SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 22
Downloaden Sie, um offline zu lesen
การตรวจสอบเงินชดเชยคางานกอสราง
       ตามสญญาแบบปรบราคาได (คา
       ตามสัญญาแบบปรับราคาได (คา K )
                     สถาบันฝกอบรมโยธาไทย
                                                    ธ.ค. 2553   1




ความเปนมาของการใชสัญญาแบบปรับราคาได (คา K )
 1. การนํามาตรการ การใชคา K มาใชในป พ.ศ. 2516 - 2524
 2. การยกเลิกมาตรการ การใชคา K พ.ศ. 2524 - 2531
  3. การนํามาตรการ การใชคา K ชั่วคราวมาใชในป พ.ศ.
     2531 - 2532
  4. การนํามาตรการ การใชคา K มาใชอยางถาวรใน ป พ.ศ.
     2532 – ปจจุบัน (ว 109 /ลว 24 ส.ค.32 ,มติ ครม. 27 มิ.ย. 32)
                                                                2




                                                                    1
ความเปนมาของการใชสัญญาแบบปรับราคาได (คา K )
 5. มอบอํานาจใหหนวยงานภาครัฐเจาของสัญญา คํานวณ
   คา K เอง กรณีีสัญญาจางไมเกิน 50 ลานบาท
                           ไ ิ
   (ว 114/ลว 15 มิ.ย. 44 , มติ ครม. 5 มิ.ย. 2544)
  6. การอนุมัติเงินชดเชยเพิ่มเติม โดยใหคํานวณในอัตรา
    บวก/ลบ รอยละสอง เปนการชั่วคราว ตั้งแต 1 ต.ค. 51
    ถึง 30 ก.ย. 2552 (ว100/ลว 13 ส.ค.51 ,มติ ครม. 8 ก.ค. 51)
                                                                   3




ความเปนมาของการใชสัญญาแบบปรับราคาได (คา K )
 7. หนังสือกรมการปกครอง ว 134 ลว 1 ส.ค. 41
   สัั่งการใหองคกรปกครองสวนทองถิิ่น ถืือปฏิบัติใชคา k
           ใ          ป                         ป ิ




                                                                   4




                                                                       2
เจตนารมณของการใชสัญญาแบบปรับราคาได (คา K )
   - เพื่อชวยเหลือผูรับจางไทยใหสามารถประกอบกิจการ
 ตอไปไดในชวงทเกดภาวะวสดุกอสรางขาดแคลนและมราคา
   ไปไ ใ  ี่ ิ              ั                     ี
 สูงขึ้น
   - ชวยลดความเสี่ยงของผูรับจางและปองกันมิใหผูรับจาง
 บวกราคาเพื่อการเปลี่ยนแปลงของราคาวัสดุไวลวงหนาจํานวน
 มาก
    - เพื่อใหเกิดความเปนธรรมตอคูสัญญาทังสองฝาย
                                           ้
                                                         5




   หลักการ การใหความชวยเหลือผูประกอบอาชีพงาน
   กอสรางตามติ ครม. ว 109 6 ขอดังนี้
                 ครม.
        1. ใ นําสัญญาแบบปรับราคาได มาใชกับสัญญาที่ลงนาม
           ให ั          ปั         ไ ใ  ั         ี
 หลังวันที่ 28 มิถุนายน 2531 โดยมีเงื่อนไขหลักเกณฑ ประเภทงาน
 กอสราง สูตรและวิธีการคํานวณ (ดังเอกสารผนวก ก.)
        2. ใ นําสัญญาแบบปรับราคาได มาใชเปนการถาวร
           ให ั         ปั     ไ ใ
 โดยมีเงื่อนไข หลักเกณฑ ประเภทงานกอสราง สูตร และ
 วิธีการคํานวณ (ดังเอกสารผนวก ข.)
                                                         6




                                                                3
หลักการ การใหความชวยเหลือผูประกอบอาชีพงาน
  กอสรางตามมติ ครม. ว 109
                 ครม.
      3. ใหนํามาใชกับงานกอสรางของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ
หนวยงานตามกฎหมายวาดวยการบรหารราชการสวนทองถน หรอ
หนวยงานตามกฎหมายวาดวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น หรือ
หนวยงานอื่นของรัฐ ในกรณีที่จําเปนตองเพิ่มเงิน ใหใชจาก
งบประมาณของหนวยงานนั้นเอง หรือจายตามสัดสวนแหลงที่มา
ของเงินคากอสรางนั้น
      4. กรณทผู าจางตองจายเงนชดเชยเพม จนทาใหเกนวงเงน
      4 กรณีที่ผวาจางตองจายเงินชดเชยเพิ่ม จนทําใหเกินวงเงิน
งบประมาณที่ไดรับอนุมัติ ใหถือวาไดรับอนุมัติจาก ครม. ใหกอหนี้
ผูกพันเกินกวางบประมาณ ตามนัย ม. 23 แหง พรบ. วาดวย
การงบประมาณ และใหขอทําความตกลงเรื่องการเงินกับสํานักงบฯ        7




   หลักการ การใหความชวยเหลือผูประกอบอาชีพงาน
   กอสรางตามติ ครม. ว 109
                 ครม.
         5. การคํานวณเงินเพิ่มหรือลด และการจายเงินเพิ่มหรือ
 เรียกเงินคืนจากผูรับจาง ตองไดรับการตรวจสอบและเห็นชอบ
                   ู
 จากสํานักงบประมาณ(กรณีสัญญาไมเกิน 50 ลานบาท อยูในอํานาจของ
 หัวหนาหนวยงานภาครัฐเจาของสัญญาจาง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 5
 มิถุนายน 2544) และใหถอวาการวินิจฉัยของสํานักงบประมาณเปนที่
                        ื
 สนสุด
 สิ้นสด
      6. เพืื่อความรวดเร็็ว และใหการปฏิิบัติงานเปนมาตรฐาน
                               ใ ป                ป
 เดียวกัน ใหอํานาจสํานักงบประมาณในการวินิจฉัยปญหา
 ขอหารือ และกําหนดแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมได
 ตามความจําเปน                                                 8




