SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
Download to read offline
Thinking
ความหมายของการคิด

      การคิดเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมองที่
ใช้สญลักษณ์หรือภาพแทนสิ่งของ เหตุการณ์หรือ
    ั
สถานการณ์ต่าง ๆโดยมีการจัดระบบความรู้ ข้อมูล
ข่าวสารซึ่งเป็นประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์
ใหม่หรือสิ่งเร้าใหม่ ที่ไปได้ ทั้งใน รูปแบบ
ธรรมดาและสลับซับซ้อน ผลจากการจัดระบบ
สามารถ แสดงออกได้หลายลักษณะ เช่น การให้
เหตุผลการแก้ปัญหาต่าง ๆ เนื่องจากการคิดเป็นก
ระบวนการที่เกิดขึ้นในสมอง เราจึงควรที่จะทราบ
โครงสร้า งทางสมองกับ การคิด
          สมองซีก                       สมอง
         ซ้า ย                    ซีก ขวา
      จะควบคุม ดูแ ล
                                 จะควบคุม ดูแ ล
พฤติก รรมของมนุษ ย์ท ี่
เกี่ย วกับ การใช้เ หตุผ ล   พฤติก รรมของมนุษ ย์
  การคิด วิเ คราะห์ ซึ่ง     ที่เ กี่ย วกับ ความคิด
    เป็น ลัก ษณะ การ        สร้า งสรรค์ จริย ธรรม
ทำา งานในสายของวิช า            อารมณ์ ซึ่ง เป็น
 ทางวิท ยาศาสตร์ เป็น        ลัก ษณะการทำา งาน
 ส่ว นใหญ่ นอกจากนี้        ในสายของวิช าการ
สมองซีก ซ้า ยยัง เป็น ตัว   ทางศิล ปศาสตร์ เป็น
  ควบคุม การกระทำา          ส่ว นใหญ่ และยัง เป็น
 การฟัง การเห็น และ             ตัว ควบคุม การ
 การสัม ผัส ต่า ง ๆ ของ      ทำา งานของร่า งกาย
ร่า งกายทางซีก ขวาอีก
ความสำา คัญ ของการคิด


       การคิดจึงเป็นเรื่องสำาคัญของมนุษย์ การคิด
เป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับการดำารงชีวิตในสังคมที่ซับ
ซ้อน สังคมจะก้าวหน้าต่อไปได้ก็เมื่อบุคคลใน
สังคมมีความคิด รู้จักคิดป้องกันหรือคิดแก้ปญหา
                                          ั
ในชีวิตประจำาวันและพัฒนาปรับปรุงภาวะต่างๆ
ให้ดีขึ้น ซึ่งคนต้องคิดเป็น คนที่ไม่ชอบคิดหรือ
คิดไม่เป็นย่อมตกเป็นเหยื่อของคนช่างคิด คนต้อง
อาศัยความคิดเป็นสิงนำาไปสูการดำาเนินชีวิต การ
                      ่       ่
กระบวนการของการคิด


      การคิดเป็นกระบวนการของจิตใจหรือ
กระบวนการทางสมอง ซึ่งมีความสำาคัญต่อการ
เรียนรู้ การคิดไม่มีขอบเขตจำากัด กระบวนการคิด
ของมนุษย์เป็นกระบวนการที่มีขั้นตอนที่เริ่มจากสิง ่
เร้ามา กระตุ้นทำาให้จิตใส่ใจกับสิ่งเร้าและสมองนำา
ข้อมูลหรือความรู้ที่มีอยู่มาประมวล เพื่อให้ได้ผล
ของการคิดออกมา
ประเภทของการคิด
1. แบ่งตามขอบเขตความคิด     2. แบ่งตามความแตกต่างของ
                            เพศ มี 2 แบบ
มี 2 แบบ
                               2.1 การคิดแบบวิเคราะห์
   1.1 การคิดในระบบปิด         2.2 การคิดแบบโยงความ
   1.2 การคิดในระบบเปิด     สัมพันธ์


3. แบ่งตามความสนใจของนัก
                            4. แบ่งตามลักษณะทั่วๆไป มี 2
จิตวิทยา
                            แบบ
มี 3 แบบ คือ
                                4.1 การคิดประเภทสัมพันธ์
    3.1 ความคิดรวบยอด
                                4.2 ความคิดโดยตรงที่ใช้
    3.2 การคิดหาเหตุผล
                            ในการแก้ปัญหา
    3.3 ความคิดสร้างสรรค์
การคิด เกิด ขึ้น ได้
   อย่า งไร ?
สิง เร้า = ทำา ให้เ กิด ปัญ หา/ความสงสัย = ทำา ให้ต ้อ งการ
  ่
                หาคำา ตอบ = จึง เกิด การคิด




ช่ว ยจุด ประกายการคิด = คำา ถาม + ปัญ หา + ความ
สงสัย = ค้น หาคำา ตอบ(การคิด )
Bloom Taxonomy
  แบ่งการทำางานของสมองเป็น 6 ขั้น ดังนี้




                                 5. การ 6. การ
                  3.    4. การ สังเคราะ ประเมิน
           2.   การนำา วิเคราะห์   ห์
1. ความ ความ
รู้ ความ เข้าใจ ไปใช้
    จำา
Metaphor
ได้ก ล่า วไว้ว ่า Think as a Genius
เป็นการนำาของสองสิ่งที่ไม่เหมือน
กันมาเชื่อมกัน หรือมาคิดประดิษฐ์
เป็นสิ่งใหม่ ๆ การคิดเป็นกระบวน
การไม่ใช่เนื้อหา การปลูกฝังให้
นักเรียนมีความสามารถในการคิด
จึงจำาเป็นต้องใช้แนวทางและวิธีการ
ที่หลากหลายส่งเสริมกัน ได้แก่
วิธีที่ 1 ส่งเสริมตั้งแต่อยูในครรภ์ ให้ได้รับปัจจัยทีเอื้อต่อ
                            ่                        ่
อวัยวะทีใช้ในการคิด
            ่
วิธีที่ 2 จัดสภาพแวดล้อม (บุคคล) ทีส่งเสริมการคิดของ
                                      ่
เด็กทังทีบ้านและที่ โรงเรียน
        ้ ่
วิธีที่ 3 ใช้ชุดฝึกโดยเฉพาะ
วิธีที่ 4 จัดสอนเป็นรายวิชาหรือเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
นิยมทำาในระดับอุดมศึกษา
วิธีที่ 5 จัดเป็นหลักสูตรระยะสั้น
วิธีที่ 6 บูรณาการทักษะการคิดเข้าไปในการสอนเนื้อหา
รายวิชาต่าง ๆ
วิธีที่ 7 ใช้รูปแบบการเรียนการสอนทีนักวิชาการคิดขึ้น
                                        ่
โดยมีทฤษฎีหรือหลักการเกียวกับการคิดรองรับ มี
                              ่
กระบวนการในการดำาเนินการสอน แล้วได้ผลตาม
มิต ิข องการคิด
                   2. ด้า น
  1. ด้าน                          3. ด้า น
                 คุณ สมบัต ิท ี่
เนื้อหาที่ใช้    เอื้อ อำา นวย     ทัก ษะการ
 ในการคิด        ต่อ การคิด        คิด

                  มิต ิด ้า น
                  การคิด


 4. มิต ิด า น
           ้     5. มิต ิด ้า น    6. มิต ิด ้า นการ
                                    ควบคุม และ
 ลัก ษณะ         กระบวนก            ประเมิน การ
 การคิด          ารคิด             คิด ของตนเอง
1. ด้า นเนื้อ หาที่ใ ช้ใ นการคิด

      ในการคิด บุคคลไม่สามารถคิดโดยไม่มีเนื้อหา
ของการคิดได้ เพราะการคิดเป็นกระบวนการในการ
คิดจึงต้องมีการคิดอะไรควบคู่ไปกับการคิดอย่างไร
ข้อมูลทีใช้ในการคิดนัน มีจำานวนมากเกินกว่าที่
        ่               ้
กำาหนดหรือบอกได้
      โกวิทย์ วรพิพัฒน์(อ้างถึงใน อุนตา นพคุณ,
                                     ่
2528) ได้จัดกลุมข้อมูลที่มนุษย์ใช้ในการคิดพิจารณา
                ่
แก้ปัญหาออกเป็น 3 ด้านด้วยกัน คือ
             1. ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
             2. ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดล้อม
             3. ข้อมูลวิชาการ
      ในการพิจารณาหาทางแก้ปัญหา บุคคลต้อง
2. ด้า นคุณ สมบัต ิท ี่เ อื้อ อำา นวย
            ต่อ การคิด
• คุณสมบัติที่เอื้ออำานวยต่อการคิดที่นักคิด นัก
  จิตวิทยา และนักการศึกษาเห็นพ้องต้องกันมีอยู่
  หลายประการ ที่สำาคัญมากได้แก่ ความเป็นผูมี    ้
  ใจกว้าง เป็นธรรม ใฝ่รู้ กระตือรือร้น ช่าง
  วิเคราะห์ผสมผสาน ขยัน กล้าเสียง อดทน มี
                                  ่
  ความมั่นใจในตนเองและมีมนุษยสัมพันธ์ดี
3. ด้า นทัก ษะการคิด

     ในการคิด บุคคลจำาเป็นต้องมีทักษะพื้นฐาน
หลายประการในการดำาเนินการคิด เช่น ความ
สามารถในการจำาแนกความเหมือนและความต่าง
ของสิ่งสองสิงหรือมากกว่าและความสามารถใน
            ่
การสังเกต การรวบรวมข้อมูล และการตั้ง
สมมติฐานเป็นทักษะพื้นฐานในกระบวนการคิดแก้
ปัญหา เป็นต้น ทักษะที่นับเป็นทักษะการคิดขั้นพื้น
ฐานจะมีลักษณะเป็นทักษะย่อย ซึ่งมีกระบวนการ
หรือขั้นตอนในการคิดไม่มาก ทักษะที่มี
กระบวนการหรือขั้นตอนมากและซับซ้อน ส่วน
ทัก ษะการคิด แบ่ง เป็น ประเภท
      ใหญ่ 2 ประเภท ได้แ ก่
• 3.1 ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน (Core Thinking Skills)
  หมายถึง ทักษะการคิดย่อยทีเป็นพื้นฐานเบื้องต้นต่อ
                                ่
  การคิดในระดับที่สูงขึ้นหรือซับซ้อนขึ้น แบ่งได้ 2
  กลุมย่อย คือ
     ่
  3.1.1 ทักษาการสื่อความหมาย (Communicate
  Thing Skills) เช่นการฟัง การอ่าน การรับรู้ การจำา
  การพูด การเขียน ฯลฯ
  3.1.2 ทักษะการคิดทีเป็นแกน (Core Thinking
                        ่
  Skills) ซึ่งเป็นทักษะการคิดทั่วไปใช้ในชีวิตประจำา
  วัน เช่น การสังเกต การสำารวจ การตังคำาถาม การ
                                       ้
  เก็บรวบรวมข้อมูลการจำาแนกแยกแยะ การจัด
  หมวดหมู่ การจัดลำาดับ การเปรียบเทียบ การสรุป
  อ้างอิง การแปล การตีความ การเชื่อมโยง การ
  ขยายความ การให้เหตุผล การสรุป ฯลฯ
4. มิต ิด ้า นลัก ษณะการคิด
• ลักษณะการคิด เป็นเป้าหมายของการคิดไม่ว่าจะ
  คิดเกี่ยวกับสิ่งใดการตังเป้าหมายของการคิดให้ถูก
                         ้
  ทางเป็นสิ่งทีสำาคัญมาก เพราะการคิดนันหากเป็น
               ่                      ้
  ไปในทางที่ผด แม้ความคิดจะมีคุณภาพสักเพียงใด
                 ิ
  ก็อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายและความเดือดร้อน
  แก่ส่วนรวมได้
• ลักษณะการคิดระดับพื้นฐานทีจำาเป็น ได้แก่ การคิด
                                 ่
  คล่อง การคิดหลากหลาย การคิดละเอียดลออ และ
  การคิดชัดเจน ลักษณะการคิดทั้ง 4 แบบนี้ เป็น
  คุณสมบัตเบื้องต้นของผู้คิดทังหลาย ซึ่งจะต้องนำา
             ิ                 ้
  ไปใช้ในการคิดลักษณะอืนๆ ที่มีความซับซ้อนขึ้น
                            ่
5. มิต ิด ้า นกระบวนการคิด

