวนมากเป็นหลัก และมีมากมาย หลายประเภท สำหรับผู้ใช้ แม้ว่าจะมีความแตกต่างกันทางลักษณะประชากร เช่น เพื่อการปฎิ สัมพันธ์ทางสังคม เพื่อเปิดรับข้อมูลข่าวสาร เพื่อความสนุกเพลิดเพลิน ฯลฯ นอกจากนี้ยังอธิบาย ได้ว่าบางแอพพลิเคชั่นพัฒนามาจากเว็บไซต์ หรือสื่อ ซึ่งมีผู้เปิดรับข้อมูลข่าวสารเป็นประจำเป็น จำนวนมากอยู่แล้ว บางเว็บไซต์และบางสื่อเมื่อพัฒนาต่อมาเป็นโมบายแอพพลิเคชั่น จึงมีผู้นิยม ใช้เป็นจำนวนมากเช่นกัน แม้การวิจัยจะยังไม่ได้ผลที่ชัดเจนว่า การใช้โมบายแอพพลิเคชั่นจะได้รับความนิยม มากกว่า การใช้ World Wide Web เพื่อการค้นหา/เปิดรับข้อมูลข่าวสาร หรือไม่ พฤติกรรมการ ค้นหาข้อมูลผ่านplatform แบบWorld Wide Web และ platform แบบ applicationบนสื่อแบบ จอสัมผัส ก็เป็นสิ่งที่น่าติดตามศึกษาว่าจะพัฒนาไปในทิศทางใด และ โมบายแอพพลิเคชั่นจะยัง เป็น Platform ที่นิยมใช้ในการสื่อสารแบบไร้สายและเคลื่อนที่ได้ ไปอีกนานไช่หรือไม่ ...................................................................................................................................
  • 4. 4 บรรณานุกรม ตำรา 1. McQuail, Denis. McQuail’s Mass Communication Theory, 6th ed., ( London : Sage, 2010) 2. Lister, Martin. New Media in Everyday Life, New Media: A Critical Introduction, (London :Routledgeg , 2003) 3. พิสณุ ฟองศรี. (2549). เทคนิควิธีประเมินโครงการ. สุราษฎร์ธานี : พิมพ์งาม. วารสารวิชาการ 1. Davis, Fred. Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance of Information Technology, MIS Quartery, September, 1989, (Accessed: August 8, 2012) 2. Davis, Fred. User acceptance of information technology: system characteristics, user perceptions and behavioral impacts, International Journal of Machine Studies, 38 (3), 475-487 , (1993) (Accessed : August 8, 2012) ผลงานวิจัยจากอินเทอร์เน็ต 1. Theories use in IS Research , Unified Theory of Acceptance and Use of Technology, Last updated September 30, 2005, http://www.istheory.yorku.ca/UTAUT.htm 2. Long, .Li "A Critical Review of Technology Acceptance Literature." Retrieved April 19 (2010): 2011., also in www.swdsi.org/swdsi2010/SW2010_Preceedings/papers/PA104.pdf , (Access dates February 17, 2013) ผลงานวิจัย 1. วงหทัย ตันชีวะวงศ์ , การปฏิสัมพันธ์ทางสังคมผ่านสื่อดิจิตอลของคนวัยทำงานในเขต กรุงเทพมหานคร ศึกษาเฉพาะ อินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์เคลื่อนที่, 2549
  • 5. 5 ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต 3. “ Internet users in Asia 2012 Q2,” Last modified January 17, 2013, Retrieved from : http://www.internetworldstats.com/stats3.htm#asia 4. “The World in 2011 : ICT Facts and Figures,” Retrieved from: http://www.itu.int/ITU- D/ict/facts/2011/material/ICTFactsFigures2011.pdf , ( Accessed : August 28, 2012) 5. The Horizon Report, 2011, p. 12 , Retrieved from : http://www.nmc.org/pdf/2011- Horizon-Report.pdf , ( Accessed : August 28, 2012) 6. “In-Flight Wi-Fi & Technology,” Retrieved from : http://www.delta.com/traveling_checkin/inflight_services/products/wi-fi.jsp (Accessed : August 28, 2012) 7. “iPhone nano จะไม่มีพื้นที่เก็บข้อมูล, ใช้ระบบCloud-based เป็นหลัก!?,” Retrieved from: http://www.imaicafe.com/2011/02/15/iphone-nano-to-eliminate-storage-and- clond-based-content/ 8. Computer Industry Almanac-Press Release ,“ Worldwide Tablet Sales Will Reach Nearly 36% of Total PC Sales in 2015,” Last modified :January 4, 2012 , Retrieved from : http://www.c-i-a.com/pr012012.htm , ( Accessed : August 3, 2012) 9. Gartner Survey Highlights Top Five Daily Activities on Mobile Tablet, July 3, 2012 , Retrieved from : http://www.gartner.com/it/page.jsp?id=2070515 , (Access date: August 3, 2012) 10. Global mobile statistics 2012 Part A: Mobile subscribers; handset market share; mobile operators, December 2012, Retrieved from : http://mobithinking.com/mobile-marketing-tools/latest-mobile-stats/ 11. Gartner Says Worldwide Smartphone Sales Soared in Fourth Quarter of 2011 With 47 Percent Growth, February 15, 2012 , http://www.gartner.com/it/page.jsp?id=1924314 , (Access date: August 3, 2012) 12. ชี้อีก 5 ปี มีผู้ใช้มือถือ 9 พันล้านคน, June 15, 2012, http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=127075:59&catid=123:2009-02-08-11-44-33&Itemid=491 , ( วันที่ค้นข้อมูล :23 กรกฎาคม 2555)
