SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือ
สัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความ
หรือคาพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนาเสนอ
ขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคาพูด
หรือข้อความทาได้ยากกว่า
ความหมายของผังงาน
การเขียนผังงานที่ดี
• ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้
• ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา
• คาอธิบายในภาพควรสั้นกระทัดรัด และเข้าใจง่าย
• ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า – ออก
• ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน
• ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
การทางานด้วยมือ (manual
operation)
แทนจุดที่มีการทางานด้วยแรงคน
การนาข้อมูลเข้า-ออกโดยทั่วไป
(general input/output)
แทนจุดที่จะนาข้อมูลเข้าหรือออกจากระบบ
คอมพิวเตอร์โดยไม่ระบุชนิดของอุปกรณ์
แถบบันทึกข้อมูล (magnetic tape)
แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าหรือออกจากโปรแกรมด้วย
แผ่นบันทึกข้อมูล
จานบันทึกข้อมูล (magnetic tape)
แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าหรือออกจากโปรแกรมด้วย
จานบันทึกข้อมูล
การนาข้อมูลเข้าด้วยมือ (manual
input)
แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าด้วยมือ
การแสดงข้อมูล (display) แทนจุดที่แสดงข้อมูลด้วยจอภาพ
การทาเอกสาร (documentation)
แทนจุดที่มีข้อมูลเป็นเอกสารหรือแสดงข้อมูลด้วย
เครื่องพิมพ์
สัญลักษณ์ที่ใช้ในผังงาน
การเขียนผังงานระบบต้องใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ นามาเรียงกัน เพื่อแสดงลาดับขั้นตอนการ
ทางาน โดยมีลูกศรเชื่อมระหว่างภาพต่าง ๆ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานระบบที่นิยมใช้กันนั้น
เป็นสัญลักษณ์ของหน่วยงานสถาบันมาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (American National
Standard Institute : ANSI) และองค์การมาตรฐานนานาชาติ (International
Standard Organization : ISO)หน่วยงานดังกล่าว ทาหน้าที่รวบรวมและกาหนดสัญลักษณ์
มาตรฐานที่จะใช้เขียนผังงานระบบ ดังนี้
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
การตัดสินใจ (decision) แทนจุดที่ต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง
การปฏิบัติงาน (process) แทนจุดที่มีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง
การเตรียมการ (preparation) แทนจุดกาหนดชื่อข้อมูลหรือค่าเริ่มต้นต่างๆ
การเรียกโปรแกรมภายนอก
(external subroutine)
แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่ไม่ได้อยู่ใน
โปรแกรมนั้น
การเรียกโปรแกรมภายใน (internal
subroutine)
แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่อยู่ในโปรแกรมนั้น
การเรียงข้อมูล (sort) แทนจุดที่มีการเรียงข้อมูลใหม่ตามข้อกาหนด
ทิศทาง (flow line)
แทนทิศทางขั้นตอนการดาเนินงานซึ่จะปฏิบัติ
ต่อเนื่องกันตามหัวลูกศรชี้
หมายเหตุ (annotation)
แทนจุดที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมหรือหมายเหตุ
ของจุดต่างๆ ที่แสดงในผังงานด้วยสัญลักษณ์ไม่
ชัดเจน
การติดต่อทางไกล
(communication link)
แทนช่วงที่มีการติดต่อหรือย้ายข้อมูลด้วยระบบการ