                                                                        4
เงื่อนไขและหลักเกณฑ (ว 109)
                         109)
1. ใชกับงานกอสรางทุกประเภทรวมทั้งงานปรับปรุงและ
ซอมแซมทีเ่ บิกจายในลักษณะสิ่งกอสราง ที่อยูในเงื่อนไข
                                               ู
หลักเกณฑตามที่กําหนดนี้
2. ใชท้ังกรณีเพิ่มหรือลดคางาน จากคางานเดิมตามสัญญา เมื่อ
ดัชนีราคาซึงจัดทําโดยกระทรวงพาณิชย มีการเปลี่ยนแปลง
            ่
สูงขึ้นหรือลดลงจากเดิมขณะเมื่อวันเปดซองประกวดราคา
สําหรับการจัดจางโดยวิธีอื่นใหใชวันเปดซองราคาแทน
                                                                     9




 เงื่อนไขและหลักเกณฑ (ว 109)
                         109)
3. ผูวาจางตองแจงและประกาศใหผูรับจางทราบ และตองระบุใน
สัญญาจางดวยวาจะใชสัญญาแบบปรับราคาได พรอมทั้งกําหนด
ประเภทงานกอสราง สตร และวิธีการคํานวณใหชัดเจน
ประเภทงานกอสราง สูตร และวธการคานวณใหชดเจน
          -กรณีประกาศประกวดราคาหรือหนังสือเชิญชวนเสนอราคาไมไดกําหนด
วาจะใชสัญญาแบบปรับราคาได ถึงแมสัญญาไดระบุวาเปนสัญญาแบบปรับราคา
ได ก็ถือวาไมถูกตองตามเงื่อนไขฯ ของสัญญาแบบปรับราคาได
         -กรณีประกาศประกวดราคาหรืือหนังสือเชิญชวนเสนอราคากําหนดวาจะ
                                            ื
ใชสญญาแบบปรับราคาได แตสัญญาไมไดระบุวาเปนสัญญาแบบปรับราคาได ก็ถือ
    ั
วาไมถูกตองตามเงื่อนไขฯ หากผูรับจางประสงคจะแกไขสัญญาจางใหเปนสัญญา
แบบปรับราคาได ใหอยูในดุลยพินิจของผูวาจางที่ตองดําเนินการ
                                                                      10




                                                                             5
เงื่อนไขและหลักเกณฑ (ว 109)
                         109)
 4. เปนหนาที่ของผูรับจางตองขอเงินเพิ่มภายใน 90 วันนับตั้งแตสง
                     
 มอบงานงวดสุดทายและในกรณีผูวาจางตองเรียกเงินคืนจาก
                                    
 ผู ับจางใหเรียกคืนโดยเร็ว
 ผรบจางใหเรยกคนโดยเรว
          -การนับระยะเวลา 90 วัน ใหเริ่มนับถัดจากวันที่ผูรบจางมีหนังสือสง
                                                            ั
 มอบงานงวดสุดทาย จนถึงวันที่ผูวาจางประทับตรารับหนังสือที่ผรบจางขอเงิน
                                                                  ูั
 เพิ่มคางานกอสรางตามสัญญาแบบปรับราคาได
          -การนับระยะเวลา 90 วัน หากวันครบกําหนดตรงกับวันเสาร อาทิตย
 หรืือวันหยุดราชการ ใหหักวันหยุดราชการนั้นออก
        ั              ใ  ั                 ั
          -ผูรับจางจะสงวนสิทธิเรียกรองในการขอเงินคา K เกินกวาระยะเวลา
 90 วัน นับตั้งแตวันที่สงมอบงานงวดสุดทายไมได
          -กรณียกเลิกสัญญาจางกอนที่ผูรับจางจะสงมอบงานงวดสุดทาย ใหถือ
                                                                          11
 วันที่ยกเลิกสัญญาจางเปนวันสงมอบงานงวดสุดทาย




 เงื่อนไขและหลักเกณฑ (ว 109)
                         109)
5. การพิจารณาคํานวณเงินเพิ่มหรือลด และการจายเงินเพิมหรือ
                                                    ่
เรียกเงินคืนจากผูรบจางตองไดรับการตรวจสอบและเห็นชอบจาก
                   ั
สานกงบประมาณโดยใหถอการวนจฉยของสานกงบประมาณเปน
สํานักงบประมาณโดยใหถือการวินจฉัยของสํานักงบประมาณเปน
                                  ิ
ที่สิ้นสุด
 -กรณีสัญญาไมเกิน 50 ลานบาท หัวหนาหนวยงานภาครัฐเจาของสัญญาจาง
ตองตรวจสอบและเห็นชอบ (ตามมติคณะรัฐมนตรี ว 114 เมื่อ 5 มิ.ย. 2544)
 -กรณีสญญาเกิน 50 ลานบาท หนวยงานภาครัฐเจาของสัญญ างตอง
        ั
        ญญ                                           ญญาจ
ตรวจสอบ และสงใหสํานักงบประมาณตรวจสอบและเห็นชอบ
- กรณีเงินชดเชยเพิ่มเติมชั่วคราว ที่สงงานในปงบประมาณ 2551 ใหหัก + 2 %
ตามมติคณะรัฐมนตรี ว 126 เมื่อ 8 ก.ค. 2551 หนวยงานภาครัฐเจาของสัญญา
จางตองตรวจสอบ และสงใหสํานักงบประมาณตรวจสอบและเห็นชอบ 12




                                                                                6
มติ ครม. ว 114 เมือวันที่ 5 มิถุนายน 2544
    ครม.          ่
          1. มอบอํานาจใหหนวยงานภาครัฐเจาของสัญญาจาง
  กอสรางแบบปรับราคาไดมีอํานาจในการพิจารณาคํานวณเงินเพิ่ม
  หรือลด และอนุมัติจายเงินเพิ่มหรือเรียกเงินคืน สําหรับสัญญา
  จางที่มีวงเงินไมเกิน 50 ลานบาท
           2. การกระจายอํานาจความรับผิดชอบของสํานัก
  งบประมาณใหแกหนวยงานภาครฐดงกลาวใหถอปฏบตตงแต
  งบประมาณใหแกหนวยงานภาครัฐดังกลาวใหถือปฏิบติตั้งแต
                                                        ั
  ปงบประมาณ พ.ศ. 2545 (1ต.ค.44) เปนตนไป
        3. เมื่ออนุมัติจายเงินเพิ่มหรือเรียกเงินคืนแลวตองรายงาน
 ใหสํานักงบประมาณทราบภายใน 15 วัน นับแตวันอนุมัติ                              13