  • 6. 6 13. แสงวิทย์ เกวลีวงศ์ศธร ,โฆษณาผ่านสื่อใหม่แรง "ตัดสินใจซื้อ" แซงสื่อเก่า , 2 กรกฎาคม 2012, เข้าถึงได้จาก: http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/it/global/ ( วันที่ ค้นข้อมูล :23 กรกฎาคม 2555) 14. ดิจิตอล แบรนดิ้ง ตอบโจทย์องค์กร, เข้าถึงได้จาก : http://www.ecommerce- magazine.com/issue/161/May_2012_E-Cover_Digital_Branding 15. สุชาดา พลาชัยภิรมย์ศิล, “แนวโน้มการใช้โมบายแอพพลิเคชั่น”, วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปีที่31 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม) หน้า 110-111, เข้าถึงได้จาก: http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/oct_dec_11/pdf/aw018.pdf, (Accessed : August 2, 2012) 16. “โปรแกรมประยุกต์สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ ( Mobile Application) สำหรับ 25 ปี เนคเทค,” Last modified : 2011, Retrieved from : http://www.nectec.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=2267:- mobile-application-25-&catid=340:2011-07-02-05-49-13&Itemid=1066 , (Accessed: August 3, 2012) 17. The Rise of Mobile Application Stores Gateways to the World of Apps , 2010 , p.7 Retrieve from : http://www.booz.com/media/uploads/The_Rise_of_Mobile_Application_Stores.pdf , (Accessed : August 3, 2012) 18. “The State of Mobile Apps,” Last modified: June 1, 2010, Retrieved form : http://blog.nielsen.com/nielsenwire/online_mobile/the-state-of-mobile-apps, (Accessed : August 3, 2012) 19. “ Consumers OK With Ads…if the Apps are Free,” Last modified : January9, 2012, Retrieved from:http://blog.nielsen.com/nielsenwire/consumer/consumers-ok-with- ads-if-the-apps-are-free/, (Accessed : August 3, 2012) 20. “The Rise of Mobile Application Stores Gateways to the World of Apps ,” Last modified: 2010 , p.7 , Retrieved from: http://www.booz.com/media/uploads/The_Rise_of_Mobile_Application_Stores.pdf , 21. “The Digital Media Habits and Attitudes of Southeast Asian Consumers,” Last modified : October 2011, p. 8, Retrieved from : http://www.nielsen.com/us/en/insights/reports-downloads/2011/south-east-asian- digital-consumer-habits.html, (Accessed : October11, 2012)
  • 7. 7 22. “Global Online Consumers and Multi-Screen Media : Today and Tomorrow,” Retrieved from : http://www.nielsen.com/us/en/insights/reports- downloads/2012/global-online-consumers-and-multi-screen-media-today-and- tomorr.html , (Accessed : August 3, 2012) 23. “The Asian media landscape is turning digital, Online survey 2010,” Retrieved form http://www.nielsen.com/us/en/insights/reports-downloads/2012/turning-digital--the- asian-media-landscape.html, (Accessed : October11, 2012) 24. “ญี่ปุ่นคาดสมาร์ทโฟน-แท็บเล็ตจะกระตุ้นเศรษฐกิจกว่า 7.2 ล้านล้านเยน ,” 17 กรกฎาคม 2555, เข้าถึงได้จาก: http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1342528081&grpid=03&catid=03 , ( วันที่ค้นข้อมูล: 3 สิงหาคม 2555) 25. “Hong Kong Digital Behavior Insights Report,” Last modified :November 2011, Retrieved from : http://nielsen.com/us/en/insights/reports-downloads/2011/hong- kong-digital-behaviour-insights-report.html , (Accessed : October 11, 2012) 26. “The Digital Media Habits and Attitudes of Southeast Asian Consumers,” Last modified: October 2011, p. 3 – 4, Retrieved from : http://www.nielsen.com/us/en/insights/reports-downloads/2011/south-east-asian- digital-consumer-habits.html , (Accessed : August 3, 2012) 27. “The Touchy Freely of Future of Technology,” Retrieved from : http://www.npr.org/2011/12/26/144146395/the-touchy-feely-future-of-technology ( Accessed : December 26,2011) 28. Bill Buxton, “A Touching Story: A Personal Perspective on the History of Touching Interfaces Past and Future , “ Society of Information Display (SID) Symposium Digest of Technical Paper, May 2010, Volume 41 ( 1) , Session 31 , 444-4 48, Retrieved from : http://www.billbuxton.com/SID10%2031-1.pdf (Accessed : November 14, 2011)