SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 48
Downloaden Sie, um offline zu lesen
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 
ดร. สมยศ โอ่งเคลือบ 
ภาควิชาการท่องเที่ยว 
คณะมนุษยศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
Email: somyot.o@cmu.ac.th 
1 
สมยศ โอ่งเคลือบ
Ecology 
Tourism 
Ecotourism 
สมยศ โอ่งเคลือบ 
2
สมยศ โอ่งเคลือบ 
3 
Nature Tourism 
Green Tourism 
Bio tourism 
Soft tourism 
Etc. 
Ecotourism
4 
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ คือ... 
“การท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบในแหล่งธรรมชาติ รวมถึงแหล่งวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ โดยมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้เกี่ยวข้อง ภายใต้การจัดการอย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่น เพื่อมุ่งให้เกิดจิตสานึกต่อการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน” 
(ปรับปรุงจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2540) 
สมยศ โอ่งเคลือบ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 
มีส่วนร่วม 
มีการเรียนรู้ 
มีความ รับผิดชอบ 
สมยศ โอ่งเคลือบ 
5
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ = 3 มี 
•ไม่สร้างผลกระทบด้านลบ 
•มีการคืนประโยชน์ให้กับสิ่งแวดล้อม 
มีความรับผิดชอบ 
•มีการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติอย่างใกล้ชิด 
•มีการปลูกจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 
มีการเรียนรู้ 
•ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการ 
•ชุมชนได้รับประโยชน์ 
มีส่วนร่วม 
สมยศ โอ่งเคลือบ 
6
สมยศ โอ่งเคลือบ 
7 
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มีหลักการสาคัญดังนี้ 
1.เป็นพื้นที่ธรรมชาติที่มีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และ สภาพแวดล้อม รวมถึงแหล่งวัฒนธรรมที่ปรากฏในพื้นที่นั้น 
2.เป็นการท่องเที่ยวที่มีความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อม ธรรมชาติ และระบบนิเวศ 
3.มีการเรียนรู้และปลูกจิตสานึก โดยเน้นมีประสบการณ์หรือ สัมผัสโดยตรงกับธรรมชาติ 
4.ให้ประโยชน์คืนสู่ธรรมชาติและชุมชนท้องถิ่น 
5.เน้นธรรมชาติโดยเนื้อแท้ ไม่เน้นที่การเสริมแต่งหรือพัฒนา สิ่งอานวยความสะดวก
สมยศ โอ่งเคลือบ 
8 
1. พัฒนาจิตสานึก (Awareness) และความเข้าใจ (Understanding) 
2. เพิ่มพูนประสบการณ์ที่มีคุณค่าแก่นักท่องเที่ยว ผ่านสื่อความหมายธรรมชาติ 
3. ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของชุมชนที่แหล่งท่องเที่ยวตั้งอยู่ 
4. ดูแลรักษาและคงไว้ซึ่งคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่ง ท่องเที่ยว 
วัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
สมยศ โอ่งเคลือบ 
9 
องค์ประกอบสาคัญของ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
สมยศ โอ่งเคลือบ 
10 
องค์ประกอบด้านพื้นที่ 
•แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น 
(Identity or Authentic or Endemic or Unique) 
•มีพื้นฐานอยู่กับธรรมชาติ 
(Nature-based Tourism) 
•เกี่ยวกับระบบนิเวศ 
(Ecological-based Tourism)
สมยศ โอ่งเคลือบ 
11 
องค์ประกอบด้านการจัดการ 
เที่ยวอย่างรับผิดชอบ Responsible Travel 
ไม่สร้างผลกระทบ No or low impact 
การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 
Sustainable Managed Tourism
สมยศ โอ่งเคลือบ 
12 
องค์ประกอบด้านกิจกรรม / กระบวนการ 
เอื้อต่อกระบวนการเรียนรู้ 
Learning process 
การศึกษา 
Education 
เพิ่มพูนความรู้ 
Knowledge 
ประสบการณ์ 
Experience 
ความประทับใจ 
Appreciation 
การท่องเที่ยวสิ่งแวดล้อมศึกษา 
Environmental Education-based Tourism
สมยศ โอ่งเคลือบ 
13 
องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม 
การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น 
Involvement of local community or people participation 
เกิดประโยชน์ต่อท้องถิ่น 
Local benefit 
เริ่มจากระดับรากหญ้า 
Grass root 
การท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน 
Community Participation-based Tourism
14 
กิจกรรมที่เหมาะกับนักท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 
•มีโอกาสได้ใกล้ชิด มีประสบการณ์ตรงกับธรรมชาติ 