       กระบวนการคิด เป็นการคิดที่ต้องดำาเนินการ
ไปเป็นลำาดับขั้นตอนที่จะช่วยให้การคิดนั้นประสบ
ผลสำาเร็จตามจุดหมายของการคิดนั้นๆ ซึ่งเป็นใน
แต่ละลำาดับขั้นตอนอาจต้องอาศัยทักษะการคิด
หรือลักษณะการคิดจำานวนมาก การบวนการคิดที่
สำาคัญมีหลายกระบวนการ เช่น กระบวนการคิด
แก้ปญหา กระบวนการคิดริเริ่มสร้างสรรค์
     ั
กระบวนการตัดสินใจ เป็นต้น
6. มิต ิด ้า นการควบคุม และ
    ประเมิน การคิด ของตนเอง
      การควบคุมการรู้คดของตนเอง หมายถึง
                        ิ
การรู้ถึงความคิดของตนเองในการกระทำาอะไร
อย่าใดอย่างหนึง หรือการประเมินการคิดของ
                ่
ตนเองและใช้ความรู้นั้นในการควบคุมหรือปรับ
การกระทำาของตนเอง การคิดในลักษณะนี้มีผู้
เรียกว่า การคิดอย่างมียุทธศาสตร์ หรือ “strategic
thinking” ซึ่งครอบคลุมการวางแผน การควบคุม
กำากับการกระทำาของตนเอง การตรวจสอบความ
ก้าวหน้าและประเมินผล
การประยุก ต์ร ูป แบบการคิด ที่เ หมาะสม
               กับ สัง คมไทย
       (เกรีย งศัก ดิ์ เจริญ ศัก ดิ์, 2545 : 4-20) มี
               ลัก ษณะต่า งกัน 12 มิต ิ
1.   การคิด ในเชิง วิพ ากษ์ (Critical Thinking)
2.   การคิด เชิง วิเ คราะห์ (Analytical Thinking)
3.   การคิด เชิง สัง เคราะห์ (Synthesis Type Thinking)
4.   ความสามารถในการคิด เชิง เปรีย บเทีย บ
     (Comparative Thinking)
5.   ความสามารถในการคิด เชิง มโนทัศ น์ (Conceptual
      Thinking)
6.   ความสามารถในการคิด เชิง สร้า งสรรค์ (Creative
     Thinking)
7.   ความสามารถในคิด เชิง ประยุก ต์ (Applicative
     Thinking)
8.   ความสามารถในการคิด เชิง กลยุท ธ์ (Strategic
1. การคิด ในเชิง วิพ ากษ์
         (Critical Thinking)

       หมายถึง ความตั้งใจ ที่จะพิจารณาตัดสิน
เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยการไม่เห็นคล้อยตามข้อ
เสนออย่างง่าย ๆ แต่ตั้งคำาถามท้าทายหรือโต้แย้ง
สมมติฐาน และข้อสมมติฐานทีอยู่เบืองหลัง และ
                                      ้
พยายามเปิดแนวทางความคิดออกสูทางต่าง ๆ ที่
                                    ่
แตกต่างจากข้อเสนอนั้นเพื่อให้สามารถได้คำาตอบ
ที่สมเหตุ สมผลมากกว่าข้อเสนอเดิม
2. การคิด เชิง วิเ คราะห์ (Analytical
             Thinking)


      หมายถึง การจำาแนกแจกแจงองค์ประกอบ
ต่าง ๆ ของสิ่งใดสิงหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
                  ่
และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์
ประกอบเหล่านั้นเพื่อค้นหาสาเหตุสาเหตุที่แท้จริง
ของสิงทีเกิดขึ้น
      ่
3. การคิด เชิง สัง เคราะห์
        (Synthesis Type Thinking)



      หมายถึง ความสามารถในการดึงองค์
ประกอบต่าง ๆ
 มาผสมผสานเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้สงใหม่ตาม
                                 ิ่
วัตถุประสงค์ที่ต้องการ
4. ความสามารถในการคิด เชิง
เปรีย บเทีย บ (Comparative Thinking)
       หมายถึงการพิจารณาเทียบเคียงความ
เหมือนและ/หรือความแตกต่างระหว่างสิ่งนั้นกับสิ่ง
อื่น ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจสามารถอธิบายเรื่อง
นั้นได้อย่างชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการคิด การ
แก้ปญหาหรือการหาทางเลือกเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
     ั
5. ความสามารถในการคิด เชิง
มโนทัศ น์ (Conceptual Thinking)


      หมายถึงความสามารถในการประสานข้อมูล
ทั้งหมดที่มีอยู่เกี่ยวกับเรื่องหนึ่งเรื่องใดแล้วนำามาส
ร้างเป็นความคิดรวบยอด
6. ความสามารถในการคิด เชิง
          สร้า งสรรค์
       (Creative Thinking)
       หมายถึงการขยายขอบเขตความคิดออกไป
จากกรอบความคิดที่มีอยู่สความคิดใหม่ ๆ ที่ไม่
                        ู่
เคยมีมาก่อนเพื่อค้นหาตอบที่ดีที่สุดให้กับปัญหาที
เกิดขึ้น
7. ความสามารถในคิด เชิง
           ประยุก ต์
      (Applicative Thinking)
     หมายถึง ความสามารถในการนำาสิ่งที่มอยู่
                                       ี
เดิมไปปรับใช้ประโยชน์ในบริบทใหม่ได้อย่าง
เหมาะสม โดยยังคงหลักการของสิงเดิมไว้
                             ่
8. ความสามารถในการคิด
          เชิง กลยุท ธ์
       (Strategic Thinking)

      หมายถึงความสามารถในการกำาหนด
แนวทางที่ดีที่สุดภายใต้เงื่อนไข ข้อจำากัดต่าง ๆ
เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ
9. การคิด เชิง บูร ณาการ
       (Intergrative Thinking)
        หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมโยงแนวคิด
หรือองค์ประกอบต่าง ๆ ทีเกี่ยวข้องเข้าหาแกนหลัก
                            ่
ได้อย่างเหมาะสมเพื่อธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุน
เรื่องใดเรื่องหนึง การคิดเชิงบูรณาการเป็นการคิด
                 ่
บนฐานความเข้าใจในสัจธรรมที่ว่าสิ่งต่าง ๆ นั้นไม่
ได้อยู่อย่างโดดเดี่ยว ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งใดแต่เชื่อม
โยงกับสิ่งต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งสิ่งอย่างเป็นเหตุผล
สัมพันธ์กันทั้งเหตุผลทีเชื่อมกันโดยตรงและโดยอ้อม
                       ่
ดังนันในการพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่งจำาเป็นต้อง
      ้
มององค์ประกอบแวดล้อมให้รอบด้านการคิดเชิง
บูรณาการ จึงเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้มองเรื่อง ๆ
เดียวได้อย่างครบถ้วนทุกมุม สามารถเชื่อมโยงความ
10. ความสามารถในการคิด เชิง
           อนาคต
      (Futuristic Thinking)

      หมายถึง ความสามารถในการคาดการณ์สง      ิ่
ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตอย่างมีหลักเกณฑ์ที่เหมาะ
สม ช่วยให้ขยายขอบเขตการมองชีวิตให้กว้าง
ออกไปจากกรอบที่เคยมองแต่เพียงชีวิตประจำาวัน
11.การคิด เชิง ประยุก ต์ (Applicative
            Thinking)

      หมายถึง การนำา “บางสิ่ง” มาใช้ประโยชน์
โดยปรับใช้อย่างเหมาะสมกับสภาวะที่เฉพาะ
เจาะจง
      การประยุกต์เป็นวิธีการนำาบางสิ่งมาใช้
ประโยชน์ “บางสิ่ง” ที่นำามานั้น อาจเป็นทฤษฎี
หลักการ แนวคิด ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
และนำามาใช้ประโยชน์ในภาคปฏิบติ  โดยปรับให้
                                  ั
เข้ากับบริบทแวดล้อมที่เป็นอยู่อย่างเหมาะสม
นอกจากนี้ “บางสิ่ง” นั้น อาจเป็นวัตถุสงของที่นำา
                                      ิ่
12. การคิด แก้ป ัญ หา

      การคิดแก้ปญหา หมายถึง ความสามารถ
                ั
ทางสมองในการขจัดสภาวะความไม่สมดุลที่เกิด
ขึ้น โดยพยายาม ปรับตัวเองและสิ่งแวดล้อมให้
ผสมกลมกลืนกลับเข้าสู่สภาวะสมดุลหรือสภาวะที่
เราคาดหวัง
เทคนิค การพัฒ นา
ความสามารถการคิด
1.   เทคนิค หมวก 6 ใบ
2.   เทคนิค การใช้ค ำา ถาม
3.   เทคนิค การใช้ผ ง กราฟิก
                     ั
4.   เทคนิค การใช้ร ูป ภาพ
5.   เทคนิค ของ Chenfeld
6.   เทคนิค การใช้น ิท าน
1. เทคนิค หมวก 6 ใบ
เอ็ดเวิร์ด เดอ โบโน (Edward de
              Bono)

 เทคนิคการพัฒนาการคิดแบบหมวก 6 ใบ
 หมายถึง วิธีการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
 โดยการใช้สของหมวกเป็นสัญลักษณ์
             ี
แทนการคิดที่แตกต่างกัน เป็นแนวคิดของ เอ็ด
 เวิร์ด เดอ โบโน (Edward de Bono)
หมวกสีขาว      • แสดงถึงความเป็นกลาง
               - ตัวเลข
               - ข้อเท็จจริง
หมวกสีแดง      •   แสดงถึงความรู้สก
                                  ึ
               -   อารมณ์
               -   ความประทับใจ ความโรธ
               -   ความสนุก ความอบอุน ความพอใจ
                                    ่
หมวกสีดำา      •   แสดงถึงความมืดครึ้ม
               -   ความคิดทางด้านลบ
               -   จุดบกพร่อง จุดด้อย
               -   การปฏิเสธ การคัดค้าน
หมวกสีเหลือง   •   แสดงถึงความสว่างสดใส
               -   ความคิดเชิงบวก
               -   มองโลกในแง่ดี   -    มีความหวัง
หมวกสีเขียว    •   แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ การเจริญเติบโต
               -   ความคิดริเริ่ม
               -   ความแปลกใหม่
               -   ความก้าวหน้า
หมวกสีฟา
       ้       •   แสดงถึงความสงบเยือกเย็น ท้องฟ้าอยู่เหนือสรรพสิงทังหลาย
                                                                 ่ ้
               -   การควบคุม
               -   การบริหารกระบวนการคิด
               -   การดำาเนินงานที่มขนตอนเป็นระบบ
                                    ี ั้
               -   การยุตขอขัดแย้ง
                         ิ ้
               -   การสรุป
ความหมายโดยนัยของการสวมหมวก คือ การ
แสดงบทบาทในหน้าที่หนึ่ง ๆ ของบุคคลใดบุคคล
หนึง การสวมหมวกหลายใบที่มีสต่างกัน แสดง
    ่                            ี
ถึงการมีหลายหน้าที่ของบุคคลนัน แต่แม้จะมี
                               ้
หมวกหลายใบ ก็จะสามารถสวมได้ทีละใบเท่านัน    ้
การสวมหมวกเพื่อแสดงบทบาทจึงเป็นการฝึกคิด
และปฏิบัติในหน้าที่นั้น การสวมหมวกเพื่อแสดง
บทบาทจึงเป็นการฝึกคิดโดยอาศัยบทบาทสมมติ
จึงจะช่วยให้บคคลแสดงพฤติกรรม / สื่อความคิด
              ุ
ได้ตรงกับความเป็นจริงมากที่สด และเป็นการฝึก
                             ุ
ให้คิดในหลายด้าน ไม่คดในวงแคบ หรือคิด
                         ิ
เพียงด้านเดียว
2. เทคนิค การใช้ค ำา ถาม