  มติคณะรัฐมนตรี ว 126 วันที่ 8 กรกฎาคม 2551
          อนุมัติเงินชดเชยเพิ่มเติมคางานกอสรางตามสัญญาแบบปรับราคาได(คา
K) ดวยการผอนผันวิธีการคํานวณคา K โดยใหหกในอัตราบวก/ลบรอยละ 2 เปน
                                                 ั
การชั่วคราว ตังแตวนที่ 1 ตุลาคม 2550 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2551 เฉพาะสัญญา
                 ้ ั
จางทไดดาเนนงานกอสรางแลวเสรจและสงมอบงานงวดสุดทายแลวเทานน
จางที่ไดดําเนินงานกอสรางแลวเสร็จและสงมอบงานงวดสดทายแลวเทานั้น
  หนังสือสํานักงบประมาณ ว 100 ลงวันที่ 13 ส.ค. 2551
 - เงินชดเชยเพิ่มเติม + 2 % ไดเฉพาะงวดงานที่ไดสงมอบงานระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2550 ถึง
 วันที่ 30 กันยายน 2551 เทานั้น
 - ผูรับจางตองดําเนินการแลวเสร็จตามสัญญา และมีการสงมอบงานงวดสุดทายเรียบรอยแลว
 - ตองขอภายใน 90 วันทําการนับแตวันที่ ครม. มีมติ หรือ 90 วันนับแตสงมอบงานงวดสุดทาย
                                                                                  ุ
 - สวนราชการฯ คูสัญญาตองพิจารณาและตรวจสอบใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน นับจากวันที่
 ไดรับหนังสือขอรับความชวยเหลือของผูรับจาง
 - การพิจารณาคํานวณเงินชดเชยเงินเพิ่มเติมคางานกอสรางตามสัญญาแบบปรับราคาได ( คา
 K ) ตองไดรับการพิจารณาตรวจสอบ และเห็นชอบจากสํานักงบประมาณ และใหถือวาการ
                                                                                 14
 วินิจฉัยของสํานักงบประมาณเปนที่สิ้นสุด




                                                                                           7
เอกสารประกอบการพิจารณาของหนวยงานของรัฐผูวาจาง
                                           
    1. สําเนาประกาศแจงความประกวดราคา พรอมเอกสารประกอบราคาจางหรือใบ
    เสนอราคาดวยวิธีอื่น ที่ระบุเงื่อนไข หลักเกณฑฯ คา K
    2. สําเนาสัญญาจางเหมากอสราง ที่ระบุเงื่อนไข หลักเกณฑฯ คา K
    3. สําเนาหนังสือการตออายุสัญญ ( ามี)
                                  ุ ญญา(ถ
    4. สําเนาหนังสือสงมอบงานของผูรับจาง (ทุกงวดที่ขอเงินชดเชย)
    5. ตนฉบับหนังสือที่ผูรับจางเสนอขอรับเงินชดเชย พรอมวิธีการคํานวณ คา K
    6. ตนฉบับหนังสือการคํานวณ รายละเอียดประมาณราคาของผูประกอบการ
     ทั้งคางานสวนที่เพิ่มขึ้นและสวนที่ลดลงเพื่อเรียกเงินคืน
    7. สําเนาดัชนีราคาวัสดกอสราง เดือนเปดซองประกวดราคา หรอเสนอราคาโดยวธี
         สาเนาดชนราคาวสดุกอสราง เดอนเปดซองประกวดราคา หรือเสนอราคาโดยวิธ
    อื่น และเดือนที่สงมอบงานทุกเดือน (รับรองสําเนาถูกตองโดยผูประกอบการ)
    8. หนังสือแจงใหผูรับจางเขาปฏิบัติงาน (ถามี)
    *** กรณีคําขอ ไมถูกตองครบถวนหรือไมสมบูรณ ใหแจงผูรับจางทราบทั้งหมด
    ในคราวเดียวกัน ภายใน 10 วันทําการ ***                                      15




เอกสารประกอบการพิจารณาของสํานักงบประมาณ พรอมรับรองความถูกตอง
    1. สําเนาประกาศแจงความประกวดราคาพรอมเอกสารประกวดราคาจางหรือในเสนอ
    ราคาโดยการวาจางวิธีอื่น ที่ระบุเงื่อนไข หลักเกณฑฯ คา K
    2. สําเนาสัญญาจางเหมากอสราง ที่ระบุเงื่อนไข หลักเกณฑฯ คา K
    3. สําเนาหนังสือการตออายุสัญญา(ถามี)
    4. สําเนาหนังสือสงมอบงานของผูรับจาง (ทุกงวดที่ขอเงินชดเชย)
    5. สําเนาดัชนีราคาวัสดุกอสราง เดือนเปดซองประกวดราคา หรือเสนอราคาโดยวิธี
    อื่น และเดือนที่สงมอบงานทุกเดือนที่ขอเงินเพิ่ม
    6. สําเนาบัญชีรายละเอียดการกอสรางของผรับจาง (Bill of Quantities)
        สาเนาบญชรายละเอยดการกอสรางของผู บจาง
    7. หนังสือขอรับเงินชดเชยของผูรับจางที่สวนราชการประทับตรารับ พรอมวิธีการ
    คํานวณ
    8. หนังสือแจงใหผูรับจางเขาปฏิบัติงาน หรือเอกสารอื่น ๆ เชน หนังสือตอบขอหารือ
    จากสํานักงบประมาณ (ถามี)                                                     16




                                                                                         8
มาตรฐานการปฏิบัติงานของประกาศคณะกรรมการวาดวย
การปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนของหนวยงานภาครัฐได
กําหนดระยะเวลาในการตรวจสอบอนุมติและเบิกจายเงิน
                                ั
1. หนวยงานของรัฐผูวาจางดําเนินการกอนสงสํานักงบประมาณ
                       