•มีโอกาสได้เรียนรู้ เข้าใจ และตระหนักในคุณค่าของ ธรรมชาติ 
•เป็นกิจกรรมที่สร้างรายได้แก่คนในท้องถิ่น 
•ส่งผลด้านการอนุรักษ์ ไม่ก่อผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่น 
สมยศ โอ่งเคลือบ
15 
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 
•นโยบายการท่องเที่ยวเพื่อรักษาระบบนิเวศ (พ.ศ.2542) ของ ททท. ศึกษาโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ได้จัดแบ่งกิจกรรมการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศออกเป็น 4 หมวด ประกอบด้วย 
สมยศ โอ่งเคลือบ
16 
กิจกรรมเชิงนิเวศ 
•กิจกรรมการเดินป่า 
•กิจกรรมศึกษาธรรมชาติ 
•กิจกรรมส่องสัตว์/ ดูนก 
•กิจกรรมศึกษา/ เที่ยวถ้า/ น้าตก 
•กิจกรรมพายเรือแคนู/ เรือ คายัค/ เรือบด/ เรือใบ 
•กิจกรรมดาน้าชมปะการังน้า ตื้น/น้าลึก 
•ตั้งแคมป์ 
•ล่องแพ/ ล่องเรือยาง 
•ขี่ม้า/ นั่งช้าง 
•เรียนรู้พฤติกรรมท้องถิ่น 
สมยศ โอ่งเคลือบ
17 
กิจกรรมกึ่งนิเวศ 
•กิจกรรมถ่ายรูปธรรมชาติ บันทึกเทปวิดีโอ เทปเสียงธรรมชาติ 
•กิจกรรมศึกษาท้องฟ้าและดาราศาสตร์ 
•กิจกรรมขี่จักรยานตามเส้นทางธรรมชาติ 
•ปีน/ไต่เขา 
•ตกปลา 
•ล่องแพ/ล่องแก่ง/เรือยาง 
สมยศ โอ่งเคลือบ
18 
กิจกรรมเพลิดเพลิน พักผ่อน และชมความงาม 
•ล่องเรือศึกษาธรรมชาติ 
–แล่นเรือใบ 
–กระดานโต้ลม 
–ชมทิวทัศน์ 
•พักผ่อน ปิกนิก 
•เล่นน้า ว่ายน้า อาบแดด 
สมยศ โอ่งเคลือบ
19 
กิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ 
•ชมความงาม ความเก่าแก่ ลักษณะเฉพาะตัวของแหล่ง ธรรมชาติ 
•ศึกษาประวัติของแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์ 
•ศึกษาชื่นชมงานศิลปกรรมและวัฒนธรรม 
•กิจกรรมเรียนรู้พฤติกรรมของผู้คน 
•ถ่ายภาพ 
•ศึกษาการผลิตของที่ระลึกและสินค้าพื้นเมือง 
สมยศ โอ่งเคลือบ
นักท่องเที่ยว 4 ประเภทที่แสวงหาธรรมชาติ 
นักท่องเที่ยวธรรมชาติแบบหัวกะทิ (Hard-core Nature Tourists) เช่น นักวิจัยทางวิทยาศาสตร์ หรือสมาชิกของกลุ่มทัวร์พิเศษที่จัดขึ้นเพื่อการศึกษา กาจัดขยะ หรือจุดประสงค์ที่คล้ายคลึงกัน 
นักท่องเที่ยวธรรมชาติแบบอุทิศตน (Dedicated Nature Tourists) คือ บรรดาผู้ท่องเที่ยวด้วยโปรแกรมพิเศษ เพื่อให้ได้เห็นแหล่งที่ได้รับการปกป้อง รวมถึงผู้ต้องการเข้าใจประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ธรรมชาติและวัฒนธรรม 
นักท่องเที่ยวธรรมชาติเป็นหลัก (Mainstream Nature Tourists) คือ บรรดาผู้เดินทางไปเยือนแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่มีชื่อเสียง เช่น ลุ่มน้าอเมซอน หรือจุดหมายปลายทางอื่น ๆ ที่เป็นการริเริ่มสาหรับโปรแกรมท่องเที่ยวพิเศษ 
นักท่องเที่ยวธรรมชาติตามโอกาส (Casual Nature Tourists) คือบรรดาผู้เข้าร่วมท่องเที่ยวธรรมชาติตามโอกาสอานวย โดยอาจเป็นส่วนหนึ่งของ โปรแกรมท่องเที่ยวทั่วไป 
สมยศ โอ่งเคลือบ 
20
หรือ 2 กลุ่มหลัก 
นักท่องเที่ยว ประเภท Active หรือ Hard core ecotourist 
นักท่องเที่ยว ประเภท Passive หรือ Casual ecotourist 
สมยศ โอ่งเคลือบ 
21
22 
•นักท่องเที่ยวเชิงนิเวศมีความสนใจและรับผิดชอบต่อ ธรรมชาติ แต่บางครั้งอาจขาดความรู้ความเข้าใจ จึงเป็นหน้าที่ของเจ้าของพื้นที่ ผู้ประกอบการ หรือมัคคุเทศก์ที่จะต้องให้ความรู้ แก่นักท่องเที่ยว 
สมยศ โอ่งเคลือบ
การให้ความรู้และปลูกจิตสานึกด้วย การสื่อความหมาย 
23 
สมยศ โอ่งเคลือบ
เส้นทางศึกษาธรรมชาติ สาหรับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 
สมยศ โอ่งเคลือบ 
24
25 
ประเภทของเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 
1. เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ (Nature trail) ระยะใกล้ ไม่เกิน 45 นาที ไม่ลาบาก เน้นการสื่อความหมายให้ความรู้ 
เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติโดยมีคนนาทาง (Guided trails) 
เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติด้วยตนเอง (Self-guided trails) 
2. เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติระยะไกล (Hiking trail) ระยะไกล แคบ ปล่อยตามธรรมชาติ ไม่สะดวกสบาย 
3. เส้นทางใช้ประโยชน์พิเศษ (Special-use trail) ตอบสนองตาม วัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น ขี่ม้า ขี่จักรยาน 
สมยศ โอ่งเคลือบ
26 
เส้นทางใช้ประโยชน์พิเศษ (Special-use trail) 
เช่น 
•ทางขับขี่จักรยาน (Bicycle trail) 
•ทางศึกษาธรรมชาติใต้น้า (Under water trail) 
•เส้นทางเรือ (Canoe or Boat routes) 