คำาถาม คือ คำาพูดที่ต้องการคำาตอบ หรือการ
ตอบสนองจากบุคคลที่ถูกถาม คำาถามเป็นเครื่อง
มือสำาคัญที่ใช้ในการแสวงหาข้อมูล หรือแปล
ความหมายของข้อมูล เป็นสิ่งที่ทำาให้เกิดความ
อยากรู้อยากเห็น และช่วยให้เกิดความคิด
ใช้ค ำา ถามเพื่อ อะไร ?
• เพื่อทดสอบความพร้อมของนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อเรื่องที่จะ
  สอน
• เพื่อจูงใจ และกำาหนดปัญหาให้นักเรียนเกิดความสนใจ
  ในบทเรียน
• เพื่อเพิมพูนความเข้าใจในบทเรียนยิงขึ้น
          ่                         ่
• เพื่อพัฒนาแนวคิด ความคิดรวบยอด และเจตคติ ของ
  นักเรียน
• เพื่อทบทวนเนื้อหาที่สอนไปแล้ว
• เพื่อทดสอบและและเมินผลการสอนของครู
• เพื่อเร้าความสนใจให้นักเรียนมีสวนร่วมในกิจกรรมของ
                                  ่
  บทเรียน
• เพื่อประเมินและตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
• เพื่อวินิจฉัยจุดเด่นและจุดบกพร่องของนักเรียน
• เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิด การตัดสินใจ
ตั้ง คำา ถามอย่า งไรให้แ น่ใ จว่า
คิด 1. ถามเพือเปรียบเทียบ
      ?      ่
    2. ถามเพือการตัดสินใจ
             ่
    3. ถามเพือการนำาเอาความรู้ไปใช้ใน
               ่
    สถานการณ์ต่างๆ
    4. ถามเพือการจำาแนก
                 ่
    5. ถามเพือความสัมพันธ์ระหว่างเหตุผล
                   ่
    6. ถามเพือให้ทราบความมุ่งหมาย
                     ่
    7. ถามเพือให้เกิดการวิจารณ์
                       ่
    8. ถามเพือให้แสดงความคิดเห็น
                         ่
    9. ถามเพือการเปิดการอภิปราย
                           ่
    10. ถามเพือให้กำาหนดนิยามหรือให้อธิบาย
                             ่
    11. ถามเพือให้สังเกต       ่
    12. ถามเพือยั่วยุให้เกิดคำาถามใหม่ ๆ
                                 ่
ลัก ษณะคำา ถามตามระดับ ขั้น ขอ
        งบลูม (Bloom)
      »ถามความรู้ความจำา
      »ถามความเข้าใจ
      »ถามการนำาไปใช้
      »ถามการวิเคราะห์
      »ถามการสังเคราะห์
      »ถามการประเมินค่า
ลัก ษณะคำา ถามที่ด ี
1. เตรียมคำาถามล่วงหน้า
2. ถามอย่างมั่นใจ
3. ควรใช้ท่าทาง เสียง ประกอบการถามเพื่อกระตุ้นความสนใจ
4. ควรใช้คำาถาม ง่ายและยากปนกันในการสอนครั้งหนึ่ง ๆ
5. การถามควรถามทีละคน และให้ตอบทีละคน แต่ต้องเปิดโอกาสให้นกเรียนั
ตอบหลาย ๆ คน ในคำาถามเดียวกัน
6. ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนถามคำาถาม
7. ควรสังเกตตลอดเวลา โดยเฉพาะคนที่ไม่สนใจในบทเรียน ในขณะ
เดียวกันครูควรจะกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจที่จะตอบด้วยความสมัคร
ใจ
8. ควรแสดงความเป็นกันเองกับนักเรียนในขณะถาม
9. ถ้านักเรียนตอบถูก ควรมีการเสริมแรง และให้กำาลังใจ
10. ถ้านักเรียนตอบถูกบางส่วน ควรให้คำาชมในส่วนที่ถูก และควรแนะแนว
ทางให้นกเรียน จนได้คำาตอบที่ถูกต้อง
         ั
11. ถ้านักเรียนตอบผิด ไม่ควรมีปฏิกิริยาในทางลบ
12. ถ้าถามแล้วไม่ได้รับคำาตอบ ควรถามใหม่และทำาให้งายขึ้นหรือเน้นจุด
                                                   ่
สำาคัญเพื่อให้นักเรียนเข้าใจคำาถาม
3. เทคนิค การใช้ผ ัง กราฟิก

       จากการศึกษา พบว่า นักเรียนสามารถ
เข้าใจเนื้อหาแต่ละตอนของเรื่อง โดยไม่สามารถ
เข้าใจภาพรวมของเรื่องทั้งหมดได้ การทำาผัง
กราฟิกเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพที่จะช่วยให้
นักเรียนมองเห็นว่า ความคิดย่อยของแต่ละส่วนมี
ความเชือมโยงกันเป็นเรื่องใหญ่อย่างไร นอกจาก
          ่
นี้ ยังช่วยให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความคิด
อย่างมีเหตุผลอีกด้วย
3.1 ผัง มโนทัศ น์ (Concept Map)
•       เป็นแผนภาพที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่า
  มโนทัศน์ (Concept) ต่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่องใด
  เรื่องหนึ่งอย่างมีลำาดับขั้น เพื่อแสดงให้เห็นการ
  จัดมโนทัศน์ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือส่วนใด
            ส่วนหนึ่งของเรื่องนั้น ซึ่งอาจมีทิศทาง
  เดียวหรือมากกว่า
•      มโนทัศน์มีหลายระดับ ได้แก่ มโนทัศน์
  หลัก มโนทัศน์รอง มโนทัศน์ย่อย มโนทัศน์
  เจาะจง และตัวอย่าง ซึ่งมีลักษณะเป็นระดับขั้น
  ตอนลดหลั่นกันมา ดูคล้ายกับการแตกรากของ
  พืชที่แยกจากรากแก้ว รากแขนงและรากขน
¡º
                                       



                       ¡ º 
                         °                       ¡ ºÅ 
                                                    ¦o°



       ¡ º¨ ¥ª
         ¸¸
         ÄÊ Á
          Á ¥
             É
                                  ¡ ºÁ ¥n
                                    ÄÊ 
                                    ¸
                                     ¨¼



oµª     ¨
          µ      ®o
                   µ            Á¤
                                 È                   ·
                                                   ¤³¨


                                            ( มนัส บุญประกอบ, 2541
3.2 ผัง ความคิด ( Mind Map
       หรือ Mind Mapping )


      ผังความคิดรูปแบบนี้ใช้แสดงการเชื่อมโยง
ข้อมูลที่เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึงระหว่าง ความ
                                   ่
คิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยที่
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
Thinking
3.3 ผัง วงจรหรือ ผัง วัฏ จัก ร
              ( Cycle Map)

       ผังรูปแบบนี้ใช้แสดงข้อมูลที่มีความสัมพันธ์
กันระหว่างเหตุการณ์กับระยะเวลาที่มีการเรียง
ลำาดับการเคลื่อนไหวของข้อมูล ลักษณะเป็นวงจร
ที่ไม่แสดงจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดที่แน่นอน
ฝน
                  ฝน




     เมฆ
      เมฆ              แหล่งง
                        แหล่
                        นำ้า้า
                         นำ




ผังวงจรหรือผังวัฏจักร ( Cycle Map)
3.4 ผัง ก้า งปลา ( Fishbone Map)
ผังรูปแบบนี้เป็นการนำาเสนอข้อมูลที่มีประเด็น
ปัญหาหลักแล้วเสนอสาเหตุหรือผลต่าง ๆ ที่เป็น
องค์ประกอบเกี¦¼­¼°วข้องกัน ตัว£µ¡ °าÁ¥ น
               ่ย
               
                o            ­
                               อย่捦¸
                                      งเช่
           ĂÿĂ ú ÷ß ǰǰǰ
          êšÜ î Ā ć Ć    î
                         Ě        ǰ× éĒ ú Ù Ùš
                                    ć Ā Šš ü ǰǰǰǰǰǰǰǰǰĀ Ü ú čÖ éć
                                         Üî ć                ć Ö î
                                                             Šĕ ì ø Ć ø
    ǰ× éĒ ú ÙĎ
       ć Ùî ø  ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰø ñ ß ï Üî Ā ć î š Ċ
                           ï é
                           Ć ĉ Ă ć ú ÷Ā ć ęì ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ× éÿČì Ùî ē ÷ Ċ
                                                                ć ęđ ē ú Ċ
                                                                   Ă        ìę
    ì Ć ÷ǰ
      î ÿöĆ
         ´¨­§ ·
         ¤ Í
          ´
         µ
         ®
        µ ¦¸ 
         µ¦Á  É
             ¥ µÎ

                                    ðŦĀ ÷ćÿóêĉǰ
                                      â ć đ é
    × éđĊ ï Š ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰß ß ÷ Öî
      ć øî Ă
           ÷ ÷               ö
                             č î ćÝ
    ǰǰǰǰǰǰǰǰĂ î Ā ĆĂöŠ Š
              ć
              Š î Ü ĕ ÙĂ
                      ÿČ ú Ü          öŠÙć ć âÖ Öø Ö ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰðŦĀ Ā ć š ǰ
                                    ĕ Ĕšü öÿĞĆ Ć ć ýċþć
                                       Ā    Ù ï                 â ć ÷Šć
                                                                      øÜ
    ĕ đš Ý ć × êĂ × Üć đĊ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰóŠ öŠ ć Ċ Ć š
     öŠć ï ÜĆ î ĂÖøø î
        ×Ĕ          î
                    Ě           ÷           Ă öĊß ø ÝÜ
                                             Ē Ă óï ć
    ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰì ĉéĘĀ śŠ Ē ǰ
                          Ü ĔðĎéĎ
                          Ě Ö š÷ć ú
                           đ

                           ¥
                           ¼
                           Á
                           o¦¸                                 ­ £¡  
                                                                  µ »
                                                                     ¤
4. เทคนิค การใช้ร ูป ภาพ
        เทคนิคการใช้รูปภาพเป็นการฝึกให้นักเรียนคิด โดยใช้
ทักษะการสังเกต การพิจารณา ซึงจะช่วยให้สามารถมองภาพได้
                                 ่
ชัดเจน
ตัว อย่า งกิจ กรรม
1. อธิบายว่ามีอะไรเกิดขึ้นในภาพนั้น
2. อธิบายสิ่งต่าง ๆทีเกิดขึ้น 3 อย่างหรือมากกว่านั้น
                     ่
3. ดูภาพแล้วอธิบายโดยไม่ต้องดูอีก คาดเดาสาเหตุและลำาดับขั้น
ตอนของสิ่งที่เกิดขึ้นในภาพนั้น
                       4. คิดหัวข้อเรื่องจากภาพ เลือกชื่อเรื่องจาก
การคิด และชื่อเรื่องที่คิดว่าดีที่สุด
5. จินตนาการว่ามีอะไรแอบแฝงอยู่ในภาพหรือนอกเหนือจาก
กรอบภาพนั้น
6. ให้นักเรียนวาดภาพเพิ่มเติมที่คิดว่าเป็นส่วนที่ยังขาด เพือให้
                                                             ่
ภาพนั้นมรความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
5. เทคนิค ของ Chenfeld
      เทคนิคของ Chenfeld เป็นวิธีฝกการคิด โดย
                                       ึ
ใช้คำาถามกระตุนให้เกิดการขยายขอบเขต การคิด
                ้
สร้างจินตนาการ และถ่ายทอดความคิดออกมาใน
ลักษณะการพูดหรือการเขียน
•     คำาถามทีใช้
              ่        ...มีอะไรอีก
•                      ...ถ้ามี ...อะไรจะเกิดขึ้น
•                      ...ถ้าไม่มี ...จะเป็นอย่างไร
•     คำาพูดกระตุ้นความคิด
•                      ...ให้แสดงออกมา
•                      ...คิดขึ้นมา
ตัว อย่า งกิจ กรรม