 -หนวยงานของรัฐตั้งอยูในสวนกลาง ระยะเวลา 30 วันทําการ
 -หนวยงานของรัฐตั้งอยูในสวนภูมิภาค ระยะเวลา 40 วันทําการ
2. สํํานัักงบประมาณพิจารณาอนุมติ ระยะเวลา 20 วัันทําการ
             ป       ิ           ั                     ํ
3. หนวยงานของรัฐขอเบิกเงิน            ระยะเวลา 10 วันทําการ
4. กรมบัญชีกลางพิจารณาอนุมัติฎีกา ระยะเวลา 3 วันทําการ
5. หนวยงานของรัฐแจงผูรับจางรับเงิน ระยะเวลา 7 วันทําการ    17




 ประเภทงานกอสรางและสูตร (ผนวก ข. ว 109)
                                ข. 109)
  ในการพิจารณาเงินเพิ่มหรือลดคางานใหคํานวณตามสูตร
        P = (Po) x (K)
   P = ราคาตอหนวยหรือราคาคางานเปนงวดที่จะตองจายให
        ผูรับจาง
   Po = ราคาคางานตอหนวยที่ผูรับจางประมูลไดหรือราคาคา
        งานเปนงวดซงระบุไวในสญญาแลวแตกรณ
        งานเปนงวดซึ่งระบไวในสัญญาแลวแตกรณี
   K = ESCALATION FACTOR ที่หักดวย 4 % เมื่อตองการ
        เพิ่มคางาน หรือบวกเพิ่ม 4 % เมื่อตองเรียกคางานคืน
                                                               18




                                                                    9
ประเภทงานกอสรางและสูตร
ESCALATION FACTOR K หาไดจากสูตร ซึ่งแบงตาม
ประเภทงานและลกษณะงาน เปน
ประเภทงานและลักษณะงาน เปน 5 หมวด 35 สตร ดังนี้
                                    สูตร ดงน
หมวดที่ 1 งานอาคาร        1 สูตร
หมวดที่ 2 งานดิน           3                     สูตร
หมวดที่ 3 งานทาง           7                     สูตร
                                                   ู
หมวดที่ 4 งานชลประทาน      7                     สูตร
หมวดที่ 5 งานระบบสาธารณูปโภค 17                  สูตร
(ใชเฉพาะการไฟฟาฝายผลิตฯและการไฟฟาสวนภูมิภาค 7 สูตร)             19




สูตร งานอาคาร ( K 1 )
งานอาคาร หมายถึง ตัวอาคาร เชน ที่ทําการ โรงเรียน โรงพยาบาล หอพัก ที่
อยูอาศัย หอประชุม อัฒจันทร ยิมเนเซียม สระวายน้ํา โรงอาหาร คลังพัสดุ
โรงงาน รั้ว เปนตน และใหหมายความรวมถง
         รว เปนตน และใหหมายความรวมถึง
      1. ไฟฟาของอาคารบรรจบถึงสายเมนจําหนาย แตไมรวมถึงหมอ
แปลงและระบบไฟฟาภายในบริเวณ
      2. ประปาของอาคารบรรจบถึงสายเมนจําหนาย แตไมรวมถึงระบบ
ประปาภายในบริเวณ
        3. ระบบทอหรือระบบสายตาง ๆ ที่ตดหรือฝงอยูในสวนของอาคาร
                                         ิ          
เชน ทอปรับอากาศ ทอกาซ สายไฟฟาสําหรับเครื่องปรับอากาศ สายลอฟา
ฯลฯ                                                                 20




                                                                          10
สูตร งานอาคาร ( K 1 )
           4. ทางระบายน้ําของอาคารจนถึงทางระบายน้ําภายนอกอาคาร
            5. สวนประกอบที่จําเปนสําหรับอาคาร เฉพาะที่ตดกับอาคารโดย
                                                         ิ
  ตองสรางหรือประกอบพรอมกับการกอสรางอาคาร แตไมรวมถึง
  เครื่องจักรกลหรือเครื่องมือกลที่นํามาประกอบหรือติดตัง เชน ลิฟท เครื่อง
                                                      ้
  คอมพิวเตอร เครื่องสูบน้ํา เครื่องปรับอากาศ พัดลม ฯลฯ
           6. ทางเทารอบอาคาร ดินถม ดินตัก หางจากอาคารโดยรอบไมเกิน 3
  เมตร
  ใชสูตร K = 0.25 + 0.15It/Io + 0.10Ct/Co + 0.40Mt/Mo + 0.10St/So

                                                                               21




สูตร งานอาคาร ( K 1 )
ใชสูตร K = 0.25 + 0.15It/Io + 0.10Ct/Co + 0.40Mt/Mo + 0.10St/So
It = ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปของประเทศ ในเดือนที่สงงานแตละงวด
Io = ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปของประเทศ ในเดือนที่เปดซองประกวดราคา
Ct = ดัชนีราคาซีเมนต ในเดือนที่สงงานแตละงวด
Co = ดัชนีราคาซีเมนต ในเดือนที่เปดซองประกวดราคา
Mt = ดัชนีราคาวัสดุกอสราง(ไมรวมเหล็กและซีเมนต)ในเดือนที่สงงานแตละงวด
                   ุ
Mo = ดัชนีราคาวัสดุกอสราง(ไมรวมเหล็กและซีเมนต)ในเดือนที่เปดซองประกวดราคา
                    
St = ดัชนีราคาเหล็ก ในเดือนที่สงงานแตละงวด
So = ดัชนีราคาเหล็ก ในเดือนที่เปดซองประกวดราคา                                22