ติดต่อทางไกล
จุดเชื่อมต่อ (connector)
แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานเมื่อใช้สัญญลักษณ์
เพื่อให้ดูง่าย
จุดเชื่อมต่อหน้ากระดาษ (off page
connector)
แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานที่อยู่คนละหน้ากระดาษ
เริ่มต้นและลงท้าย (terminal)
แทนจุดเริ่มต้นและลงท้ายของผังงานของ
โปรแกรมหลักและโปรแกรมย่อย
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
รูปแบบของผังงาน
ผังงานระบบ
(System Flowchat)
เป็นผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนการทางาน
ภายในระบบหนึ่ง ๆ โดยจะแสดงถึง
ความเกี่ยวข้องของส่วนที่สาคัญต่าง ๆ
ในระบบนั้น เช่น เอกสารเบื้องต้น
หรือสื่อบันทึกข้อมูลที่ใช้อยู่เป็นอะไร
และผ่านไปยังหน่วยงานใด มีกิจกรรม
อะไรในหน่วยงานนั้น แล้วจะส่งต่อไป
หน่วยงานใด เป็นต้น ดังนั้นผังงาน
ระบบอาจเกี่ยวข้องกับคน วัสดุ และ
เครื่องจักร ซึ่งแต่ละจุดจะประกอบไป
ด้วยการนาข้อมูลเข้า วิธีการประมวลผล
และการแสดงผลลัพธ์ (Input –
Process - Output) ว่ามาจากที่ใด
อย่างกว้าง ๆ จึงสามารถเขียนโปรแกรม
จากผังงานระบบได้
ผังงานโปรแกรม
(Program Flowchat)
ผังงานประเภทนี้แสดงถึงขั้นตอนของคาสั่ง
ที่ใช้ในโปรแกรม ผังงานนี้อาจสร้างจาก
ผังงานระบบโดยผู้เขียนผังงานจะดึงเอา
แต่ละจุดที่เกี่ยวข้องการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ปรากฏในผังงานระบบมา
เขียน เพื่อให้ทราบว่าถ้าจะใช้
คอมพิวเตอร์ทางานในจุดนั้นเพื่อให้ได้ผล
ลัพธ์ที่ตามต้องการ ควรที่จะมีขั้นตอน
คาสั่งอย่างไร และจะได้นามาเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางานต่อไป
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
แบบเรียงลาดับ (Sequence)
รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้
ทางานจากบนลงล่าง เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด และทา
ทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัด
ล่างสุด สมมติให้มีการทางาน 3 กระบวนการคือ
อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์
แบบมีเงื่อนไข (Decision)
การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนาค่าไปเลือก
กระทา โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทา 2 กระบวนการ คือเงื่อนไข
เป็นจริงจะกระทากระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทาอีก
กระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น
เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการ
เลือกอย่างง่าย เพื่อกระทากระบวนการเพียงกระบวนการเดียว
แบบทาซ้า (Loop)
การทากระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไข
ในการควบคุม หมายถึงการทาซ้าเป็นหลักการที่
ทาความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะ
การเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพ
อย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียน
โปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
ประโยชน์ของผังงาน
1.ช่วยลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไปเขียนโปรแกรม
ได้โดยไม่สับสน
2.ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด
3.ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