       1. ให้นกเรียนดูภาพ แล้วเขียนสิ่งทีเห็นมาให้มากทีสุด
               ั                             ่             ่
จากนั้นจึงอ่านให้เพื่อนฟัง
       2. ครูใช้คำาถามว่า ...มีอะไรอีก ให้ทกคนช่วยกันตอบ
                                               ุ
หลาย ๆครั้ง จะได้รายละเอียดของภาพเพิมขึ้น  ่
       3. ให้นกเรียนช่วยกันคิดคำาถามจากภาพ โดยใช้คำาถาม
                 ั
ว่า ถ้ามี ... หรือถ้าไม่มี ...จะเกิดอะไรขึ้น
       4. ให้คาดเดาว่าภาพทีถูกบังเอาไว้จะเป็นภาพหรือ
                                ่
เหตุการณ์ใด โดยการช่วยกันเล่าต่อกันหรือเล่าเป็นรายบุคคล
       5. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ให้ช่วยกันแต่งเรื่องขึ้นใหม่
โดยดูจากภาพเดิม และให้มข้อมูลเก็บจากข้อมูลทีเห็นจาก
                              ี                    ่
ภาพ จากนันจึงส่งผู้แทนกลุ่มนำาเสนอเรื่อง
            ้
       6. ให้นกเรียนสรุปสิงที่ได้จากการทำากิจกรรม รวมทัง
                   ั        ่                                ้
6. เทคนิค การใช้น ิท าน


      การฝึกคิดโดยการใช้นทานเล่าเรื่อง หรือ
                          ิ
อ่านนิทานร้อยแก้ว – ร้อยกรอง จะช่วยกระตุ้น
ให้เกิดความคิดที่หลากหลาย
7. เทคนิค การใช้ส ถานการณ์ /
            ปัญ หา

      เทคนิคการใช้สถานการณ์หรือปัญหา
เป็นการฝึกให้นักเรียนคิดและสร้างทางเลือกที่
หลากหลาย ซึ่งสามารถใช้สถานการณ์หรือปัญหา
จากหนังสือพิมพ์ วารสารต่างๆ หรือเหตุการณ์ใน
ชีวิตประจำาวันที่น่าสนใจ ครูผู้สอนอาจดำาเนินการ
โดยให้นักเรียนคิดตั้งคำาถาม หาวิธีอธิบาย หรือคิด
หาวิธีแก้ปญหานั้น ๆ
          ั
Thinking
ภาพความสำาเร็จในการพัฒนาความ
สามารถการคิด คือ นักเรียนมีความ
สามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์
คิดอย่างมีวารณญาณและคิดสร้างสรรค์
โดยผ่านกระบวนการบริหารการจัดการ
ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนา
บุคลากร การจัดบรรยากาศแหล่งการเรียนรู้
 การจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะการดำารง
ชีวิต การนิเทศภายในการให้ชุมชนได้มี
ส่วนร่วม และการพัฒนาระบบประกัน
คุณภาพ ซึ่งสำานักงานเขตพืนที่การศึกษา
                          ้
และสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน จะเป็นหน่วยงานสนับสนุนให้
Ć÷
                                     đĊ
                                  î Öø î




    Ù üÙć Ā Ù ÿĆ ø ą Ť ĉĂ ŠöĊć èâć ǰǰÙ ǰǰǰǰǰ
      éđ      ǰǰ é đ
                   Ù ǰǰ é ć ĉ
      ĉ ĉ ø ą Ť ĉ Ü ć Ā Ù ÷ Üü ø è ĉ
                              Ý       é
ǰǰǰǰǰǰǰǰÿø Ü ø Ť
          š ÿø Ù
          ć


Öą ü ÖøóĆ ć óĆ ć Ý ǰǰǰǰǰÝ ÖÖø ǰ ĉ ýǰǰß ß ö
  ø ï î ć ǰ ç î ǰǰǰǰǰ ç î ǰǰ Ć Ć ĉ ø öî đ
                             é     éÝ          ì   čî ǰ
                                                   ö Ċ
ǰóĆ ć
   çî
ï ø ć ǰ ú ÿĎǰǰǰǰï čú Öǰǰǰǰǰǰǰï ø ÷ Öýǰǰǰǰǰǰǰđ ĉÿø ÜĆ ǰǰǰǰõć ĔǰǰǰǰǰÿŠ ø ö
   Ā
   ĉ øĀ Ć ê
          Ö ø Ùć ø              øć ć        ÿø š ì Ö
                                                ö ć þą       ÷î    ü Š ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
                                                                    î ü
ø ï ï ðø Ö
 ą      ąĆî
ǰǰǰǰǰÝ Öø ĂēÜ Ċ ǰǰǰǰǰǰǰé î Öø ĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰĒ ú Öøø î ǰǰǰǰÖø ĞÜĊǰǰǰǰǰǰ
      é
      Ć ć × Ü đ÷
             ø øî         ć
                          š ćÙ   é          Ā Šć đĊ
                                                 Ü ÷      ć é øß ĉ
                                                             ć ü ê                            Ù õć
                                                                                               è
                                                                                               č óǰ
                                            øǰ
                                             š
                                             Ď

ǰÿ.ó.ì .       ÿø Üü ǰǰǰǰǰǰǰǰǰóĆ ć Ďĉć ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿø Ü ø × ÷î ĉ ýê ê ö
                 ć â
                 š×Ć             çî ñ ø ø
                                     ï
                                     šĀ                š đ Č Šǰ đ ĉ ć ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
                                                       ć ÙĂ ć ì é
Ý Ē Üú ć
  é
  Ć ÿé ñ Üî
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÖú Ĕǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰýċþć ĉ ýÖø ü ć ć ǰǰðø đ î ñ
              ćÜ
              ĞĆÝ                ì Ùǰǰ ß
                             Ö î đ Ť Ď ĉ Öø ąöĉ ú
ǰǰÖø ĉ
    ćÙ  é

          ÿóå.          Ý ì Ğę
                          é ÿČ
                          Ćć Ă  ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰóĆ ć Ď ĉć ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿø Üú óĆ ć
                                           çî ñ ø ø
                                               ï
                                               šĀ                   š Ē ą ç î ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
                                                                    ć
  đ ĉ ć ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿî Ć čǰ
î ĉ ýê ê ö
   ì é                       ï ÿî î
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÙ Č î ü ć ǰǰǰǰýċþć ĉ ýÖø
           Š
           ĎĒ ì Ü Ö î đ Ť Ď
           öĂ                   ì Ùǰ                                     ą ÙČ Š ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
                                                                        ø ï ï đø × ÷
                                                                                Ăć
ðø đ î ñ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÜðø ö èǰ
   ąöĉ ú                    ï ąć
การบริห ารจัด การให้
  เกิด การพัฒ นา
ความสามารถการคิด
  ในสถานศึก ษา
ผู้บริหารสถานศึกษา เป็นบุคคล
สำาคัญในการส่งเสริมสนับสนุนและ
บริหารจัดการให้บคลากรในสถาน
                   ุ
ศึกษา ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้
ความร่วมมือ และการดำาเนินการพัฒนา
นักเรียน ให้มีความสามารถในด้านการ
คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิด
สร้างสรรค์
     ผู้บริหารจึงควรจัดกระบวนการ
บริหารจัดการภายในสถานศึกษา เพือ    ่
ให้เกิดการพัฒนาความสามารถการคิด
โดยมีองค์ประกอบที่เกียวข้อง ดังนี้
                       ่
การพัฒนา
                 หลักสูตร          การพัฒนา

 การจัดระบบ
ประกันคุณภาพ
                                        การจัด
                กระบวนกา             บรรยากาศและ
                รบริห ารเพื่อ         แหล่งเรียนรู้
การสนับสนุน     ส่ง เสริม การ
 ของชุมชน       คิด

     การนิเทศ           การจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะ
      ภายใน                     การดำารงชีวิต
1. การพัฒ นาหลัก สูต ร
- วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ทคาดหวัง
                                                ี่
ทีเกี่ยวกับการคิดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
  ่
          - จัดทำาหน่วยการเรียนรู้ / แผนการจัดการเรียนรู้
ให้มความสอดคล้องกับมาตรฐานโดยมีการบูรณาการคิด
      ี
          - จัดทำาสื่อทักษะการคิด
          - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ฝึกทักษะการติดตาม
แผนทีกำาหนด
        ่
          - วัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ดานการคิด
                                              ้
          - วิจัย ปรับปรุง / พัฒนาหลักสูตรและ
กระบวนการจัดการเรียนรู้
2. การพัฒ นาบุค ลากร
                จิตวิญญาณ
                                          มีทกษะ
                                             ั
                ความเป็นครู
                                          การคิด

ใช้ ICT เพื่อ
 พัฒนาการ
    คิด                                      บูรณาการ
                       พัฒ นา                สอนด้วย
                       บุค ลากรให้             การคิด

   ดูแลช่วยเหลือ
   นักเรียนให้เป็น                    ใช้สื่อ
       นักคิด                        นวัตกรรมการ
                                     สอนส่งเสริม
3. การจัด บรรยากาศและแหล่ง
            การเรีย นรู้
มีการจัดบรรยากาศและแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการสร้างเสริมทักษะ
การคิด

การจัด บรรยากาศและแหล่ง การเรีย นรู้

         แหล่งเรียนรู้ภายนอก                     แหล่งเรียนรู้
ภายใน
         - สถานประกอบการ                         - ห้องสมุด
         - พิพิธภัณฑ์                     - ห้องปฏิบัติการกลุ่ม
สาระ
         - วัด / โบสถ์                    - ห้องโสตทัศนศึกษา
         - ภูมิปัญญาท้องถิ่น                     - สวนพฤกษา
ศาสตร์
         - ฯลฯ                            - ห้องเรียนธรรมชาติ
4. การจัด กิจ กรรมเสริม สร้า ง
    ทัก ษะการดำา รงชีว ิต
               กิจกรรมลูกเสือ
ชมรม,               เนตรนารี
                                   โครงงาน
                  ยุวกาดชาด
ชุมชน      ผู้ที่บำาเพ็ญประโยชน์



              กิจ กรรม
             เสริม สร้า ง
             ทัก ษะการ
             ดำา รงชีว ิต
กิจกรรม
  เสริม                            แนะแนว
หลักสูตร
5. การนิเ ทศภายใน
- เยี่ยมชั้นเรียน สังเกตการณ์สอน
       - ให้คำาปรึกษาและแนะนำาด้านการพัฒนาความ
สามารถการคิด
       - จัดประชุมพัฒนาสื่อทักษะการคิดอย่างต่อเนือง
                                                 ่
       - ศึกษาดูงาน สถานบันหรือโรงเรียนทีส่งเสริมการ
                                          ่
คิด
       - อำานวยความสะดวกและสนับสนุนทรัพยากร
เช่น หนังสือ สื่อ แบบฝึกการคิด งบประมาณ
       - สร้างขวัญกำาลังใจ เช่น การประกวดผลการคิด
สร้างสรรค์ การยกย่องเชิดชูเกียรติ
6. การสนับ สนุน ของชุม ชน
- ชุมชน หมายถึง
               - เครือข่ายองค์กรส่วนท้องถิน ( อบต. อบจ. ฯลฯ )
                                           ่
               - เครือข่ายองค์กรวิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ( สาธารณสุข
เกษตร พัฒนากร ฯลฯ)
               - เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน
               - กรรมการสถานศึกษาขันพื้นฐาน
                                       ้
               - เครือข่ายผู้อุปถัมภ์
               - ดำาเนินการสนับสนุนในลักษณะต่อไปนี้
                        1. ประสานความร่วมมือจากผู้ปกครองในด้าน
              - โครงการ “ อ่าหนังสือให้ลูกฟัง ”
              - การเล่านิทาน
              - พาบุตรไปใช้แหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสม
                        2. จัดให้มีการ
              - เชิญภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ความรู้
              - ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
              - จัดให้ศึกษาดูงาน
                        3. สนับสนุนงบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์ ด้าน ICT
7. การจัด ระบบรับ ประกัน
              คุณ ภาพ
- จัดให้มีระบบรับประกันคุณภาพในโรงเรียน
- มีการประเมินภายในและสนับสนุนการประเมิน
ภายนอกโดยเน้นด้านการคิด
- ให้มีรายงานการประเมินตนเองที่ปรากฏผลด้านการ
คิด
- มีผลการประเมินภายในและภายนอกด้านการคิด
      การพัฒนาความสามารถการคิดจะเกิดขึ้นและ
บรรลุผลได้ตามวัตถุประสงค์ ถ้ามีการบริหารจัดการที่
ดี ต่อเนื่อง และครอบคลุม ผู้บริหารและคณะจึงใช้
เทคนิคและวิธีการในการบริหารจัดการอย่างมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งจะนำาไปสูการพัฒนา
                         ่