                                                                                    11
ประเภทงานที่ไมนํามาคํานวณคาK 1 งานอาคาร
           1. ระบบไฟฟาภายในบริเวณนอกอาคาร ระบบไฟฟาแรงสูง หมอแปลงไฟฟา
 มิเตอรไฟฟา เครื่องกําเนิดไฟฟา ตู MBD ที่อยูนอกอาคาร ไฟฉุกเฉิน งานประสานการ
 ไฟฟา
           2. ระบบประปาภายในบริเวณนอกอาคาร มิเตอรน้ํา เครื่องสูบน้ํา งานภูมิ
 สถาปตย เชน ปลูกหญา จัดสวน ปลูกตนไม
           3. รายการครุภัณฑที่ไมใชสวนประกอบของตัวอาคาร (Built in) สามารถยกได
 เคลื่อนยายได เชน โตะ เกาอี้ เตียงนอน ตู
           4. รายการครุภัณฑของงานระบบตาง ๆ รวมทั้งเครื่องจักร และเครื่องมือกลตาง
 ๆ เชน เครื่องปรับอากาศ เครื่องเสียง ลําโพง อุปกรณโสตทัศนูปกรณ โทรศัพท พัดลม ถัง
    
 กาซ ตูดับเพลง ถงดงเพลงเคมี เครองตรวจอาวุธ ลฟต บนไดเลอน คอมพวเตอร แทงคนา
                ิ ั ั ิ                 ื่          ิฟ ั ไ ื่          ิ           ้ํ
 เปนตน
           5. งานรื้อถอนอาคาร ปกผัง สํานักงานชั่วคราว บานพักคนงาน งานทดสอบ
 ระบบตาง ๆ ทดสอบสภาพดิน ทดสอบเสาเข็ม งานทําความสะอาด รั้วลวดหนามที่ไมมี
 คานคอนกรีต เสาธง นั่งราน เหล็กปองกันดินพัง (SHEET PILE)                          23




สูตร งานดิน ( K 2.1 )
         งานดิน หมายถึง การขุดดิน การตักดิน การบดอัดดิน การขุดเปดหนาดิน
การเกลี่ยบดอัดดิน การขุด-ถมบดอัดแนนเขื่อน คลอง คันคลอง คันกั้นน้ํา คันทาง
ซึ่งตองใชเครืองจักรเครื่องมือกลปฏิบัตงาน
               ่                       ิ
         สํําหรัับการถมดิินใหหมายความถึงการถมดินหรือทรายหรือวัสดุอ่ืน ทีมี
                            ใ            ึ        ิ ื          ื ั      ี่
การควบคุมคุณสมบัตของวัสดุน้น และมีขอกําหนดวิธการถม รวมทังมีการบด
                       ิ         ั                   ี           ้
อัดแนนโดยใชเครื่องจักร เครืองมือกล เพื่อใหไดมาตรฐานตามที่กําหนดไว
                               ่
เชนเดียวกับงานกอสรางถนนหรือเขื่อนชลประทาน
         ทั้งนี้ใหหมายความรวมถึง EMBANKMENT(ถมคันทาง) ,
EXCAVATION(งานขุด) , SUBBASE(งานรองพื้นทาง), SELECTED
MATERIAL(วัสดุคัดเลือก) , UNTREATED BASE และ SHOULDER(งาน
ไหลทาง)
         ใชสูตร K = 0.30 + 0.10It/Io + 0.40Et/Eo + 0.20Ft/Fo           24




                                                                                         12
ประเภทงานที่ไมนํามาคํานวณคาK 2.1 งานดิน
       1. งานถมดินบริเวณเกาะกลางถนน (EARTH FILL IN MEDIAN L&
 ISLAND)
       2. งานปลูกหญา
       2 งานปลกหญา (SODDING)
          3. งานดินคลุมผิว (TOPSOIL)
          4. งานตัดตนไม (TREE CUT)




                                                                               25




สูตร งานหินเรียง ( K 2.2 )
         งานหินเรียง หมายถึง งานหินขนาดใหญนํามาเรียงกันเปนชั้นใหเปน
ระเบียบจนไดความหนาที่ตองการ โดยชองวางระหวางหินใหญจะแซมดวยหิน
                             
ยอยหรือกรวดขนาดตาง ๆ และทรายใหเต็มชองวาง มีการควบคุมคุณสมบัตของ        ิ
วััสดุและมีขอกําหนดวิิธีปฏิบัติ โ ใ เครืองจัักร เครืื่องมืือกล หรือแรงคน และให
           ี ํ              ิ โดยใช ื่                             ื         ใ
หมายความรวมถึงงานหินทิง งานหินเรียงยาแนว หรืองานหินใหญท่มลักษณะ
                               ้                                       ี ี
คลายคลึงกัน เพื่อปองกันการกัดเซาะพังทลายของลาดตลิ่งและทองลําน้ํา
                  ใชสูตร K = 0.40 + 0.20It/Io + 0.20Mt/Mo + 0.20Ft/Fo
สูตร งานเจาะระเบดหน 2.3
สตร งานเจา ร เบิดหิน ( K 2 3 )
                งานเจาะระเบิดหิน หมายถึง งานเจาะระเบิดหินทั่ว ๆ ไป ระยะทาง
ขนยายไปกลับประมาณไมเกิน 2 ก.ม. ยกเวนงานเจาะระเบิดอุโมงคซึ่งตองใชเทคนิค
ชั้นสูง ใชสูตร K = 0.45 + 0.15It/Io + 0.10Mt/Mo + 0.20Et/Eo + 0.10Ft/Fo26




                                                                                     13
สูตร งานผิวทาง PRIME COAT , TACK COAT , SEAL COAT ( K 3.1 )
       ใชสูตร K = 0.30 + 0.40At/Ao + 0.20Et/Eo + 0.10Ft/Fo


สูตร งานผิวทาง SURFACE TREATMENT , SLURRY SEAL ( K 3.2 )
       ใชสูตร K = 0.30 + 0.10Mt/Mo + 0.30At/Ao + 0.20Et/Eo + 0.10Ft/Fo


สูตร งานผิวทาง ASPHALTIC CONCRETE , PENETRATION
      MACADAM ( K 3.3 )
       ใชสูตร K = 0.30 + 0.10Mt/Mo + 0.40At/Ao + 0.10Et/Eo + 0.10Ft/Fo
                                                                       27