4.ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็ว
มากขึ้น
5. สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย เพื่อผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาใดภาษาหนึ่งโดยเฉพาะ
6. ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ทาให้ง่ายและสะดวกในการ
พิจารณาถึงลาดับขั้นตอนในการทางาน ต่างกับการบรรยายเป็นตัวอักษร
เพราะอาจสื่อความหมายผิดไปได้
7.ในโปรแกรมที่ไม่ซับซ้อน สามารถใช้ผังงานตรวจสอบความถูกต้องของ
ลาดับขั้นตอนได้ง่ายถ้ามีข้อผิดพลาด สามารถแก้ไขได้สะดวกและรวดเร็ว
8.การเขียนโปรแกรมโดยพิจารณาจากผังงาน สามารถทางานง่ายและรวดเร็ว
9. การบารุงรักษาโปรแกรม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรม สามารถดู
ผังงานเพื่อแก้ไขคาสั่งใน
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
โปรแกรมช่วยสร้างผังงาน
โปรแกรม XMind
โปรแกรม XMindเป็นโปรแกรมช่วยในการเขียน
แผนผังความคิด (Mind Map) ที่ไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์
โปรแกรมใดๆ ทั้งสิ้น โดยโปรแกรมมีคุณสมบัติเด่นคือ
โปรแกรม XMIND สามารถสร้างภาพความคิด
(Visualized Idea) ในรูปแบบต่างๆ ได้หลากหลาย
ประกอบด้วย
1.การสร้างแผนที่ความคิด (Mind Map) เพื่อการจัดการ
ความคิด
2.การสร้างแผนผังก้างปลา (Fishbone Diageam) เพื่อ
การวิเคราะห์ปัจจัยและปัญหา
3.การสร้างผังองค์กร (Organization Chart)
ออกแบบผังองค์กรและงาน
4.การสร้างผังการตัดสินใจ (Decision Tree) เพื่อการ
วิเคราะห์ทางเลือก
5.การสร้างตารางความคิด (Idea spreadsheet)
6.อื่นๆ ตามจินตนาการ (Imagine map)
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
Diaโปรแกรมออกแบบผังงาน
Diaหรือ Diagram เป็นโปรแกรมสาหรับ
ออกแบบแผนผัง Diagram Flowchart ใน
กลุ่มโอเพนซอร์ส (OSS) มีเครื่องมือให้ใช้งาน
หลากหลายรูปแบบ เช่น Flowchart, Map
เป็นต้น สามารถออกแบบแผนงานได้
หลากหลาย เช่น ออกแบบผังห้องคอมพิวเตอร์,
ออกแบบ ER-Diagram เป็นต้น ทาให้ Dia
เป็นโปรแกรมออกแบบผังงานในระดับที่ดี
(Diagramming tool)
โปรแกรม Edraw Mind Map
Edraw Mind Map เป็นโปรแกรมสร้าง
แผนผังนโนทัศน์หรือแผนผังความคิด (Mind Map)
โดยโปรแกรมมีตัวอย่าง มีแม่แบบตลอดจนมีวัตถุ
(Object) ในลักษณะต่างๆ ที่เอาไว้ใช้จัดการกับแผน
ความคิดที่หลากหลาย การใช้งานโปรแกรมมีความง่าย
ผลงานที่ได้จึงมีความสวยงาม นอกจากนั้นผลงานเมื่อ
จัดทาเสร็จแล้วยังสามารถนาออกไปเพื่อใช้งานได้
หลากหลายรูปแบบครอบคลุมการทางานปัจจุบันได้เป็น
อย่างดี
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
โปรแกรม FreeMind
เป็นโปรแกรมสาหรับสร้าง Mind Map ที่ใช้สาหรับการ
จัดการ และ บริหารความคิดของสมองให้เป็นไปอย่างมีระเบียบแบบ
แผน โปรแกรมเป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ได้ถูกพัฒนาขึ้นบนภาษา
จาวา (Java) เพราะภาษาจาวามีความยืดหยุ่นสูง รองรับการท า
งานบนระบบปฏิบัติการได้หลากหลายอาทิเช่น Windows, Mac
OS และ LINUX ดังนั้น จึงต้องดาวน์โหลดตัวแปลภาษาจาวามา
ติดตั้งก่อน จึงจะสามารถท าการติดตั้ง FreeMindและใช้งาน
FreeMindได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงที่สุด
นางสาว จิตชนก ลิ่มสิริตรังค์ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 9