More Related Content

What's hot

หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้Naracha Nong
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)Boukee Singlee
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดSununtha Putpun
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมNaracha Nong
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมNaracha Nong
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1rorsed
 

What's hot (15)

หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
 
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

Viewers also liked

Vitaminen en mineralen
Vitaminen en mineralenVitaminen en mineralen
Vitaminen en mineralenEvenwijs
 
JCI Damme Voorstelling Nd
JCI Damme Voorstelling NdJCI Damme Voorstelling Nd
JCI Damme Voorstelling NdKoen Dehaen
 
Stoppen met roken
Stoppen met rokenStoppen met roken
Stoppen met rokenEvenwijs
 
Slaap Stoornissen
Slaap StoornissenSlaap Stoornissen
Slaap StoornissenEvenwijs
 
Prostaat Klachten
Prostaat KlachtenProstaat Klachten
Prostaat KlachtenEvenwijs
 
Het zuur-basen evenwicht
Het zuur-basen evenwichtHet zuur-basen evenwicht
Het zuur-basen evenwichtEvenwijs
 

Viewers also liked (6)

Vitaminen en mineralen
Vitaminen en mineralenVitaminen en mineralen
Vitaminen en mineralen
 
JCI Damme Voorstelling Nd
JCI Damme Voorstelling NdJCI Damme Voorstelling Nd
JCI Damme Voorstelling Nd
 
Stoppen met roken
Stoppen met rokenStoppen met roken
Stoppen met roken
 
Slaap Stoornissen
Slaap StoornissenSlaap Stoornissen
Slaap Stoornissen
 
Prostaat Klachten
Prostaat KlachtenProstaat Klachten
Prostaat Klachten
 
Het zuur-basen evenwicht
Het zuur-basen evenwichtHet zuur-basen evenwicht
Het zuur-basen evenwicht
 

Similar to Thinking

บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904Pattie Pattie
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบsivapong klongpanich
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersofia-m15
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome brunersoh26
 

Similar to Thinking (20)

บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
51105
5110551105
51105
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 