สูตร งานผิวถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ( K 3.4 )
          งานผิวถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หมายถึง ผิวถนนคอนกรีตทีใชเหล็ก
                                                             ่
เสริม ซึ่งประกอบดวยตะแกรงเหล็กเสนหรือตะแกรงลวดเหล็กกลาเชื่อมติด
(WELDED STEEL WIRE FARRIC) เหล็กเดือย (DOWEL BAR) เหล็กยึด
(DEFORMED TIE BAR) และรอยตอตาง ๆ (JOINT) ทั้งนี้ใหหมายความ
รวมถึงแผนพืนคอนกรีตเสริมเหล็กบริเวณคอสะพาน (R.C. BRIDGE
              ้
APPROACH) ดวย
       ใช
       ใ สูตร K = 0.30 + 0.10It/Io + 0.35Ct/Co + 0.10Mt/Mo + 0.15St/So


                                                                       28




                                                                            14
ประเภทงานที่ไมนํามาคํานวณคาK งานทาง
         1. งานไฟฟาแสงสวาง เชน เสาไฟฟาชนิดโคมเดี่ยว เสาไฟฟาชนิดโคมคู
 เสากระโดงไฟ
         2. งานสัญญาณไฟจราจร
         3. งานตเสนจราจร งานป สะทอนแสง
         3 งานตีเสนจราจร งานปุมสะทอนแสง
         4. งานภูมิทัศน เชน ปลูกตนไม ปลูกหญา
         5. ศาลาผูโดยสารประจําทาง
        6. เครื่องหมายและหลักนําทาง เชน หลักกันโคง หลักกิโลเมตร หลักเขตทาง ราว
 ปองกนอนตราย
 ป ั ั
         7. งานปายจราจร เชน แผนปาย เสาปาย
         8. งานแผนปูทางเทา ตัวหนอนปูทางเทา
                                                                             29
         9. งานทดสอบระบบ เหล็กปองกันดินพัง (SHEET PILE)




สูตร งานทอระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็กและงานบอพัก ( K 3.5)
        งานทอระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็กและงานบอพัก หมายถึง ทอ
คอนกรีตเสริมเหล็กสําหรับงานระบายน้ํา (PRECAST REINFORCED
CONCRETE DRAINAGE PIPE) งานรางระบายน้้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก งาน
ดาดคอนกรีตเสริมเหล็กรางระบายน้ําและบริเวณลาดคอสะพาน รวมทังงานบอ
                                                             ้
พักคอนกรีตเสริมเหล็กและงานคอนกรีตเสริมเหล็กอื่นที่มีรูปแบบและลักษณะ
งานคลายคลึงกัน เชน งานบอพัก (MANHOLE)ทอรอยสายโทรศัพท ทอรอย
สายไฟฟา เปนตน
สายไฟฟา เปนตน
        ใชสูตร K = 0.35 + 0.20It/Io + 0.15Ct/Co + 0.15Mt/Mo + 0.15St/So

                                                                             30




                                                                                   15
สูตร งานโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กและงานเขื่อนกันตลิ่ง
      ( K 3.6)
              งานโครงสรางคอนกรตเสรมเหลกและงานเขอนกนตลง หมายถง
              งานโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กและงานเขื่อนกันตลิ่ง หมายถึง
   สะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก โครงสรางฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กคอสะพาน
   (R.C. BEARING UNIT) ทอเหลี่ยมคอนกรีตเสริมเหล็ก (R.C.BOX
   CULVERT) หอถังน้ําโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก เขื่อนกันตลิ่ง คอนกรีต
   เสริมเหล็ก ทาเทียบเรือคอนกรีตเสริมเหล็กและสิ่งกอสรางอื่นที่มีลักษณะงาน
   คลอยคลึงกััน
            ึ
           ใชสูตร K = 0.30 + 0.10It/Io + 0.15Ct/Co + 0.20Mt/Mo + 0.25St/So

                                                                         31




สูตร งานโครงสรางเหล็ก ( K 3.7)


          งานโครงสรางเหล็ก หมายถึง สะพานเหล็กสําหรับคนเดินขามถนน
โครงเหล็กสําหรับติดตังปายจราจรชนิดแขวนสูง เสาไฟฟาแรงสูง เสาวิทยุ เสา
                     ้
โทรทัศน หรืองานโครงสรางเหล็กอื่นที่มลักษณะคลายคลึงกัน แตไมรวมถึงงาน
                                      ี
ติดตั้งเสาโครงเหล็กสายสงของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
       ใช
       ใ สูตร K = 0.25 + 0.10It/Io + 0.05Ct/Co + 0.20Mt/Mo + 0.40St/So



                                                                         32




                                                                               16
สูตร งานอาคารชลประทานไมรวมบานเหล็ก ( K 4.1)


        งานอาคารชลประทานไมรวมบานเหล็ก หมายถึง อาคารคอนกรีตเสริม
เหล็กชนิดตาง ๆ ที่กอสรางในแนวคลองสงน้ําหรือคลองระบายน้ํา เพื่อควบคุม
ระดับและปริมาณน้ํา ไดแก ทอระบายน้ํา น้ําตก รางเท สะพานน้ํา ทอลอด ไซ
ฟอน และอาคารชลประทานชนิดอื่น ๆ ที่ไมมีบานระบายเหล็ก แตไมรวมถึง
อาคารชลประทานขนาดใหญ เชน ฝาย ทางระบายน้ําลน หรืออาคารชลประทาน
                            ญ
ประกอบของเขื่อน เปนตน
        ใชสูตร K = 0.40 + 0.20It/Io + 0.10Ct/Co + 0.10Mt/Mo + 0.20St/So
                                                                          33




สูตร งานอาคารชลประทานรวมบานเหล็ก ( K 4.2)

           งานอาคารชลประทานรวมบานเหล็ก หมายถึง อาคารคอนกรีตเสริม
เหล็กชนิดตาง ๆ ที่กอสรางในแนวคลองสงน้้ําหรือคลองระบายน้้ํา เพื่อควบคุม
ระดับและปริมาณน้ํา ไดแก ทอสงน้ําเขานา ทอระบายน้ํา ประตูระบายน้ํา อาคาร
อัดน้ํา ทอลอด และอาคารชลประทานชนิดอื่น ๆ ที่มีบานระบายเหล็ก แตไม
รวมถึงอาคารชลประทานขนาดใหญ เชน ฝาย ทางระบายน้ําลน หรืออาคาร
ชลประทานประกอบของเขอน เปนตน
ชลประทานประกอบของเขื่อน เปนตน
        ใชสูตร K = 0.35 + 0.20It/Io + 0.10Ct/Co + 0.10Mt/Mo + 0.25St/So