•ทางขี่ม้า (Equestrian) 
•ทางเดินช้าง (Elephant trail) 
•ทางสาหรับคนพิการ (Trail for the handicapped) 
สมยศ โอ่งเคลือบ
27 
ข้อกาหนดทั่วไปในการจัดเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 
•ควรผ่านพื้นที่ที่มีความหลากหลาย ดึงดูดใจ 
•ปลอดภัยในการเดินชม 
•ไม่ควรเป็นเส้นตรง ควรมีโค้ง 
•อาจมีลักษณะเป็นวงรอบ (Loop) เชื่อมกันหรือเป็นเลข 8 
•เส้นทางและสิ่งอานวยความสะดวกควรกลมกลืนกับ ธรรมชาติ 
•ทางเดินหลักอยู่ในตาแหน่งที่กระจายนักท่องเที่ยวออกจาก พื้นที่เปราะบาง 
สมยศ โอ่งเคลือบ
28 
การวางแผนกาหนดเส้นทาง ควรคานึงถึง 
•ผู้วางแผนควรคุ้นเคยกับพื้นที่ ช่วยให้จุดสาคัญของพื้นที่ ไม่ถูกมองข้าม 
•ผู้วางแผนต้องมีความรู้เกี่ยวกับการศึกษาธรรมชาติ 
•ต้องคานึงว่าผู้ใช้เส้นทางส่วนใหญ่ไม่คุ้นเคยกับธรรมชาติ จึงต้องคานึงถึงความปลอดภัยและสิ่งที่น่าสนใจในเส้นทาง 
•ต้องคานึงถึงผลกระทบต่อสภาพธรรมชาติ 
•เส้นทางอาจสื่อเป็นเรื่องทั่วไป หรือเจาะจงเป็นเรื่อง เฉพาะก็ได้ 
สมยศ โอ่งเคลือบ
ตัวอย่างหัวข้อสื่อความหมายเพื่อความเข้าใจต่อสิ่งแวดล้อม 
•บทบาทของมด/ปลวกในการย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ 
•บทบาทของไฟป่าต่อการเจริญเติบโตของทุ่งหญ้า 
•บทบาทของแมลงหรือแบคทีเรียในดิน 
•บทบาทของลม นก ต่อการแพร่กระจายของเมล็ด 
•คุณภาพไม้ เมล็ดของพรรณไม้ สัตว์ที่อาศัยหรือกินไม้นั้น 
•ฯลฯ 
สมยศ โอ่งเคลือบ 
29
30 
การวางแผนจัดทาสื่อความหมายธรรมชาติ 
1.กาหนดจุดประสงค์ของการใช้เส้นทางให้ชัดเจน 
2.การสารวจพื้นที่ภาคสนาม – ทาแผนที่ 3.การรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล – เลือกเนื้อหา 
4.การเลือกใช้สื่อ และกาหนดจุดสื่อความหมาย 
5.การวางแผนการใช้เส้นทาง / มาตรการ / การบริหาร 
6.การจัดทาสื่อประกอบ / แผ่นพับ / คู่มือ 
7.การประเมินผลและติดตามผล / แบบทดสอบ 
สมยศ โอ่งเคลือบ
31 
ตัวอย่าง จุดสื่อความหมายธรรมชาติ : เส้นทางศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปาน 
จุดสื่อ 
ระยะทาง (ม.) 
หัวเรื่องสื่อ 
รูปแบบการสื่อ 
1 
จุดเริ่มต้น 0 ม. 
แนะนาชื่อ, ระยะทาง และลักษณะ ภูมิประเทศของเส้นทาง แนะนาการปฏิบัติตน, การแต่งกาย ที่เหมาะสมในการเดินป่า 
แนะนาการเปิดประสาทสัมผัส ตา-หู-จมูก-ลิ้น-ร่างกาย กับ ธรรมชาติ 
แผ่นป้ายแสดงแผน ที่และการป้องกัน ผลกระทบต่อ ธรรมชาติ แผ่นป้ายสื่อ “ห้องเรียน ธรรมชาติ” 
2 
50 ม. 
สังคมของป่าดิบเขาชื้น 
ทิวทัศน์มุมสูง ด้านดอยหัวเสือ 
ป้ายชี้ประตูสู่ป่าดิบ เขา 
สมยศ โอ่งเคลือบ
32 
จุดสื่อ 
ระยะทาง (ม.) 
หัวเรื่องสื่อ 
รูปแบบการสื่อ 
3 
100 ม. 
ลักษณะเด่นของพันธุ์ไม้ เช่น ก่อ และห่วงโซ่อาหารของสัตว์ป่า 
ป้ายชื่อพันธุ์ไม้ 
หาลูกก่อที่มีรอยถูกกัด กิน เพื่อพิจารณาว่าเป็น สัตว์ชนิดใด 
4 
170 ม. 
รูปแบบของพันธุ์ไม้พื้นล่างซึ่ง อยู่ในที่มีความชื้นสูงและแสงแดด มีปริมาณน้อย 
เลือกชี้ต้นไม้พื้นล่างเป็น ตัวอย่าง การออกแบบ ของใบ, ลาต้น, ดอก, ผล ที่สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อม 
สมยศ โอ่งเคลือบ
33 
จุดสื่อ 
ระยะทาง (ม.) 
หัวเรื่องสื่อ 
รูปแบบการสื่อ 
5 
175 ม. 
เหตุใดป่าจึงเป็นแหล่งกาเนิด ของต้นน้าลาธาร 
สะพานไม้ข้ามลาธาร 
ป้ายชื่อบนสะพาน 
6 
200 ม. 
การต่อสู้ดารงชีพของต้นไม้ 
ลักษณะภายในของต้นไม้ที่เป็น โพรงยาวตามลาต้น 
ต้นไม้ใหญ่ข้างทางที่โคน ต้นเป็นโพรงใหญ่ ดูเหมือน ตายแล้ว แต่มองขึ้นไปเห็น ปลายกิ่งยังไม่ตาย 
7 
850 ม. 
ต้น “ก่วมขาว” เขาอายุเท่าไร และทาไมจึงสูงตรงสง่างาม ต้น “แข้งไก่” ทาไมจึงสูงไล่ 
ป้ายชื่อต้นไม้ 
มีขึ้นอยู่ทั่วไป 
สมยศ โอ่งเคลือบ
34 
สมยศ โอ่งเคลือบ
•ออกแบบกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม และวัฒนธรรมท้องถิ่น 
•ใช้วัสดุที่หาได้จากท้องถิ่น 
•ใช้แรงงานในท้องถิ่น 
•ใช้อาหารท้องถิ่น หรือใช้วัตถุดิบที่ผลิตได้เองในท้องถิ่น 
•มีการบาบัดของเสียก่อนทิ้ง 
•Reduce Reuse Recycle 
ที่พักเชิงนิเวศ (Ecolodge) 
35 
สมยศ โอ่งเคลือบ
The Algonquin Wilderness Eco- Lodge, located on the southern border of Algonquin Park (only 3 hours from Toronto or Ottawa) 
ที่มา: http://www.algonquinecolodge. com/ 
36 
สมยศ โอ่งเคลือบ
Julaymba Restaurant (courtesy, Daintree Eco Lodge and Spa), Australia 
ที่มา: http://outsideonline.com/destinations/200704/green-travel-list-4.html 