Thinking

  • 2. ความหมายของการคิด การคิดเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมองที่ ใช้สญลักษณ์หรือภาพแทนสิ่งของ เหตุการณ์หรือ ั สถานการณ์ต่าง ๆโดยมีการจัดระบบความรู้ ข้อมูล ข่าวสารซึ่งเป็นประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ ใหม่หรือสิ่งเร้าใหม่ ที่ไปได้ ทั้งใน รูปแบบ ธรรมดาและสลับซับซ้อน ผลจากการจัดระบบ สามารถ แสดงออกได้หลายลักษณะ เช่น การให้ เหตุผลการแก้ปัญหาต่าง ๆ เนื่องจากการคิดเป็นก ระบวนการที่เกิดขึ้นในสมอง เราจึงควรที่จะทราบ
  • 3. โครงสร้า งทางสมองกับ การคิด สมองซีก สมอง ซ้า ย ซีก ขวา จะควบคุม ดูแ ล จะควบคุม ดูแ ล พฤติก รรมของมนุษ ย์ท ี่ เกี่ย วกับ การใช้เ หตุผ ล พฤติก รรมของมนุษ ย์ การคิด วิเ คราะห์ ซึ่ง ที่เ กี่ย วกับ ความคิด เป็น ลัก ษณะ การ สร้า งสรรค์ จริย ธรรม ทำา งานในสายของวิช า อารมณ์ ซึ่ง เป็น ทางวิท ยาศาสตร์ เป็น ลัก ษณะการทำา งาน ส่ว นใหญ่ นอกจากนี้ ในสายของวิช าการ สมองซีก ซ้า ยยัง เป็น ตัว ทางศิล ปศาสตร์ เป็น ควบคุม การกระทำา ส่ว นใหญ่ และยัง เป็น การฟัง การเห็น และ ตัว ควบคุม การ การสัม ผัส ต่า ง ๆ ของ ทำา งานของร่า งกาย ร่า งกายทางซีก ขวาอีก
  • 4. ความสำา คัญ ของการคิด การคิดจึงเป็นเรื่องสำาคัญของมนุษย์ การคิด เป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับการดำารงชีวิตในสังคมที่ซับ ซ้อน สังคมจะก้าวหน้าต่อไปได้ก็เมื่อบุคคลใน สังคมมีความคิด รู้จักคิดป้องกันหรือคิดแก้ปญหา ั ในชีวิตประจำาวันและพัฒนาปรับปรุงภาวะต่างๆ ให้ดีขึ้น ซึ่งคนต้องคิดเป็น คนที่ไม่ชอบคิดหรือ คิดไม่เป็นย่อมตกเป็นเหยื่อของคนช่างคิด คนต้อง อาศัยความคิดเป็นสิงนำาไปสูการดำาเนินชีวิต การ ่ ่
  • 5. กระบวนการของการคิด การคิดเป็นกระบวนการของจิตใจหรือ กระบวนการทางสมอง ซึ่งมีความสำาคัญต่อการ เรียนรู้ การคิดไม่มีขอบเขตจำากัด กระบวนการคิด ของมนุษย์เป็นกระบวนการที่มีขั้นตอนที่เริ่มจากสิง ่ เร้ามา กระตุ้นทำาให้จิตใส่ใจกับสิ่งเร้าและสมองนำา ข้อมูลหรือความรู้ที่มีอยู่มาประมวล เพื่อให้ได้ผล ของการคิดออกมา
  • 6. ประเภทของการคิด 1. แบ่งตามขอบเขตความคิด 2. แบ่งตามความแตกต่างของ เพศ มี 2 แบบ มี 2 แบบ 2.1 การคิดแบบวิเคราะห์ 1.1 การคิดในระบบปิด 2.2 การคิดแบบโยงความ 1.2 การคิดในระบบเปิด สัมพันธ์ 3. แบ่งตามความสนใจของนัก 4. แบ่งตามลักษณะทั่วๆไป มี 2 จิตวิทยา แบบ มี 3 แบบ คือ 4.1 การคิดประเภทสัมพันธ์ 3.1 ความคิดรวบยอด 4.2 ความคิดโดยตรงที่ใช้ 3.2 การคิดหาเหตุผล ในการแก้ปัญหา 3.3 ความคิดสร้างสรรค์
  • 7. การคิด เกิด ขึ้น ได้ อย่า งไร ?
  • 8. สิง เร้า = ทำา ให้เ กิด ปัญ หา/ความสงสัย = ทำา ให้ต ้อ งการ ่ หาคำา ตอบ = จึง เกิด การคิด ช่ว ยจุด ประกายการคิด = คำา ถาม + ปัญ หา + ความ สงสัย = ค้น หาคำา ตอบ(การคิด )
  • 9. Bloom Taxonomy แบ่งการทำางานของสมองเป็น 6 ขั้น ดังนี้ 5. การ 6. การ 3. 4. การ สังเคราะ ประเมิน 2. การนำา วิเคราะห์ ห์ 1. ความ ความ รู้ ความ เข้าใจ ไปใช้ จำา
  • 10. Metaphor ได้ก ล่า วไว้ว ่า Think as a Genius เป็นการนำาของสองสิ่งที่ไม่เหมือน กันมาเชื่อมกัน หรือมาคิดประดิษฐ์ เป็นสิ่งใหม่ ๆ การคิดเป็นกระบวน การไม่ใช่เนื้อหา การปลูกฝังให้ นักเรียนมีความสามารถในการคิด จึงจำาเป็นต้องใช้แนวทางและวิธีการ ที่หลากหลายส่งเสริมกัน ได้แก่
  • 11. วิธีที่ 1 ส่งเสริมตั้งแต่อยูในครรภ์ ให้ได้รับปัจจัยทีเอื้อต่อ ่ ่ อวัยวะทีใช้ในการคิด ่ วิธีที่ 2 จัดสภาพแวดล้อม (บุคคล) ทีส่งเสริมการคิดของ ่ เด็กทังทีบ้านและที่ โรงเรียน ้ ่ วิธีที่ 3 ใช้ชุดฝึกโดยเฉพาะ วิธีที่ 4 จัดสอนเป็นรายวิชาหรือเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา นิยมทำาในระดับอุดมศึกษา วิธีที่ 5 จัดเป็นหลักสูตรระยะสั้น วิธีที่ 6 บูรณาการทักษะการคิดเข้าไปในการสอนเนื้อหา รายวิชาต่าง ๆ วิธีที่ 7 ใช้รูปแบบการเรียนการสอนทีนักวิชาการคิดขึ้น ่ โดยมีทฤษฎีหรือหลักการเกียวกับการคิดรองรับ มี ่ กระบวนการในการดำาเนินการสอน แล้วได้ผลตาม
  • 12. มิต ิข องการคิด 2. ด้า น 1. ด้าน 3. ด้า น คุณ สมบัต ิท ี่ เนื้อหาที่ใช้ เอื้อ อำา นวย ทัก ษะการ ในการคิด ต่อ การคิด คิด มิต ิด ้า น การคิด 4. มิต ิด า น ้ 5. มิต ิด ้า น 6. มิต ิด ้า นการ ควบคุม และ ลัก ษณะ กระบวนก ประเมิน การ การคิด ารคิด คิด ของตนเอง
  • 13. 1. ด้า นเนื้อ หาที่ใ ช้ใ นการคิด ในการคิด บุคคลไม่สามารถคิดโดยไม่มีเนื้อหา ของการคิดได้ เพราะการคิดเป็นกระบวนการในการ คิดจึงต้องมีการคิดอะไรควบคู่ไปกับการคิดอย่างไร ข้อมูลทีใช้ในการคิดนัน มีจำานวนมากเกินกว่าที่ ่ ้ กำาหนดหรือบอกได้ โกวิทย์ วรพิพัฒน์(อ้างถึงใน อุนตา นพคุณ, ่ 2528) ได้จัดกลุมข้อมูลที่มนุษย์ใช้ในการคิดพิจารณา ่ แก้ปัญหาออกเป็น 3 ด้านด้วยกัน คือ 1. ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง 2. ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดล้อม 3. ข้อมูลวิชาการ ในการพิจารณาหาทางแก้ปัญหา บุคคลต้อง
  • 14. 2. ด้า นคุณ สมบัต ิท ี่เ อื้อ อำา นวย ต่อ การคิด • คุณสมบัติที่เอื้ออำานวยต่อการคิดที่นักคิด นัก จิตวิทยา และนักการศึกษาเห็นพ้องต้องกันมีอยู่ หลายประการ ที่สำาคัญมากได้แก่ ความเป็นผูมี ้ ใจกว้าง เป็นธรรม ใฝ่รู้ กระตือรือร้น ช่าง วิเคราะห์ผสมผสาน ขยัน กล้าเสียง อดทน มี ่ ความมั่นใจในตนเองและมีมนุษยสัมพันธ์ดี
  • 15. 3. ด้า นทัก ษะการคิด ในการคิด บุคคลจำาเป็นต้องมีทักษะพื้นฐาน หลายประการในการดำาเนินการคิด เช่น ความ สามารถในการจำาแนกความเหมือนและความต่าง ของสิ่งสองสิงหรือมากกว่าและความสามารถใน ่ การสังเกต การรวบรวมข้อมูล และการตั้ง สมมติฐานเป็นทักษะพื้นฐานในกระบวนการคิดแก้ ปัญหา เป็นต้น ทักษะที่นับเป็นทักษะการคิดขั้นพื้น ฐานจะมีลักษณะเป็นทักษะย่อย ซึ่งมีกระบวนการ หรือขั้นตอนในการคิดไม่มาก ทักษะที่มี กระบวนการหรือขั้นตอนมากและซับซ้อน ส่วน
  • 16. ทัก ษะการคิด แบ่ง เป็น ประเภท ใหญ่ 2 ประเภท ได้แ ก่ • 3.1 ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน (Core Thinking Skills) หมายถึง ทักษะการคิดย่อยทีเป็นพื้นฐานเบื้องต้นต่อ ่ การคิดในระดับที่สูงขึ้นหรือซับซ้อนขึ้น แบ่งได้ 2 กลุมย่อย คือ ่ 3.1.1 ทักษาการสื่อความหมาย (Communicate Thing Skills) เช่นการฟัง การอ่าน การรับรู้ การจำา การพูด การเขียน ฯลฯ 3.1.2 ทักษะการคิดทีเป็นแกน (Core Thinking ่ Skills) ซึ่งเป็นทักษะการคิดทั่วไปใช้ในชีวิตประจำา วัน เช่น การสังเกต การสำารวจ การตังคำาถาม การ ้ เก็บรวบรวมข้อมูลการจำาแนกแยกแยะ การจัด หมวดหมู่ การจัดลำาดับ การเปรียบเทียบ การสรุป อ้างอิง การแปล การตีความ การเชื่อมโยง การ ขยายความ การให้เหตุผล การสรุป ฯลฯ
  • 17. 4. มิต ิด ้า นลัก ษณะการคิด • ลักษณะการคิด เป็นเป้าหมายของการคิดไม่ว่าจะ คิดเกี่ยวกับสิ่งใดการตังเป้าหมายของการคิดให้ถูก ้ ทางเป็นสิ่งทีสำาคัญมาก เพราะการคิดนันหากเป็น ่ ้ ไปในทางที่ผด แม้ความคิดจะมีคุณภาพสักเพียงใด ิ ก็อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายและความเดือดร้อน แก่ส่วนรวมได้ • ลักษณะการคิดระดับพื้นฐานทีจำาเป็น ได้แก่ การคิด ่ คล่อง การคิดหลากหลาย การคิดละเอียดลออ และ การคิดชัดเจน ลักษณะการคิดทั้ง 4 แบบนี้ เป็น คุณสมบัตเบื้องต้นของผู้คิดทังหลาย ซึ่งจะต้องนำา ิ ้ ไปใช้ในการคิดลักษณะอืนๆ ที่มีความซับซ้อนขึ้น ่
  • 18. 5. มิต ิด ้า นกระบวนการคิด กระบวนการคิด เป็นการคิดที่ต้องดำาเนินการ ไปเป็นลำาดับขั้นตอนที่จะช่วยให้การคิดนั้นประสบ ผลสำาเร็จตามจุดหมายของการคิดนั้นๆ ซึ่งเป็นใน แต่ละลำาดับขั้นตอนอาจต้องอาศัยทักษะการคิด หรือลักษณะการคิดจำานวนมาก การบวนการคิดที่ สำาคัญมีหลายกระบวนการ เช่น กระบวนการคิด แก้ปญหา กระบวนการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ั กระบวนการตัดสินใจ เป็นต้น
  • 19. 6. มิต ิด ้า นการควบคุม และ ประเมิน การคิด ของตนเอง การควบคุมการรู้คดของตนเอง หมายถึง ิ การรู้ถึงความคิดของตนเองในการกระทำาอะไร อย่าใดอย่างหนึง หรือการประเมินการคิดของ ่ ตนเองและใช้ความรู้นั้นในการควบคุมหรือปรับ การกระทำาของตนเอง การคิดในลักษณะนี้มีผู้ เรียกว่า การคิดอย่างมียุทธศาสตร์ หรือ “strategic thinking” ซึ่งครอบคลุมการวางแผน การควบคุม กำากับการกระทำาของตนเอง การตรวจสอบความ ก้าวหน้าและประเมินผล
  • 20. การประยุก ต์ร ูป แบบการคิด ที่เ หมาะสม กับ สัง คมไทย (เกรีย งศัก ดิ์ เจริญ ศัก ดิ์, 2545 : 4-20) มี ลัก ษณะต่า งกัน 12 มิต ิ 1. การคิด ในเชิง วิพ ากษ์ (Critical Thinking) 2. การคิด เชิง วิเ คราะห์ (Analytical Thinking) 3. การคิด เชิง สัง เคราะห์ (Synthesis Type Thinking) 4. ความสามารถในการคิด เชิง เปรีย บเทีย บ (Comparative Thinking) 5. ความสามารถในการคิด เชิง มโนทัศ น์ (Conceptual Thinking) 6. ความสามารถในการคิด เชิง สร้า งสรรค์ (Creative Thinking) 7. ความสามารถในคิด เชิง ประยุก ต์ (Applicative Thinking) 8. ความสามารถในการคิด เชิง กลยุท ธ์ (Strategic
  • 21. 1. การคิด ในเชิง วิพ ากษ์ (Critical Thinking) หมายถึง ความตั้งใจ ที่จะพิจารณาตัดสิน เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยการไม่เห็นคล้อยตามข้อ เสนออย่างง่าย ๆ แต่ตั้งคำาถามท้าทายหรือโต้แย้ง สมมติฐาน และข้อสมมติฐานทีอยู่เบืองหลัง และ ้ พยายามเปิดแนวทางความคิดออกสูทางต่าง ๆ ที่ ่ แตกต่างจากข้อเสนอนั้นเพื่อให้สามารถได้คำาตอบ ที่สมเหตุ สมผลมากกว่าข้อเสนอเดิม
  • 22. 2. การคิด เชิง วิเ คราะห์ (Analytical Thinking) หมายถึง การจำาแนกแจกแจงองค์ประกอบ ต่าง ๆ ของสิ่งใดสิงหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ่ และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ ประกอบเหล่านั้นเพื่อค้นหาสาเหตุสาเหตุที่แท้จริง ของสิงทีเกิดขึ้น ่
  • 23. 3. การคิด เชิง สัง เคราะห์ (Synthesis Type Thinking) หมายถึง ความสามารถในการดึงองค์ ประกอบต่าง ๆ มาผสมผสานเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้สงใหม่ตาม ิ่ วัตถุประสงค์ที่ต้องการ
  • 24. 4. ความสามารถในการคิด เชิง เปรีย บเทีย บ (Comparative Thinking) หมายถึงการพิจารณาเทียบเคียงความ เหมือนและ/หรือความแตกต่างระหว่างสิ่งนั้นกับสิ่ง อื่น ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจสามารถอธิบายเรื่อง นั้นได้อย่างชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการคิด การ แก้ปญหาหรือการหาทางเลือกเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ั