                                                                          34




                                                                               17
สูตร งานบานระบาย ( K 4.3 )
         งานบานระบาย TRASHRACK และ STEEL LINER หมายถึง บาน
ระบายเหล็ก เครื่องกวานและเครื่องยก รวมทั้ง BULK HEAD GATE และงาน
ทอเหล็ก
               ใชสูตร K = 0.35 + 0.20It/Io + 0.45Gt/Go
  สูตร งานเหล็กเสริมคอนกรีต ( K 4.4 )
           งานเหล็กเสริมคอนกรีต และ ANCHOR BAR หมายถึง เหล็กเสนที่ใช
  เสรมในงานคอนกรตและเหลก
  เสริมในงานคอนกรีตและเหล็ก ANCHOR BAR ของงานฝาย ทางระบายน้ําลน
                                                     ทางระบายนาลน
  หรืออาคารชลประทานประกอบของเขื่อน ซึ่งมีสัญญาแยกจายเฉพาะงานเหล็ก
  ดังกลาวเทานัน
                ้
          ใชสูตร K = 0.25 + 0.15It/Io + 0.60St/So                      35




สูตร งานคอนกรีตไมรวมเหล็กและคอนกรีตดาดคลอง ( K 4.5 )
       งานคอนกรีตไมรวมเหล็กและคอนกรีตดาดคลอง หมายถึง งาน
คอนกรีตเสริมเหล็กที่หักสวนของเหล็กออกมาแยกคํานวณตางหากของงานฝาย
ทางระบายน้ําลน หรืออาคารชลประทานประกอบของเขื่อน ซึ่งมีสัญญาแยกจาย
เฉพาะงานคอนกรีีตดงกลาวเทานน
                    ั   ั้
               ใชสูตร K = 0.40 + 0.15It/Io + 0.25Ct/Co + 0.20Mt/Mo
สูตร งานเจาะ ( K 4.6 )
                 งานเจาะ หมายถึง การเจาะพรอมทั้งฝงทอกรุขนาดรูในไมนอย
กวา มลลเมตร ในชันดิน หินผ หรอหนทแตกหก เพออดฉดนาปูน และให
กวา 48 มิลลิเมตร ในชนดน หนผุ หรือหินที่แตกหัก เพื่ออัดฉีดน้ําปน และให
                        ้
รวมถึงงานซอมแซมฐานรากอาคารชลประทาน ถนน และอาคารตาง ๆ โดยการอัด
ฉีดน้ําปูน       ใชสูตร K = 0.40 + 0.20It/Io + 0.10Mt/Mo + 0.20Et/Eo +
0.10Ft/Fo
สูตร งานอัดฉีดน้าปูน ( K 4.7 ) = Ct/Co
                      ํ                                                   36




                                                                               18
สูตร 5.1 งานวางทอ AC และ PVC
       K 5.1.1 ในกรณี ผูวาจางเปนผูจัดหาทอและหรืออุปกรณให
                                         
                  ใชสูตร K = 0.50 + 0.25It/Io + 0.25Mt/Mo
       K 5.1.2 ในกรณี ผูรับจางเปนผูจัดหาทอ ACและหรืออุปกรณ
                                             
         ใชสูตร K = 0.40 + 0.10It/Io + 0.10Mt/Mo + 0.40ACt/ACo
       K 5.1.3 ในกรณี ผูรับจางเปนผูจัดหาทอ PVCและหรืออุปกรณ
                                           
         ใชสูตร K = 0.40 + 0.10It/Io + 0.10Mt/Mo + 0.40PVCt/PVCo
สูตร 5.2 งานวางทอเหล็กเหนียวและทอ HYDENSITY POLYETHYLENE
       K 5.2.1 ในกรณี ผูวาจางเปนผูจัดหาทอและหรืออุปกรณให
                                       
         ใชสูตร
         ใชสตร K = 0 40 + 0 10It/Io + 0 15Mt/Mo + 0 20Et/Eo + 0 15Ft/Fo
                        0.40 0.10It/Io 0.15Mt/Mo 0.20Et/Eo 0.15Ft/Fo
       5.2.2 ในกรณี ผูรับจางเปนผูจัดหาทอเหล็กเหนียวและหรืออุปกรณ
                                    
                ใชสูตร K = 0.40 + 0.10It/Io + 0.10Mt/Mo + 0.10Et/Eo +
0.30GIPt/GIPo                     K 5.2.3 ในกรณีผูรับจางเปนผูจัดหาทอ
HYDENSITY POLYETHYLENE และหรืออุปกรณ ใชสูตร K = 0.50 + 0.10It/Io
                                                                          37




สูตร K 5.3 งานปรับปรุงระบบอุโมงคสงน้ําและงาน SECONDARY LINING
                                    
                ใชสูตร K = 0.40 + 0.10It/Io + 0.15Et/Eo + 0.35GIPt/GIPo
        สูตร K 5.4 งานวางทอ PVC หุมดวยคอนกรีต
                ใชสูตร K =
0.30+0.10It/Io+0.20Ct/Co+0.05Mt/Mo+0.05St/So+0.30PVCt/PVCo
สูตร K 5.5 งานวางทอ PVC กลบทราย
                ใชสูตร K = 0.25 + 0.05It/Io + 0.05Mt/Mo + 0.65PVCt/PVCo
สูตร K 5.6 งานวางทอเหล็กอาบสังกะสี
                ใชสูตร
                ใชสตร K = 0 25 + 0 25It/Io + 0 50 GIPt/GIPo
                            0.25 0.25It/Io 0.50
สูตร K 5.7 , 5.8 และ5.9 รวม 7 สูตร เปนประเภทงานที่ใชเฉพาะการไฟฟาฝายผลิต
และการไฟฟาสวนภูมิภาคเทานั้น
                                                                        38