More Related Content

What's hot

แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์Boonlert Aroonpiboon
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5Janchai Pokmoonphon
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงานpop Jaturong
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1Inmylove Nupad
 
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13พัน พัน
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
การแยกฐานของเลขยกกำลัง
การแยกฐานของเลขยกกำลังการแยกฐานของเลขยกกำลัง
การแยกฐานของเลขยกกำลังkroojaja
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นแบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
การใช้โปรแกรม Sony vegas pro13
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
การแยกฐานของเลขยกกำลัง
การแยกฐานของเลขยกกำลังการแยกฐานของเลขยกกำลัง
การแยกฐานของเลขยกกำลัง
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้นแบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
แบบทดสอบ เรื่องทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น
 

Viewers also liked

1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงาน1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงานPannathat Champakul
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)Kroopop Su
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานแบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานAmonrat Tabklang
 
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงานการเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงานณัฐพล บัวพันธ์
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)Fair Kung Nattaput
 
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรมใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรมdechathon
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 

Viewers also liked (9)

หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงาน1 3สัญลักษณ์ผังงาน
1 3สัญลักษณ์ผังงาน
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานแบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
 
รหัสเทียม Psuedo code
รหัสเทียม Psuedo codeรหัสเทียม Psuedo code
รหัสเทียม Psuedo code
 
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงานการเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรมใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 

Similar to ความหมายของผังงาน

บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3pornnutcha
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงานjutamat
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงานjutamat
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงานpumpuiza
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงานjutamat
 
ผังงาน (Flowchart)3
ผังงาน (Flowchart)3ผังงาน (Flowchart)3
ผังงาน (Flowchart)3Game33
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
ผังงาน (Flowchart)1
ผังงาน (Flowchart)1ผังงาน (Flowchart)1
ผังงาน (Flowchart)1Game33
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นเสย ๆๆๆๆ
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycleeiszer
 
IT-07-22
IT-07-22IT-07-22
IT-07-22Unyas
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Unyas
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีSaranyu Srisrontong
 

Similar to ความหมายของผังงาน (20)

ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
บทที่8 การเขียนผังงาน - work3
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ผังงาน (Flowchart)3
ผังงาน (Flowchart)3ผังงาน (Flowchart)3
ผังงาน (Flowchart)3
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ผังงาน (Flowchart)1
ผังงาน (Flowchart)1ผังงาน (Flowchart)1
ผังงาน (Flowchart)1
 
Work3 34
Work3 34Work3 34
Work3 34
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
11
1111
11
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
work3-56
work3-56work3-56
work3-56
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycle
 
IT-07-22
IT-07-22IT-07-22
IT-07-22
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
 