  • 25. 5. ความสามารถในการคิด เชิง มโนทัศ น์ (Conceptual Thinking) หมายถึงความสามารถในการประสานข้อมูล ทั้งหมดที่มีอยู่เกี่ยวกับเรื่องหนึ่งเรื่องใดแล้วนำามาส ร้างเป็นความคิดรวบยอด
  • 26. 6. ความสามารถในการคิด เชิง สร้า งสรรค์ (Creative Thinking) หมายถึงการขยายขอบเขตความคิดออกไป จากกรอบความคิดที่มีอยู่สความคิดใหม่ ๆ ที่ไม่ ู่ เคยมีมาก่อนเพื่อค้นหาตอบที่ดีที่สุดให้กับปัญหาที เกิดขึ้น
  • 27. 7. ความสามารถในคิด เชิง ประยุก ต์ (Applicative Thinking) หมายถึง ความสามารถในการนำาสิ่งที่มอยู่ ี เดิมไปปรับใช้ประโยชน์ในบริบทใหม่ได้อย่าง เหมาะสม โดยยังคงหลักการของสิงเดิมไว้ ่
  • 28. 8. ความสามารถในการคิด เชิง กลยุท ธ์ (Strategic Thinking) หมายถึงความสามารถในการกำาหนด แนวทางที่ดีที่สุดภายใต้เงื่อนไข ข้อจำากัดต่าง ๆ เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ
  • 29. 9. การคิด เชิง บูร ณาการ (Intergrative Thinking) หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมโยงแนวคิด หรือองค์ประกอบต่าง ๆ ทีเกี่ยวข้องเข้าหาแกนหลัก ่ ได้อย่างเหมาะสมเพื่อธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุน เรื่องใดเรื่องหนึง การคิดเชิงบูรณาการเป็นการคิด ่ บนฐานความเข้าใจในสัจธรรมที่ว่าสิ่งต่าง ๆ นั้นไม่ ได้อยู่อย่างโดดเดี่ยว ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งใดแต่เชื่อม โยงกับสิ่งต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งสิ่งอย่างเป็นเหตุผล สัมพันธ์กันทั้งเหตุผลทีเชื่อมกันโดยตรงและโดยอ้อม ่ ดังนันในการพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่งจำาเป็นต้อง ้ มององค์ประกอบแวดล้อมให้รอบด้านการคิดเชิง บูรณาการ จึงเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้มองเรื่อง ๆ เดียวได้อย่างครบถ้วนทุกมุม สามารถเชื่อมโยงความ
  • 30. 10. ความสามารถในการคิด เชิง อนาคต (Futuristic Thinking) หมายถึง ความสามารถในการคาดการณ์สง ิ่ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตอย่างมีหลักเกณฑ์ที่เหมาะ สม ช่วยให้ขยายขอบเขตการมองชีวิตให้กว้าง ออกไปจากกรอบที่เคยมองแต่เพียงชีวิตประจำาวัน
  • 31. 11.การคิด เชิง ประยุก ต์ (Applicative Thinking) หมายถึง การนำา “บางสิ่ง” มาใช้ประโยชน์ โดยปรับใช้อย่างเหมาะสมกับสภาวะที่เฉพาะ เจาะจง การประยุกต์เป็นวิธีการนำาบางสิ่งมาใช้ ประโยชน์ “บางสิ่ง” ที่นำามานั้น อาจเป็นทฤษฎี หลักการ แนวคิด ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และนำามาใช้ประโยชน์ในภาคปฏิบติ  โดยปรับให้ ั เข้ากับบริบทแวดล้อมที่เป็นอยู่อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ “บางสิ่ง” นั้น อาจเป็นวัตถุสงของที่นำา ิ่
  • 32. 12. การคิด แก้ป ัญ หา การคิดแก้ปญหา หมายถึง ความสามารถ ั ทางสมองในการขจัดสภาวะความไม่สมดุลที่เกิด ขึ้น โดยพยายาม ปรับตัวเองและสิ่งแวดล้อมให้ ผสมกลมกลืนกลับเข้าสู่สภาวะสมดุลหรือสภาวะที่ เราคาดหวัง
  • 33. เทคนิค การพัฒ นา ความสามารถการคิด 1. เทคนิค หมวก 6 ใบ 2. เทคนิค การใช้ค ำา ถาม 3. เทคนิค การใช้ผ ง กราฟิก ั 4. เทคนิค การใช้ร ูป ภาพ 5. เทคนิค ของ Chenfeld 6. เทคนิค การใช้น ิท าน
  • 34. 1. เทคนิค หมวก 6 ใบ เอ็ดเวิร์ด เดอ โบโน (Edward de Bono) เทคนิคการพัฒนาการคิดแบบหมวก 6 ใบ หมายถึง วิธีการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ โดยการใช้สของหมวกเป็นสัญลักษณ์ ี แทนการคิดที่แตกต่างกัน เป็นแนวคิดของ เอ็ด เวิร์ด เดอ โบโน (Edward de Bono)
  • 35. หมวกสีขาว • แสดงถึงความเป็นกลาง - ตัวเลข - ข้อเท็จจริง หมวกสีแดง • แสดงถึงความรู้สก ึ - อารมณ์ - ความประทับใจ ความโรธ - ความสนุก ความอบอุน ความพอใจ ่ หมวกสีดำา • แสดงถึงความมืดครึ้ม - ความคิดทางด้านลบ - จุดบกพร่อง จุดด้อย - การปฏิเสธ การคัดค้าน หมวกสีเหลือง • แสดงถึงความสว่างสดใส - ความคิดเชิงบวก - มองโลกในแง่ดี - มีความหวัง หมวกสีเขียว • แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ การเจริญเติบโต - ความคิดริเริ่ม - ความแปลกใหม่ - ความก้าวหน้า หมวกสีฟา ้ • แสดงถึงความสงบเยือกเย็น ท้องฟ้าอยู่เหนือสรรพสิงทังหลาย ่ ้ - การควบคุม - การบริหารกระบวนการคิด - การดำาเนินงานที่มขนตอนเป็นระบบ ี ั้ - การยุตขอขัดแย้ง ิ ้ - การสรุป
  • 36. ความหมายโดยนัยของการสวมหมวก คือ การ แสดงบทบาทในหน้าที่หนึ่ง ๆ ของบุคคลใดบุคคล หนึง การสวมหมวกหลายใบที่มีสต่างกัน แสดง ่ ี ถึงการมีหลายหน้าที่ของบุคคลนัน แต่แม้จะมี ้ หมวกหลายใบ ก็จะสามารถสวมได้ทีละใบเท่านัน ้ การสวมหมวกเพื่อแสดงบทบาทจึงเป็นการฝึกคิด และปฏิบัติในหน้าที่นั้น การสวมหมวกเพื่อแสดง บทบาทจึงเป็นการฝึกคิดโดยอาศัยบทบาทสมมติ จึงจะช่วยให้บคคลแสดงพฤติกรรม / สื่อความคิด ุ ได้ตรงกับความเป็นจริงมากที่สด และเป็นการฝึก ุ ให้คิดในหลายด้าน ไม่คดในวงแคบ หรือคิด ิ เพียงด้านเดียว
  • 37. 2. เทคนิค การใช้ค ำา ถาม คำาถาม คือ คำาพูดที่ต้องการคำาตอบ หรือการ ตอบสนองจากบุคคลที่ถูกถาม คำาถามเป็นเครื่อง มือสำาคัญที่ใช้ในการแสวงหาข้อมูล หรือแปล ความหมายของข้อมูล เป็นสิ่งที่ทำาให้เกิดความ อยากรู้อยากเห็น และช่วยให้เกิดความคิด
  • 38. ใช้ค ำา ถามเพื่อ อะไร ? • เพื่อทดสอบความพร้อมของนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อเรื่องที่จะ สอน • เพื่อจูงใจ และกำาหนดปัญหาให้นักเรียนเกิดความสนใจ ในบทเรียน • เพื่อเพิมพูนความเข้าใจในบทเรียนยิงขึ้น ่ ่ • เพื่อพัฒนาแนวคิด ความคิดรวบยอด และเจตคติ ของ นักเรียน • เพื่อทบทวนเนื้อหาที่สอนไปแล้ว • เพื่อทดสอบและและเมินผลการสอนของครู • เพื่อเร้าความสนใจให้นักเรียนมีสวนร่วมในกิจกรรมของ ่ บทเรียน • เพื่อประเมินและตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน • เพื่อวินิจฉัยจุดเด่นและจุดบกพร่องของนักเรียน • เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิด การตัดสินใจ
  • 39. ตั้ง คำา ถามอย่า งไรให้แ น่ใ จว่า คิด 1. ถามเพือเปรียบเทียบ ? ่ 2. ถามเพือการตัดสินใจ ่ 3. ถามเพือการนำาเอาความรู้ไปใช้ใน ่ สถานการณ์ต่างๆ 4. ถามเพือการจำาแนก ่ 5. ถามเพือความสัมพันธ์ระหว่างเหตุผล ่ 6. ถามเพือให้ทราบความมุ่งหมาย ่ 7. ถามเพือให้เกิดการวิจารณ์ ่ 8. ถามเพือให้แสดงความคิดเห็น ่ 9. ถามเพือการเปิดการอภิปราย ่ 10. ถามเพือให้กำาหนดนิยามหรือให้อธิบาย ่ 11. ถามเพือให้สังเกต ่ 12. ถามเพือยั่วยุให้เกิดคำาถามใหม่ ๆ ่
  • 40. ลัก ษณะคำา ถามตามระดับ ขั้น ขอ งบลูม (Bloom) »ถามความรู้ความจำา »ถามความเข้าใจ »ถามการนำาไปใช้ »ถามการวิเคราะห์ »ถามการสังเคราะห์ »ถามการประเมินค่า
  • 41. ลัก ษณะคำา ถามที่ด ี 1. เตรียมคำาถามล่วงหน้า 2. ถามอย่างมั่นใจ 3. ควรใช้ท่าทาง เสียง ประกอบการถามเพื่อกระตุ้นความสนใจ 4. ควรใช้คำาถาม ง่ายและยากปนกันในการสอนครั้งหนึ่ง ๆ 5. การถามควรถามทีละคน และให้ตอบทีละคน แต่ต้องเปิดโอกาสให้นกเรียนั ตอบหลาย ๆ คน ในคำาถามเดียวกัน 6. ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนถามคำาถาม 7. ควรสังเกตตลอดเวลา โดยเฉพาะคนที่ไม่สนใจในบทเรียน ในขณะ เดียวกันครูควรจะกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจที่จะตอบด้วยความสมัคร ใจ 8. ควรแสดงความเป็นกันเองกับนักเรียนในขณะถาม 9. ถ้านักเรียนตอบถูก ควรมีการเสริมแรง และให้กำาลังใจ 10. ถ้านักเรียนตอบถูกบางส่วน ควรให้คำาชมในส่วนที่ถูก และควรแนะแนว ทางให้นกเรียน จนได้คำาตอบที่ถูกต้อง ั 11. ถ้านักเรียนตอบผิด ไม่ควรมีปฏิกิริยาในทางลบ 12. ถ้าถามแล้วไม่ได้รับคำาตอบ ควรถามใหม่และทำาให้งายขึ้นหรือเน้นจุด ่ สำาคัญเพื่อให้นักเรียนเข้าใจคำาถาม
  • 42. 3. เทคนิค การใช้ผ ัง กราฟิก จากการศึกษา พบว่า นักเรียนสามารถ เข้าใจเนื้อหาแต่ละตอนของเรื่อง โดยไม่สามารถ เข้าใจภาพรวมของเรื่องทั้งหมดได้ การทำาผัง กราฟิกเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพที่จะช่วยให้ นักเรียนมองเห็นว่า ความคิดย่อยของแต่ละส่วนมี ความเชือมโยงกันเป็นเรื่องใหญ่อย่างไร นอกจาก ่ นี้ ยังช่วยให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความคิด อย่างมีเหตุผลอีกด้วย
  • 43. 3.1 ผัง มโนทัศ น์ (Concept Map) • เป็นแผนภาพที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่า มโนทัศน์ (Concept) ต่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่องใด เรื่องหนึ่งอย่างมีลำาดับขั้น เพื่อแสดงให้เห็นการ จัดมโนทัศน์ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือส่วนใด ส่วนหนึ่งของเรื่องนั้น ซึ่งอาจมีทิศทาง เดียวหรือมากกว่า • มโนทัศน์มีหลายระดับ ได้แก่ มโนทัศน์ หลัก มโนทัศน์รอง มโนทัศน์ย่อย มโนทัศน์ เจาะจง และตัวอย่าง ซึ่งมีลักษณะเป็นระดับขั้น ตอนลดหลั่นกันมา ดูคล้ายกับการแตกรากของ พืชที่แยกจากรากแก้ว รากแขนงและรากขน
  • 44. ¡º  ¡ º  ° ¡ ºÅ  ¦o° ¡ º¨ ¥ª ¸¸ ÄÊ Á Á ¥ É ¡ ºÁ ¥n ÄÊ  ¸ ¨¼ oµª ¨ µ ®o µ Á¤ È · ¤³¨ ( มนัส บุญประกอบ, 2541
  • 45. 3.2 ผัง ความคิด ( Mind Map หรือ Mind Mapping ) ผังความคิดรูปแบบนี้ใช้แสดงการเชื่อมโยง ข้อมูลที่เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึงระหว่าง ความ ่ คิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยที่ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
  • 47. 3.3 ผัง วงจรหรือ ผัง วัฏ จัก ร ( Cycle Map) ผังรูปแบบนี้ใช้แสดงข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ กันระหว่างเหตุการณ์กับระยะเวลาที่มีการเรียง ลำาดับการเคลื่อนไหวของข้อมูล ลักษณะเป็นวงจร ที่ไม่แสดงจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดที่แน่นอน
  • 48. ฝน ฝน เมฆ เมฆ แหล่งง แหล่ นำ้า้า นำ ผังวงจรหรือผังวัฏจักร ( Cycle Map)