Topas Eco Lodge, located deep in the Sapa Valley Vietnam ที่มา: http://www.ije.com.au/Vietnam/Trek-and-Hike- Vietnam/sapa-trek-and- eco-lodge-vse6.html 
37 
สมยศ โอ่งเคลือบ
Shali lodge, Siwa Oasis, Egypt 
ที่มา: http://www.thecoolhunter.net/article/detail/812/shali-eco-lodge--siwa 
38 
สมยศ โอ่งเคลือบ
39 
บ้านดิน 
สมยศ โอ่งเคลือบ
40 
สมยศ โอ่งเคลือบ
41 
สมยศ โอ่งเคลือบ
42 
สมยศ โอ่งเคลือบ
43 
บริเวณน้าตกแก่งโสภา จ.พิษณุโลก 
สมยศ โอ่งเคลือบ
44 
Key tools for visitor management 
•Seasonal limit on use level 
•Group size limit 
•Pre-assignment of recreation site (Pre-booking) 
•Area closures 
•Restrictions on the use of fire 
•Restrictions by group characteristics 
•Length of stay limits 
•Technology requirements 
•Trip scheduling 
•Barriers 
•Park information 
•Interpretation 
•Differential pricing 
•Visitor and/or operator qualifications 
Source: Phillips (2002) 
สมยศ โอ่งเคลือบ
10 อุทยานแห่งชาติที่จากัดจานวนนักท่องเที่ยว 
•อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง ค้างคืนได้ 1134 คน ไปกลับ 850 คน 
•อุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก ค้างคืนได้ 1000 คน ไปกลับ 1100 คน 
•อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ค้างคืนได้ 800 คน ไปกลับ 2500 คน 
•อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ค้างคืนได้ 850 คน ไปกลับ 2900 คน 
•อุทยานแห่งชาติภูกระดึง ค้างคืนได้ 5300 คน ไปกลับ 300 คน 
•อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ค้างคืนได้ 2650 คน ไปกลับ 3235 คน 
•อุทยานแห่งชาติเอราวัณ ค้างคืนได้ 742 คน ไปกลับ 2000 คน 
•อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ค้างคืนได้ 1500 คน ไปกลับ 1500 คน 
•อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ ค้างคืนได้ 620 คน ไปกลับ 6520 คน 
•อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน ค้างคืนได้ 180 คน ไปกลับ 1410 คน 
Source: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 
45 
สมยศ โอ่งเคลือบ
อุทยานแห่งชาติที่ปิดบางฤดูกาล 
•อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ งดในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ และบริเวณจุดชมวิวทิวทัศน์ผาเดียวดาย ตั้งแต่วันที่ 1 มิ.ย.ถึงวันที่ 30 ก.ย. 
•อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จ.เพชรบุรี งดในบริเวณบ้านกร่าง ห้วยแม่สะเลียง เขาพะเนินทุ่ง ตั้งแต่วันที่ 1 ส.ค.ถึง 31 ต.ค. 
•อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จ.เชียงใหม่ งดบริเวณลานกางเต็นท์ดอยปุย ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. ถึง 31 ต.ค. 
•อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่ งดบริเวณเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปาน ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค.ถึง 31 ต.ค. 
•อุทยานแห่งชาติภูกระดึง จ.เลย งดบริเวณยอดภูกระดึง ตั้งแต่วันที่ 1 มิ.ย.ถึง 30 ก.ย. 
•อุทยานแห่งชาติดอยฟ้าห่มปก จ.เชียงใหม่ งดบริเวณลานกางเต็นท์กิ่วลม น้าตกนามะอื้น ห้วย เฮี้ยน ปู่หมื่น แม่แฮง โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ ดอยฟ้าห่มปก ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค.ถึง 30 ก.ย. 
•อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง จ.เชียงใหม่ งดบริเวณลานกางเต็นท์ ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค.ถึง 30 ก.ย. 
•อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน และอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ จ.พังงา งดให้เที่ยวชม ตั้งแต่วันที่ 16 พ.ค.ถึง 31 ต.ค. เพราะอยู่ในช่วงฤดูมรสุม Source: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 
46 
สมยศ โอ่งเคลือบ
47 
Zoning ในอุทยานแห่งชาติ (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, 2541) 
•เขตหวงห้าม (Restrict nature reserve zone) 
•เขตสงวนสภาพธรรมชาติ (Primitive zone) 
•เขตฟื้นฟูสภาพธรรมชาติ (Recovery zone) •เขตเพื่อการพักผ่อนและศึกษาหาความรู้ (Outdoor recreation zone) 
•เขตบริการ (Intensive use zone) 
•เขตกิจกรรมพิเศษ (Special use zone) 
สมยศ โอ่งเคลือบ
48 
คาถาม? 
สมยศ โอ่งเคลือบ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว재 민 Praew 김
 