ความหมายของผังงาน

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือ สัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความ หรือคาพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนาเสนอ ขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคาพูด หรือข้อความทาได้ยากกว่า ความหมายของผังงาน การเขียนผังงานที่ดี • ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้ • ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา • คาอธิบายในภาพควรสั้นกระทัดรัด และเข้าใจง่าย • ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า – ออก • ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน • ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved การทางานด้วยมือ (manual operation) แทนจุดที่มีการทางานด้วยแรงคน การนาข้อมูลเข้า-ออกโดยทั่วไป (general input/output) แทนจุดที่จะนาข้อมูลเข้าหรือออกจากระบบ คอมพิวเตอร์โดยไม่ระบุชนิดของอุปกรณ์ แถบบันทึกข้อมูล (magnetic tape) แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าหรือออกจากโปรแกรมด้วย แผ่นบันทึกข้อมูล จานบันทึกข้อมูล (magnetic tape) แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าหรือออกจากโปรแกรมด้วย จานบันทึกข้อมูล การนาข้อมูลเข้าด้วยมือ (manual input) แทนจุดที่นาข้อมูลเข้าด้วยมือ การแสดงข้อมูล (display) แทนจุดที่แสดงข้อมูลด้วยจอภาพ การทาเอกสาร (documentation) แทนจุดที่มีข้อมูลเป็นเอกสารหรือแสดงข้อมูลด้วย เครื่องพิมพ์ สัญลักษณ์ที่ใช้ในผังงาน การเขียนผังงานระบบต้องใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ นามาเรียงกัน เพื่อแสดงลาดับขั้นตอนการ ทางาน โดยมีลูกศรเชื่อมระหว่างภาพต่าง ๆ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานระบบที่นิยมใช้กันนั้น เป็นสัญลักษณ์ของหน่วยงานสถาบันมาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (American National Standard Institute : ANSI) และองค์การมาตรฐานนานาชาติ (International Standard Organization : ISO)หน่วยงานดังกล่าว ทาหน้าที่รวบรวมและกาหนดสัญลักษณ์ มาตรฐานที่จะใช้เขียนผังงานระบบ ดังนี้
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved การตัดสินใจ (decision) แทนจุดที่ต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง การปฏิบัติงาน (process) แทนจุดที่มีการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง การเตรียมการ (preparation) แทนจุดกาหนดชื่อข้อมูลหรือค่าเริ่มต้นต่างๆ การเรียกโปรแกรมภายนอก (external subroutine) แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่ไม่ได้อยู่ใน โปรแกรมนั้น การเรียกโปรแกรมภายใน (internal subroutine) แทนจุดเรียกใช้โปรแกรมย่อยที่อยู่ในโปรแกรมนั้น การเรียงข้อมูล (sort) แทนจุดที่มีการเรียงข้อมูลใหม่ตามข้อกาหนด ทิศทาง (flow line) แทนทิศทางขั้นตอนการดาเนินงานซึ่จะปฏิบัติ ต่อเนื่องกันตามหัวลูกศรชี้ หมายเหตุ (annotation) แทนจุดที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมหรือหมายเหตุ ของจุดต่างๆ ที่แสดงในผังงานด้วยสัญลักษณ์ไม่ ชัดเจน การติดต่อทางไกล (communication link) แทนช่วงที่มีการติดต่อหรือย้ายข้อมูลด้วยระบบการ ติดต่อทางไกล จุดเชื่อมต่อ (connector) แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานเมื่อใช้สัญญลักษณ์ เพื่อให้ดูง่าย จุดเชื่อมต่อหน้ากระดาษ (off page connector) แทนจุดเชื่อมต่อของผังงานที่อยู่คนละหน้ากระดาษ เริ่มต้นและลงท้าย (terminal) แทนจุดเริ่มต้นและลงท้ายของผังงานของ โปรแกรมหลักและโปรแกรมย่อย
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved รูปแบบของผังงาน ผังงานระบบ (System Flowchat) เป็นผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนการทางาน ภายในระบบหนึ่ง ๆ โดยจะแสดงถึง ความเกี่ยวข้องของส่วนที่สาคัญต่าง ๆ ในระบบนั้น เช่น เอกสารเบื้องต้น หรือสื่อบันทึกข้อมูลที่ใช้อยู่เป็นอะไร และผ่านไปยังหน่วยงานใด มีกิจกรรม อะไรในหน่วยงานนั้น แล้วจะส่งต่อไป หน่วยงานใด เป็นต้น ดังนั้นผังงาน ระบบอาจเกี่ยวข้องกับคน วัสดุ และ เครื่องจักร ซึ่งแต่ละจุดจะประกอบไป ด้วยการนาข้อมูลเข้า วิธีการประมวลผล และการแสดงผลลัพธ์ (Input – Process - Output) ว่ามาจากที่ใด อย่างกว้าง ๆ จึงสามารถเขียนโปรแกรม จากผังงานระบบได้ ผังงานโปรแกรม (Program Flowchat) ผังงานประเภทนี้แสดงถึงขั้นตอนของคาสั่ง ที่ใช้ในโปรแกรม ผังงานนี้อาจสร้างจาก ผังงานระบบโดยผู้เขียนผังงานจะดึงเอา แต่ละจุดที่เกี่ยวข้องการทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ปรากฏในผังงานระบบมา เขียน เพื่อให้ทราบว่าถ้าจะใช้ คอมพิวเตอร์ทางานในจุดนั้นเพื่อให้ได้ผล ลัพธ์ที่ตามต้องการ ควรที่จะมีขั้นตอน คาสั่งอย่างไร และจะได้นามาเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางานต่อไป