  • 49. 3.4 ผัง ก้า งปลา ( Fishbone Map) ผังรูปแบบนี้เป็นการนำาเสนอข้อมูลที่มีประเด็น ปัญหาหลักแล้วเสนอสาเหตุหรือผลต่าง ๆ ที่เป็น องค์ประกอบเกี¦¼­¼°วข้องกัน ตัว£µ¡ °าÁ¥ น ่ย   o ­ อย่捦¸ งเช่ ĂÿĂ ú ÷ß ǰǰǰ êšÜ î Ā ć Ć î Ě ǰ× éĒ ú Ù Ùš ć Ā Šš ü ǰǰǰǰǰǰǰǰǰĀ Ü ú čÖ éć Üî ć ć Ö î Šĕ ì ø Ć ø ǰ× éĒ ú ÙĎ ć Ùî ø ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰø ñ ß ï Üî Ā ć î š Ċ ï é Ć ĉ Ă ć ú ÷Ā ć ęì ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ× éÿČì Ùî ē ÷ Ċ ć ęđ ē ú Ċ Ă ìę ì Ć ÷ǰ î ÿöĆ ´¨­§ ·  ¤ Í  ´ µ ® µ ¦¸  µ¦Á  É ¥ µÎ ðŦĀ ÷ćÿóêĉǰ â ć đ é × éđĊ ï Š ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰß ß ÷ Öî ć øî Ă ÷ ÷ ö č î ćÝ ǰǰǰǰǰǰǰǰĂ î Ā ĆĂöŠ Š ć Š î Ü ĕ ÙĂ ÿČ ú Ü öŠÙć ć âÖ Öø Ö ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰðŦĀ Ā ć š ǰ ĕ Ĕšü öÿĞĆ Ć ć ýċþć Ā Ù ï â ć ÷Šć øÜ ĕ đš Ý ć × êĂ × Üć đĊ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰóŠ öŠ ć Ċ Ć š öŠć ï ÜĆ î ĂÖøø î ×Ĕ î Ě ÷ Ă öĊß ø ÝÜ Ē Ă óï ć ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰì ĉéĘĀ śŠ Ē ǰ Ü ĔðĎéĎ Ě Ö š÷ć ú đ ¥ ¼ Á o¦¸ ­ £¡   µ » ¤
  • 50. 4. เทคนิค การใช้ร ูป ภาพ เทคนิคการใช้รูปภาพเป็นการฝึกให้นักเรียนคิด โดยใช้ ทักษะการสังเกต การพิจารณา ซึงจะช่วยให้สามารถมองภาพได้ ่ ชัดเจน ตัว อย่า งกิจ กรรม 1. อธิบายว่ามีอะไรเกิดขึ้นในภาพนั้น 2. อธิบายสิ่งต่าง ๆทีเกิดขึ้น 3 อย่างหรือมากกว่านั้น ่ 3. ดูภาพแล้วอธิบายโดยไม่ต้องดูอีก คาดเดาสาเหตุและลำาดับขั้น ตอนของสิ่งที่เกิดขึ้นในภาพนั้น 4. คิดหัวข้อเรื่องจากภาพ เลือกชื่อเรื่องจาก การคิด และชื่อเรื่องที่คิดว่าดีที่สุด 5. จินตนาการว่ามีอะไรแอบแฝงอยู่ในภาพหรือนอกเหนือจาก กรอบภาพนั้น 6. ให้นักเรียนวาดภาพเพิ่มเติมที่คิดว่าเป็นส่วนที่ยังขาด เพือให้ ่ ภาพนั้นมรความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
  • 51. 5. เทคนิค ของ Chenfeld เทคนิคของ Chenfeld เป็นวิธีฝกการคิด โดย ึ ใช้คำาถามกระตุนให้เกิดการขยายขอบเขต การคิด ้ สร้างจินตนาการ และถ่ายทอดความคิดออกมาใน ลักษณะการพูดหรือการเขียน • คำาถามทีใช้ ่ ...มีอะไรอีก • ...ถ้ามี ...อะไรจะเกิดขึ้น • ...ถ้าไม่มี ...จะเป็นอย่างไร • คำาพูดกระตุ้นความคิด • ...ให้แสดงออกมา • ...คิดขึ้นมา
  • 52. ตัว อย่า งกิจ กรรม 1. ให้นกเรียนดูภาพ แล้วเขียนสิ่งทีเห็นมาให้มากทีสุด ั ่ ่ จากนั้นจึงอ่านให้เพื่อนฟัง 2. ครูใช้คำาถามว่า ...มีอะไรอีก ให้ทกคนช่วยกันตอบ ุ หลาย ๆครั้ง จะได้รายละเอียดของภาพเพิมขึ้น ่ 3. ให้นกเรียนช่วยกันคิดคำาถามจากภาพ โดยใช้คำาถาม ั ว่า ถ้ามี ... หรือถ้าไม่มี ...จะเกิดอะไรขึ้น 4. ให้คาดเดาว่าภาพทีถูกบังเอาไว้จะเป็นภาพหรือ ่ เหตุการณ์ใด โดยการช่วยกันเล่าต่อกันหรือเล่าเป็นรายบุคคล 5. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ให้ช่วยกันแต่งเรื่องขึ้นใหม่ โดยดูจากภาพเดิม และให้มข้อมูลเก็บจากข้อมูลทีเห็นจาก ี ่ ภาพ จากนันจึงส่งผู้แทนกลุ่มนำาเสนอเรื่อง ้ 6. ให้นกเรียนสรุปสิงที่ได้จากการทำากิจกรรม รวมทัง ั ่ ้
  • 53. 6. เทคนิค การใช้น ิท าน การฝึกคิดโดยการใช้นทานเล่าเรื่อง หรือ ิ อ่านนิทานร้อยแก้ว – ร้อยกรอง จะช่วยกระตุ้น ให้เกิดความคิดที่หลากหลาย
  • 54. 7. เทคนิค การใช้ส ถานการณ์ / ปัญ หา เทคนิคการใช้สถานการณ์หรือปัญหา เป็นการฝึกให้นักเรียนคิดและสร้างทางเลือกที่ หลากหลาย ซึ่งสามารถใช้สถานการณ์หรือปัญหา จากหนังสือพิมพ์ วารสารต่างๆ หรือเหตุการณ์ใน ชีวิตประจำาวันที่น่าสนใจ ครูผู้สอนอาจดำาเนินการ โดยให้นักเรียนคิดตั้งคำาถาม หาวิธีอธิบาย หรือคิด หาวิธีแก้ปญหานั้น ๆ ั
  • 56. ภาพความสำาเร็จในการพัฒนาความ สามารถการคิด คือ นักเรียนมีความ สามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดอย่างมีวารณญาณและคิดสร้างสรรค์ โดยผ่านกระบวนการบริหารการจัดการ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนา บุคลากร การจัดบรรยากาศแหล่งการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะการดำารง ชีวิต การนิเทศภายในการให้ชุมชนได้มี ส่วนร่วม และการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพ ซึ่งสำานักงานเขตพืนที่การศึกษา ้ และสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน จะเป็นหน่วยงานสนับสนุนให้
  • 57. Ć÷ đĊ î Öø î Ù üÙć Ā Ù ÿĆ ø ą Ť ĉĂ ŠöĊć èâć ǰǰÙ ǰǰǰǰǰ éđ ǰǰ é đ Ù ǰǰ é ć ĉ ĉ ĉ ø ą Ť ĉ Ü ć Ā Ù ÷ Üü ø è ĉ Ý é ǰǰǰǰǰǰǰǰÿø Ü ø Ť š ÿø Ù ć Öą ü ÖøóĆ ć óĆ ć Ý ǰǰǰǰǰÝ ÖÖø ǰ ĉ ýǰǰß ß ö ø ï î ć ǰ ç î ǰǰǰǰǰ ç î ǰǰ Ć Ć ĉ ø öî đ é éÝ ì čî ǰ ö Ċ ǰóĆ ć çî ï ø ć ǰ ú ÿĎǰǰǰǰï čú Öǰǰǰǰǰǰǰï ø ÷ Öýǰǰǰǰǰǰǰđ ĉÿø ÜĆ ǰǰǰǰõć ĔǰǰǰǰǰÿŠ ø ö Ā ĉ øĀ Ć ê Ö ø Ùć ø øć ć ÿø š ì Ö ö ć þą ÷î ü Š ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ î ü ø ï ï ðø Ö ą ąĆî ǰǰǰǰǰÝ Öø ĂēÜ Ċ ǰǰǰǰǰǰǰé î Öø ĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰĒ ú Öøø î ǰǰǰǰÖø ĞÜĊǰǰǰǰǰǰ é Ć ć × Ü đ÷ ø øî ć š ćÙ é Ā Šć đĊ Ü ÷ ć é øß ĉ ć ü ê Ù õć è č óǰ øǰ š Ď ǰÿ.ó.ì . ÿø Üü ǰǰǰǰǰǰǰǰǰóĆ ć Ďĉć ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿø Ü ø × ÷î ĉ ýê ê ö ć â š×Ć çî ñ ø ø ï šĀ š đ Č Šǰ đ ĉ ć ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ć ÙĂ ć ì é Ý Ē Üú ć é Ć ÿé ñ Üî ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÖú Ĕǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰýċþć ĉ ýÖø ü ć ć ǰǰðø đ î ñ ćÜ ĞĆÝ ì Ùǰǰ ß Ö î đ Ť Ď ĉ Öø ąöĉ ú ǰǰÖø ĉ ćÙ é ÿóå. Ý ì Ğę é ÿČ Ćć Ă ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰóĆ ć Ď ĉć ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿø Üú óĆ ć çî ñ ø ø ï šĀ š Ē ą ç î ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ć đ ĉ ć ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿî Ć čǰ î ĉ ýê ê ö ì é ï ÿî î ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÙ Č î ü ć ǰǰǰǰýċþć ĉ ýÖø Š ĎĒ ì Ü Ö î đ Ť Ď öĂ ì Ùǰ ą ÙČ Š ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ø ï ï đø × ÷ Ăć ðø đ î ñ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÜðø ö èǰ ąöĉ ú ï ąć
  • 58. การบริห ารจัด การให้ เกิด การพัฒ นา ความสามารถการคิด ในสถานศึก ษา
  • 59. ผู้บริหารสถานศึกษา เป็นบุคคล สำาคัญในการส่งเสริมสนับสนุนและ บริหารจัดการให้บคลากรในสถาน ุ ศึกษา ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้ ความร่วมมือ และการดำาเนินการพัฒนา นักเรียน ให้มีความสามารถในด้านการ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิด สร้างสรรค์ ผู้บริหารจึงควรจัดกระบวนการ บริหารจัดการภายในสถานศึกษา เพือ ่ ให้เกิดการพัฒนาความสามารถการคิด โดยมีองค์ประกอบที่เกียวข้อง ดังนี้ ่
  • 60. การพัฒนา หลักสูตร การพัฒนา การจัดระบบ ประกันคุณภาพ การจัด กระบวนกา บรรยากาศและ รบริห ารเพื่อ แหล่งเรียนรู้ การสนับสนุน ส่ง เสริม การ ของชุมชน คิด การนิเทศ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะ ภายใน การดำารงชีวิต
  • 61. 1. การพัฒ นาหลัก สูต ร - วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ทคาดหวัง ี่ ทีเกี่ยวกับการคิดในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ่ - จัดทำาหน่วยการเรียนรู้ / แผนการจัดการเรียนรู้ ให้มความสอดคล้องกับมาตรฐานโดยมีการบูรณาการคิด ี - จัดทำาสื่อทักษะการคิด - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ฝึกทักษะการติดตาม แผนทีกำาหนด ่ - วัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ดานการคิด ้ - วิจัย ปรับปรุง / พัฒนาหลักสูตรและ กระบวนการจัดการเรียนรู้
  • 62. 2. การพัฒ นาบุค ลากร จิตวิญญาณ มีทกษะ ั ความเป็นครู การคิด ใช้ ICT เพื่อ พัฒนาการ คิด บูรณาการ พัฒ นา สอนด้วย บุค ลากรให้ การคิด ดูแลช่วยเหลือ นักเรียนให้เป็น ใช้สื่อ นักคิด นวัตกรรมการ สอนส่งเสริม
  • 63. 3. การจัด บรรยากาศและแหล่ง การเรีย นรู้ มีการจัดบรรยากาศและแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการสร้างเสริมทักษะ การคิด การจัด บรรยากาศและแหล่ง การเรีย นรู้ แหล่งเรียนรู้ภายนอก แหล่งเรียนรู้ ภายใน - สถานประกอบการ - ห้องสมุด - พิพิธภัณฑ์ - ห้องปฏิบัติการกลุ่ม สาระ - วัด / โบสถ์ - ห้องโสตทัศนศึกษา - ภูมิปัญญาท้องถิ่น - สวนพฤกษา ศาสตร์ - ฯลฯ - ห้องเรียนธรรมชาติ
  • 64. 4. การจัด กิจ กรรมเสริม สร้า ง ทัก ษะการดำา รงชีว ิต กิจกรรมลูกเสือ ชมรม, เนตรนารี โครงงาน ยุวกาดชาด ชุมชน ผู้ที่บำาเพ็ญประโยชน์ กิจ กรรม เสริม สร้า ง ทัก ษะการ ดำา รงชีว ิต กิจกรรม เสริม แนะแนว หลักสูตร
  • 65. 5. การนิเ ทศภายใน - เยี่ยมชั้นเรียน สังเกตการณ์สอน - ให้คำาปรึกษาและแนะนำาด้านการพัฒนาความ สามารถการคิด - จัดประชุมพัฒนาสื่อทักษะการคิดอย่างต่อเนือง ่ - ศึกษาดูงาน สถานบันหรือโรงเรียนทีส่งเสริมการ ่ คิด - อำานวยความสะดวกและสนับสนุนทรัพยากร เช่น หนังสือ สื่อ แบบฝึกการคิด งบประมาณ - สร้างขวัญกำาลังใจ เช่น การประกวดผลการคิด สร้างสรรค์ การยกย่องเชิดชูเกียรติ
  • 66. 6. การสนับ สนุน ของชุม ชน - ชุมชน หมายถึง - เครือข่ายองค์กรส่วนท้องถิน ( อบต. อบจ. ฯลฯ ) ่ - เครือข่ายองค์กรวิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ( สาธารณสุข เกษตร พัฒนากร ฯลฯ) - เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน - กรรมการสถานศึกษาขันพื้นฐาน ้ - เครือข่ายผู้อุปถัมภ์ - ดำาเนินการสนับสนุนในลักษณะต่อไปนี้ 1. ประสานความร่วมมือจากผู้ปกครองในด้าน - โครงการ “ อ่าหนังสือให้ลูกฟัง ” - การเล่านิทาน - พาบุตรไปใช้แหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสม 2. จัดให้มีการ - เชิญภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ความรู้ - ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ - จัดให้ศึกษาดูงาน 3. สนับสนุนงบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์ ด้าน ICT
  • 67. 7. การจัด ระบบรับ ประกัน คุณ ภาพ - จัดให้มีระบบรับประกันคุณภาพในโรงเรียน - มีการประเมินภายในและสนับสนุนการประเมิน ภายนอกโดยเน้นด้านการคิด - ให้มีรายงานการประเมินตนเองที่ปรากฏผลด้านการ คิด - มีผลการประเมินภายในและภายนอกด้านการคิด การพัฒนาความสามารถการคิดจะเกิดขึ้นและ บรรลุผลได้ตามวัตถุประสงค์ ถ้ามีการบริหารจัดการที่ ดี ต่อเนื่อง และครอบคลุม ผู้บริหารและคณะจึงใช้ เทคนิคและวิธีการในการบริหารจัดการอย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งจะนำาไปสูการพัฒนา ่