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมWichien Juthamongkol
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการpraphol
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยวMint NutniCha
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacityyah2527
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorSomyot Ongkhluap
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานChacrit Sitdhiwej
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียนโครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียนiceskywalker
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismChaloempond Chantong
 
130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to mice130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to miceChuta Tharachai
 

Was ist angesagt? (20)

บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
 
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรม
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
T guide 6
T  guide 6T  guide 6
T guide 6
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behavior
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 
T guide 7
T    guide 7T    guide 7
T guide 7
 
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียนโครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
 
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourismการท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
การท่องเที่ยวทางจิตวิญญาณ Spiritual tourism
 
130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to mice130903 mice for youth kku intro to mice
130903 mice for youth kku intro to mice
 

Andere mochten auch

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศSareenakache
 
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์Panida Yaya
 
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศsuthata habsa
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนsiep
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ HomestayKorawan Sangkakorn
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการMint NutniCha
 
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)Manisa Piuchan
 
Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practiceSomyot Ongkhluap
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์Calvinlok
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพSaowaluck Sangkoomphai
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green TourismKorawan Sangkakorn
 
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยวผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยวBituey Boonkanan
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการSomyot Ongkhluap
 

Andere mochten auch (20)

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
 
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
แนวทางการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวสำหรับโฮมสเตย์ (Homestay)
 
Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practice
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
 
Tourist Behavior
Tourist BehaviorTourist Behavior
Tourist Behavior
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ติม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ติมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ติม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ติม
 
Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยวผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
 

Ähnlich wie หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ

สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นSompop Petkleang
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรJaae Watcharapirak
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomwimon1960
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3juejan boonsom
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์srkschool
 
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 

Ähnlich wie หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (20)

สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรีการบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
 
112547
112547112547
112547
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
 
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
 
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิงศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
ศิลปวัฒนธรรมตำบลเชื้อเพลิง
 
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
T01
T01T01
T01
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพร
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakom
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
 
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคมศึกษา ป.1-3+409+dltvsocp1+T2 p1 6-soc_mindmap
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
 

หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ

  • 1. หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ดร. สมยศ โอ่งเคลือบ ภาควิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Email: somyot.o@cmu.ac.th 1 สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 2. Ecology Tourism Ecotourism สมยศ โอ่งเคลือบ 2
  • 3. สมยศ โอ่งเคลือบ 3 Nature Tourism Green Tourism Bio tourism Soft tourism Etc. Ecotourism
  • 4. 4 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ คือ... “การท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบในแหล่งธรรมชาติ รวมถึงแหล่งวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ โดยมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้เกี่ยวข้อง ภายใต้การจัดการอย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่น เพื่อมุ่งให้เกิดจิตสานึกต่อการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน” (ปรับปรุงจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2540) สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 5. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มีส่วนร่วม มีการเรียนรู้ มีความ รับผิดชอบ สมยศ โอ่งเคลือบ 5
  • 6. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ = 3 มี •ไม่สร้างผลกระทบด้านลบ •มีการคืนประโยชน์ให้กับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบ •มีการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติอย่างใกล้ชิด •มีการปลูกจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีการเรียนรู้ •ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการ •ชุมชนได้รับประโยชน์ มีส่วนร่วม สมยศ โอ่งเคลือบ 6
  • 7. สมยศ โอ่งเคลือบ 7 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มีหลักการสาคัญดังนี้ 1.เป็นพื้นที่ธรรมชาติที่มีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และ สภาพแวดล้อม รวมถึงแหล่งวัฒนธรรมที่ปรากฏในพื้นที่นั้น 2.เป็นการท่องเที่ยวที่มีความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อม ธรรมชาติ และระบบนิเวศ 3.มีการเรียนรู้และปลูกจิตสานึก โดยเน้นมีประสบการณ์หรือ สัมผัสโดยตรงกับธรรมชาติ 4.ให้ประโยชน์คืนสู่ธรรมชาติและชุมชนท้องถิ่น 5.เน้นธรรมชาติโดยเนื้อแท้ ไม่เน้นที่การเสริมแต่งหรือพัฒนา สิ่งอานวยความสะดวก
  • 8. สมยศ โอ่งเคลือบ 8 1. พัฒนาจิตสานึก (Awareness) และความเข้าใจ (Understanding) 2. เพิ่มพูนประสบการณ์ที่มีคุณค่าแก่นักท่องเที่ยว ผ่านสื่อความหมายธรรมชาติ 3. ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของชุมชนที่แหล่งท่องเที่ยวตั้งอยู่ 4. ดูแลรักษาและคงไว้ซึ่งคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่ง ท่องเที่ยว วัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
  • 9. สมยศ โอ่งเคลือบ 9 องค์ประกอบสาคัญของ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
  • 10. สมยศ โอ่งเคลือบ 10 องค์ประกอบด้านพื้นที่ •แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น (Identity or Authentic or Endemic or Unique) •มีพื้นฐานอยู่กับธรรมชาติ (Nature-based Tourism) •เกี่ยวกับระบบนิเวศ (Ecological-based Tourism)
  • 11. สมยศ โอ่งเคลือบ 11 องค์ประกอบด้านการจัดการ เที่ยวอย่างรับผิดชอบ Responsible Travel ไม่สร้างผลกระทบ No or low impact การจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน Sustainable Managed Tourism
  • 12. สมยศ โอ่งเคลือบ 12 องค์ประกอบด้านกิจกรรม / กระบวนการ เอื้อต่อกระบวนการเรียนรู้ Learning process การศึกษา Education เพิ่มพูนความรู้ Knowledge ประสบการณ์ Experience ความประทับใจ Appreciation การท่องเที่ยวสิ่งแวดล้อมศึกษา Environmental Education-based Tourism
  • 13. สมยศ โอ่งเคลือบ 13 องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น Involvement of local community or people participation เกิดประโยชน์ต่อท้องถิ่น Local benefit เริ่มจากระดับรากหญ้า Grass root การท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน Community Participation-based Tourism
  • 14. 14 กิจกรรมที่เหมาะกับนักท่องเที่ยวเชิงนิเวศ •มีโอกาสได้ใกล้ชิด มีประสบการณ์ตรงกับธรรมชาติ •มีโอกาสได้เรียนรู้ เข้าใจ และตระหนักในคุณค่าของ ธรรมชาติ •เป็นกิจกรรมที่สร้างรายได้แก่คนในท้องถิ่น •ส่งผลด้านการอนุรักษ์ ไม่ก่อผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อมและชุมชนท้องถิ่น สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 15. 15 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ •นโยบายการท่องเที่ยวเพื่อรักษาระบบนิเวศ (พ.ศ.2542) ของ ททท. ศึกษาโดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ได้จัดแบ่งกิจกรรมการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศออกเป็น 4 หมวด ประกอบด้วย สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 16. 16 กิจกรรมเชิงนิเวศ •กิจกรรมการเดินป่า •กิจกรรมศึกษาธรรมชาติ •กิจกรรมส่องสัตว์/ ดูนก •กิจกรรมศึกษา/ เที่ยวถ้า/ น้าตก •กิจกรรมพายเรือแคนู/ เรือ คายัค/ เรือบด/ เรือใบ •กิจกรรมดาน้าชมปะการังน้า ตื้น/น้าลึก •ตั้งแคมป์ •ล่องแพ/ ล่องเรือยาง •ขี่ม้า/ นั่งช้าง •เรียนรู้พฤติกรรมท้องถิ่น สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 17. 17 กิจกรรมกึ่งนิเวศ •กิจกรรมถ่ายรูปธรรมชาติ บันทึกเทปวิดีโอ เทปเสียงธรรมชาติ •กิจกรรมศึกษาท้องฟ้าและดาราศาสตร์ •กิจกรรมขี่จักรยานตามเส้นทางธรรมชาติ •ปีน/ไต่เขา •ตกปลา •ล่องแพ/ล่องแก่ง/เรือยาง สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 18. 18 กิจกรรมเพลิดเพลิน พักผ่อน และชมความงาม •ล่องเรือศึกษาธรรมชาติ –แล่นเรือใบ –กระดานโต้ลม –ชมทิวทัศน์ •พักผ่อน ปิกนิก •เล่นน้า ว่ายน้า อาบแดด สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 19. 