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved แบบเรียงลาดับ (Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ ทางานจากบนลงล่าง เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด และทา ทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัด ล่างสุด สมมติให้มีการทางาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์ แบบมีเงื่อนไข (Decision) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนาค่าไปเลือก กระทา โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทา 2 กระบวนการ คือเงื่อนไข เป็นจริงจะกระทากระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทาอีก กระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการ เลือกอย่างง่าย เพื่อกระทากระบวนการเพียงกระบวนการเดียว แบบทาซ้า (Loop) การทากระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไข ในการควบคุม หมายถึงการทาซ้าเป็นหลักการที่ ทาความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะ การเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพ อย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียน โปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ประโยชน์ของผังงาน 1.ช่วยลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไปเขียนโปรแกรม ได้โดยไม่สับสน 2.ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด 3.ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 4.ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็ว มากขึ้น 5. สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย เพื่อผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึ่งโดยเฉพาะ 6. ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ทาให้ง่ายและสะดวกในการ พิจารณาถึงลาดับขั้นตอนในการทางาน ต่างกับการบรรยายเป็นตัวอักษร เพราะอาจสื่อความหมายผิดไปได้ 7.ในโปรแกรมที่ไม่ซับซ้อน สามารถใช้ผังงานตรวจสอบความถูกต้องของ ลาดับขั้นตอนได้ง่ายถ้ามีข้อผิดพลาด สามารถแก้ไขได้สะดวกและรวดเร็ว 8.การเขียนโปรแกรมโดยพิจารณาจากผังงาน สามารถทางานง่ายและรวดเร็ว 9. การบารุงรักษาโปรแกรม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรม สามารถดู ผังงานเพื่อแก้ไขคาสั่งใน
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved โปรแกรมช่วยสร้างผังงาน โปรแกรม XMind โปรแกรม XMindเป็นโปรแกรมช่วยในการเขียน แผนผังความคิด (Mind Map) ที่ไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ โปรแกรมใดๆ ทั้งสิ้น โดยโปรแกรมมีคุณสมบัติเด่นคือ โปรแกรม XMIND สามารถสร้างภาพความคิด (Visualized Idea) ในรูปแบบต่างๆ ได้หลากหลาย ประกอบด้วย 1.การสร้างแผนที่ความคิด (Mind Map) เพื่อการจัดการ ความคิด 2.การสร้างแผนผังก้างปลา (Fishbone Diageam) เพื่อ การวิเคราะห์ปัจจัยและปัญหา 3.การสร้างผังองค์กร (Organization Chart) ออกแบบผังองค์กรและงาน 4.การสร้างผังการตัดสินใจ (Decision Tree) เพื่อการ วิเคราะห์ทางเลือก 5.การสร้างตารางความคิด (Idea spreadsheet) 6.อื่นๆ ตามจินตนาการ (Imagine map)
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved Diaโปรแกรมออกแบบผังงาน Diaหรือ Diagram เป็นโปรแกรมสาหรับ ออกแบบแผนผัง Diagram Flowchart ใน กลุ่มโอเพนซอร์ส (OSS) มีเครื่องมือให้ใช้งาน หลากหลายรูปแบบ เช่น Flowchart, Map เป็นต้น สามารถออกแบบแผนงานได้ หลากหลาย เช่น ออกแบบผังห้องคอมพิวเตอร์, ออกแบบ ER-Diagram เป็นต้น ทาให้ Dia เป็นโปรแกรมออกแบบผังงานในระดับที่ดี (Diagramming tool) โปรแกรม Edraw Mind Map Edraw Mind Map เป็นโปรแกรมสร้าง แผนผังนโนทัศน์หรือแผนผังความคิด (Mind Map) โดยโปรแกรมมีตัวอย่าง มีแม่แบบตลอดจนมีวัตถุ (Object) ในลักษณะต่างๆ ที่เอาไว้ใช้จัดการกับแผน ความคิดที่หลากหลาย การใช้งานโปรแกรมมีความง่าย ผลงานที่ได้จึงมีความสวยงาม นอกจากนั้นผลงานเมื่อ จัดทาเสร็จแล้วยังสามารถนาออกไปเพื่อใช้งานได้ หลากหลายรูปแบบครอบคลุมการทางานปัจจุบันได้เป็น อย่างดี
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved โปรแกรม FreeMind เป็นโปรแกรมสาหรับสร้าง Mind Map ที่ใช้สาหรับการ จัดการ และ บริหารความคิดของสมองให้เป็นไปอย่างมีระเบียบแบบ แผน โปรแกรมเป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ได้ถูกพัฒนาขึ้นบนภาษา จาวา (Java) เพราะภาษาจาวามีความยืดหยุ่นสูง รองรับการท า งานบนระบบปฏิบัติการได้หลากหลายอาทิเช่น Windows, Mac OS และ LINUX ดังนั้น จึงต้องดาวน์โหลดตัวแปลภาษาจาวามา ติดตั้งก่อน จึงจะสามารถท าการติดตั้ง FreeMindและใช้งาน FreeMindได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงที่สุด นางสาว จิตชนก ลิ่มสิริตรังค์ ชั้น ม.6/1 เลขที่ 9