19 กิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ •ชมความงาม ความเก่าแก่ ลักษณะเฉพาะตัวของแหล่ง ธรรมชาติ •ศึกษาประวัติของแหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์ •ศึกษาชื่นชมงานศิลปกรรมและวัฒนธรรม •กิจกรรมเรียนรู้พฤติกรรมของผู้คน •ถ่ายภาพ •ศึกษาการผลิตของที่ระลึกและสินค้าพื้นเมือง สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 20. นักท่องเที่ยว 4 ประเภทที่แสวงหาธรรมชาติ นักท่องเที่ยวธรรมชาติแบบหัวกะทิ (Hard-core Nature Tourists) เช่น นักวิจัยทางวิทยาศาสตร์ หรือสมาชิกของกลุ่มทัวร์พิเศษที่จัดขึ้นเพื่อการศึกษา กาจัดขยะ หรือจุดประสงค์ที่คล้ายคลึงกัน นักท่องเที่ยวธรรมชาติแบบอุทิศตน (Dedicated Nature Tourists) คือ บรรดาผู้ท่องเที่ยวด้วยโปรแกรมพิเศษ เพื่อให้ได้เห็นแหล่งที่ได้รับการปกป้อง รวมถึงผู้ต้องการเข้าใจประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ธรรมชาติและวัฒนธรรม นักท่องเที่ยวธรรมชาติเป็นหลัก (Mainstream Nature Tourists) คือ บรรดาผู้เดินทางไปเยือนแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่มีชื่อเสียง เช่น ลุ่มน้าอเมซอน หรือจุดหมายปลายทางอื่น ๆ ที่เป็นการริเริ่มสาหรับโปรแกรมท่องเที่ยวพิเศษ นักท่องเที่ยวธรรมชาติตามโอกาส (Casual Nature Tourists) คือบรรดาผู้เข้าร่วมท่องเที่ยวธรรมชาติตามโอกาสอานวย โดยอาจเป็นส่วนหนึ่งของ โปรแกรมท่องเที่ยวทั่วไป สมยศ โอ่งเคลือบ 20
  • 21. หรือ 2 กลุ่มหลัก นักท่องเที่ยว ประเภท Active หรือ Hard core ecotourist นักท่องเที่ยว ประเภท Passive หรือ Casual ecotourist สมยศ โอ่งเคลือบ 21
  • 22. 22 •นักท่องเที่ยวเชิงนิเวศมีความสนใจและรับผิดชอบต่อ ธรรมชาติ แต่บางครั้งอาจขาดความรู้ความเข้าใจ จึงเป็นหน้าที่ของเจ้าของพื้นที่ ผู้ประกอบการ หรือมัคคุเทศก์ที่จะต้องให้ความรู้ แก่นักท่องเที่ยว สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 25. 25 ประเภทของเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 1. เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ (Nature trail) ระยะใกล้ ไม่เกิน 45 นาที ไม่ลาบาก เน้นการสื่อความหมายให้ความรู้ เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติโดยมีคนนาทาง (Guided trails) เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติด้วยตนเอง (Self-guided trails) 2. เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติระยะไกล (Hiking trail) ระยะไกล แคบ ปล่อยตามธรรมชาติ ไม่สะดวกสบาย 3. เส้นทางใช้ประโยชน์พิเศษ (Special-use trail) ตอบสนองตาม วัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น ขี่ม้า ขี่จักรยาน สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 26. 26 เส้นทางใช้ประโยชน์พิเศษ (Special-use trail) เช่น •ทางขับขี่จักรยาน (Bicycle trail) •ทางศึกษาธรรมชาติใต้น้า (Under water trail) •เส้นทางเรือ (Canoe or Boat routes) •ทางขี่ม้า (Equestrian) •ทางเดินช้าง (Elephant trail) •ทางสาหรับคนพิการ (Trail for the handicapped) สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 27. 27 ข้อกาหนดทั่วไปในการจัดเส้นทางศึกษาธรรมชาติ •ควรผ่านพื้นที่ที่มีความหลากหลาย ดึงดูดใจ •ปลอดภัยในการเดินชม •ไม่ควรเป็นเส้นตรง ควรมีโค้ง •อาจมีลักษณะเป็นวงรอบ (Loop) เชื่อมกันหรือเป็นเลข 8 •เส้นทางและสิ่งอานวยความสะดวกควรกลมกลืนกับ ธรรมชาติ •ทางเดินหลักอยู่ในตาแหน่งที่กระจายนักท่องเที่ยวออกจาก พื้นที่เปราะบาง สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 28. 28 การวางแผนกาหนดเส้นทาง ควรคานึงถึง •ผู้วางแผนควรคุ้นเคยกับพื้นที่ ช่วยให้จุดสาคัญของพื้นที่ ไม่ถูกมองข้าม •ผู้วางแผนต้องมีความรู้เกี่ยวกับการศึกษาธรรมชาติ •ต้องคานึงว่าผู้ใช้เส้นทางส่วนใหญ่ไม่คุ้นเคยกับธรรมชาติ จึงต้องคานึงถึงความปลอดภัยและสิ่งที่น่าสนใจในเส้นทาง •ต้องคานึงถึงผลกระทบต่อสภาพธรรมชาติ •เส้นทางอาจสื่อเป็นเรื่องทั่วไป หรือเจาะจงเป็นเรื่อง เฉพาะก็ได้ สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 29. ตัวอย่างหัวข้อสื่อความหมายเพื่อความเข้าใจต่อสิ่งแวดล้อม •บทบาทของมด/ปลวกในการย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ •บทบาทของไฟป่าต่อการเจริญเติบโตของทุ่งหญ้า •บทบาทของแมลงหรือแบคทีเรียในดิน •บทบาทของลม นก ต่อการแพร่กระจายของเมล็ด •คุณภาพไม้ เมล็ดของพรรณไม้ สัตว์ที่อาศัยหรือกินไม้นั้น •ฯลฯ สมยศ โอ่งเคลือบ 29
  • 30. 30 การวางแผนจัดทาสื่อความหมายธรรมชาติ 1.กาหนดจุดประสงค์ของการใช้เส้นทางให้ชัดเจน 2.การสารวจพื้นที่ภาคสนาม – ทาแผนที่ 3.การรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล – เลือกเนื้อหา 4.การเลือกใช้สื่อ และกาหนดจุดสื่อความหมาย 5.การวางแผนการใช้เส้นทาง / มาตรการ / การบริหาร 6.การจัดทาสื่อประกอบ / แผ่นพับ / คู่มือ 7.การประเมินผลและติดตามผล / แบบทดสอบ สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 31. 31 ตัวอย่าง จุดสื่อความหมายธรรมชาติ : เส้นทางศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปาน จุดสื่อ ระยะทาง (ม.) หัวเรื่องสื่อ รูปแบบการสื่อ 1 จุดเริ่มต้น 0 ม. แนะนาชื่อ, ระยะทาง และลักษณะ ภูมิประเทศของเส้นทาง แนะนาการปฏิบัติตน, การแต่งกาย ที่เหมาะสมในการเดินป่า แนะนาการเปิดประสาทสัมผัส ตา-หู-จมูก-ลิ้น-ร่างกาย กับ ธรรมชาติ แผ่นป้ายแสดงแผน ที่และการป้องกัน ผลกระทบต่อ ธรรมชาติ แผ่นป้ายสื่อ “ห้องเรียน ธรรมชาติ” 2 50 ม. สังคมของป่าดิบเขาชื้น ทิวทัศน์มุมสูง ด้านดอยหัวเสือ ป้ายชี้ประตูสู่ป่าดิบ เขา สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 32. 32 จุดสื่อ ระยะทาง (ม.) หัวเรื่องสื่อ รูปแบบการสื่อ 3 100 ม. ลักษณะเด่นของพันธุ์ไม้ เช่น ก่อ และห่วงโซ่อาหารของสัตว์ป่า ป้ายชื่อพันธุ์ไม้ หาลูกก่อที่มีรอยถูกกัด กิน เพื่อพิจารณาว่าเป็น สัตว์ชนิดใด 4 170 ม. รูปแบบของพันธุ์ไม้พื้นล่างซึ่ง อยู่ในที่มีความชื้นสูงและแสงแดด มีปริมาณน้อย เลือกชี้ต้นไม้พื้นล่างเป็น ตัวอย่าง การออกแบบ ของใบ, ลาต้น, ดอก, ผล ที่สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อม สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 33. 33 จุดสื่อ ระยะทาง (ม.) หัวเรื่องสื่อ รูปแบบการสื่อ 5 175 ม. เหตุใดป่าจึงเป็นแหล่งกาเนิด ของต้นน้าลาธาร สะพานไม้ข้ามลาธาร ป้ายชื่อบนสะพาน 6 200 ม. การต่อสู้ดารงชีพของต้นไม้ ลักษณะภายในของต้นไม้ที่เป็น โพรงยาวตามลาต้น ต้นไม้ใหญ่ข้างทางที่โคน ต้นเป็นโพรงใหญ่ ดูเหมือน ตายแล้ว แต่มองขึ้นไปเห็น ปลายกิ่งยังไม่ตาย 7 850 ม. ต้น “ก่วมขาว” เขาอายุเท่าไร และทาไมจึงสูงตรงสง่างาม ต้น “แข้งไก่” ทาไมจึงสูงไล่ ป้ายชื่อต้นไม้ มีขึ้นอยู่ทั่วไป สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 35. •ออกแบบกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม และวัฒนธรรมท้องถิ่น •ใช้วัสดุที่หาได้จากท้องถิ่น •ใช้แรงงานในท้องถิ่น •ใช้อาหารท้องถิ่น หรือใช้วัตถุดิบที่ผลิตได้เองในท้องถิ่น •มีการบาบัดของเสียก่อนทิ้ง •Reduce Reuse Recycle ที่พักเชิงนิเวศ (Ecolodge) 35 สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 36. The Algonquin Wilderness Eco- Lodge, located on the southern border of Algonquin Park (only 3 hours from Toronto or Ottawa) ที่มา: http://www.algonquinecolodge. com/ 36 สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 37. Julaymba Restaurant (courtesy, Daintree Eco Lodge and Spa), Australia ที่มา: http://outsideonline.com/destinations/200704/green-travel-list-4.html Topas Eco Lodge, located deep in the Sapa Valley Vietnam ที่มา: http://www.ije.com.au/Vietnam/Trek-and-Hike- Vietnam/sapa-trek-and- eco-lodge-vse6.html 37 สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 38. Shali lodge, Siwa Oasis, Egypt ที่มา: http://www.thecoolhunter.net/article/detail/812/shali-eco-lodge--siwa 38 สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 39. 39 บ้านดิน สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 44. 44 Key tools for visitor management •Seasonal limit on use level •Group size limit •Pre-assignment of recreation site (Pre-booking) •Area closures •Restrictions on the use of fire •Restrictions by group characteristics •Length of stay limits •Technology requirements •Trip scheduling •Barriers •Park information •Interpretation •Differential pricing •Visitor and/or operator qualifications Source: Phillips (2002) สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 45. 10 อุทยานแห่งชาติที่จากัดจานวนนักท่องเที่ยว •อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง ค้างคืนได้ 1134 คน ไปกลับ 850 คน •อุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก ค้างคืนได้ 1000 คน ไปกลับ 1100 คน •อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ค้างคืนได้ 800 คน ไปกลับ 2500 คน •อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย ค้างคืนได้ 850 คน ไปกลับ 2900 คน •อุทยานแห่งชาติภูกระดึง ค้างคืนได้ 5300 คน ไปกลับ 300 คน •อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ค้างคืนได้ 2650 คน ไปกลับ 3235 คน •อุทยานแห่งชาติเอราวัณ ค้างคืนได้ 742 คน ไปกลับ 2000 คน •อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ค้างคืนได้ 1500 คน ไปกลับ 1500 คน •อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ ค้างคืนได้ 620 คน ไปกลับ 6520 คน •อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน ค้างคืนได้ 180 คน ไปกลับ 1410 คน Source: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 45 สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 46. อุทยานแห่งชาติที่ปิดบางฤดูกาล •อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ งดในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ และบริเวณจุดชมวิวทิวทัศน์ผาเดียวดาย ตั้งแต่วันที่ 1 มิ.ย.ถึงวันที่ 30 ก.ย. •อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จ.เพชรบุรี งดในบริเวณบ้านกร่าง ห้วยแม่สะเลียง เขาพะเนินทุ่ง ตั้งแต่วันที่ 1 ส.ค.ถึง 31 ต.ค. •อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จ.เชียงใหม่ งดบริเวณลานกางเต็นท์ดอยปุย ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. ถึง 31 ต.ค. •อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่ งดบริเวณเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปาน ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค.ถึง 31 ต.ค. •อุทยานแห่งชาติภูกระดึง จ.เลย งดบริเวณยอดภูกระดึง ตั้งแต่วันที่ 1 มิ.ย.ถึง 30 ก.ย. •อุทยานแห่งชาติดอยฟ้าห่มปก จ.เชียงใหม่ งดบริเวณลานกางเต็นท์กิ่วลม น้าตกนามะอื้น ห้วย เฮี้ยน ปู่หมื่น แม่แฮง โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ ดอยฟ้าห่มปก ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค.ถึง 30 ก.ย. •อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง จ.เชียงใหม่ งดบริเวณลานกางเต็นท์ ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค.ถึง 30 ก.ย. •อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน และอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ จ.พังงา งดให้เที่ยวชม ตั้งแต่วันที่ 16 พ.ค.ถึง 31 ต.ค. เพราะอยู่ในช่วงฤดูมรสุม Source: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 46 สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 47. 47 Zoning ในอุทยานแห่งชาติ (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, 2541) •เขตหวงห้าม (Restrict nature reserve zone) •เขตสงวนสภาพธรรมชาติ (Primitive zone) •เขตฟื้นฟูสภาพธรรมชาติ (Recovery zone) •เขตเพื่อการพักผ่อนและศึกษาหาความรู้ (Outdoor recreation zone) •เขตบริการ (Intensive use zone) •เขตกิจกรรมพิเศษ (Special use zone) สมยศ โอ่งเคลือบ
  • 48. 48 คาถาม? สมยศ โอ่งเคลือบ