                                                                               19
วิธีการคํานวณคา K
   - คํานวณจากสูตรตามลักษณะงานนั้น ๆ โดยใชดัชนีราคา
   วัสดุกอสรางของกระทรวงพาณิชย
  - แยกประเภทงานกอสรางใหชัดเจนตามลักษณะงาน
  - คํานวณคา K โ ใ ทศนิยม 3 ตําแหนงไ ปดเศษทุกขัั้นตอน
                โดยใช ิ                       ไม
  - เฉพาะคา K สวนที่เพิ่มหรือลดเกิน 4 % จึงจะไดรับเงินเพิ่ม
  หรือเรียกเงินคืน
  - ผูรับจางไมสามารถทํางานเสร็จตามสัญญา โดยเปนความผิด
  ของผูรับจาง คา K ตามสูตรตาง ๆ ทีี่จะนํํามาใชในการคํํานวณให
                                                     ใ             ใ
  ใชคา K เดือนสิ้นสุดตามอายุสัญญา หรือคา K เดือนสงงานจริง
  แลวแตคา K ตัวใดจะมีคานอยกวา
 - จายเงินคางานกอน แลวจึงคํานวณเงินเพิ่มคา K ในภายหลัง       39




  การตรวจสอบเงินเพิ่มหรือเรียกเงินคืน
 - กรอกแบบฟอรม ตรวจสอบสิทธิ(ประกาศ/สัญญา/90วัน)
 - แยกคางานตามใบสงมอบงานในแตละงวดใหตรงสูตร
  - คิดคางานที่ไมอยูในขายไดรับการพิจารณาในแตละงวดตามสูตร
                       ู                                          ู
  - ใชเครื่องคิดเลข หรือใชโปรแกรมฯ ของจุฬาฯ คํานวณ
  - นําคา K ที่ไดหัก 4 % สวนที่เกินตองจายเพิ่มหรือเรียกคืน (คา
  K ที่ไดอยูระหวาง 1.04-0.96 ไมตองจายเพิ่มหรือเรียกคืน)
  - นําคา K สวนที่ตองจายเพิ่มหรือเรียกคืน คูณคางานทสงมอบ
     นาคา สวนทตองจายเพมหรอเรยกคน คณคางานที่สงมอบ
  (หักคางานที่ไมอยูในขายไดรับการพิจารณาและกรณีสงงานเกิน
  กําหนดสัญญาตองเปรียบเทียบคา K)
  - รวมคา K ทุกงวดที่คํานวณไดและเสนอพิจารณาอนุมติ        ั      40




                                                                          20
ปญหาที่พบในการพิจารณาและตรวจสอบคา K
     1. ประกาศประกวดราคา หรือสัญญาจางไมไดระบุเงื่อนไข
ของการใชสัญญาแบบปรับราคาได
     2. ผูรับจางขอรับเงินคา K เกิน 90 วัน
     3. กําหนดสูตรคา K ไวไมครบหรือไมสอดคลองกับงาน
     4. นํารายการที่ไมอยูในขายมาคํานวณคา K
      5. การหักคางานที่ไมอยูในขายตองพิจารณาจากประมาณ
ราคากอสราง (BOQ) ที่ผูรับจางเสนอราคา และตองนํา Factor F
มาคูณแตละรายการใหถูกตอง กอนนํามาหัก                   41




ปญหาที่พบในการพิจารณาและตรวจสอบคา K
      6. คางานที่สงมอบไดหักเงินลวงหนาหรือหักภาษีมลคาเพิ่ม
                                                      ู
กอนนํามาคํานวณทําใหไดคางานต่ํากวาขอเท็จจริง
     7. คํานวณคา K โดยไมไดหัก 4% ออก
     8. ไมไดเปรียบเทียบคา K กรณีสงงานเกินระยะเวลาในสัญญา
     9. เอกสารสงไมครบถวนทําใหการพิจารณาลาชา
      10. ใชดัชนีราคาในการคํานวณไมถูกตอง เชน ใชดัชนีใน
เดือนตรวจรับแทนเดือนสงมอบงาน ใชดัชนีเดือนที่เซ็นสัญญา
แทนเดือนเปดซองราคา                                       42




                                                                  21
วรรณศัักดิ์ิ แกนทรัพย
                 ั
magun_03@hotmail.com

089-9018080

                           43




                                22

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนApinya Phuadsing
 
กล่องนม
กล่องนมกล่องนม
กล่องนมNIng Bussara
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
แผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวแผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวkai kk
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2kanjana2536
 
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงินพหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงินDolonk
 
กิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธงกิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธงniralai
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าวโครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าวi_drm
 

Was ist angesagt? (20)

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
เรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อนเรื่องที่10 ความร้อน
เรื่องที่10 ความร้อน
 
การปฐมนิเทศ
การปฐมนิเทศการปฐมนิเทศ
การปฐมนิเทศ
 
กล่องนม
กล่องนมกล่องนม
กล่องนม
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
แผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวแผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนว
 
Con6
Con6Con6
Con6
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
 
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงินพหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
 
กิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธงกิจกรรมหน้าเสาธง
กิจกรรมหน้าเสาธง
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
Slump test
Slump testSlump test
Slump test
 
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าวโครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
โครงงานประโยชน์ของมะพร้าว
 

Ähnlich wie เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์

การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕Prachoom Rangkasikorn
 
15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPpt15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPptwasan
 
นำเสนอเขตนครสวรรค์
นำเสนอเขตนครสวรรค์นำเสนอเขตนครสวรรค์
นำเสนอเขตนครสวรรค์nanapholua
 
การจัดการด้านหนี้สิน
การจัดการด้านหนี้สินการจัดการด้านหนี้สิน
การจัดการด้านหนี้สินFiNe' ANakkawee
 

Ähnlich wie เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์ (11)

การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
 
พัสดุ
พัสดุพัสดุ
พัสดุ
 
พัสดุ
พัสดุพัสดุ
พัสดุ
 
15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPpt15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPpt
 
Manager
ManagerManager
Manager
 
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
 
นำเสนอเขตนครสวรรค์
นำเสนอเขตนครสวรรค์นำเสนอเขตนครสวรรค์
นำเสนอเขตนครสวรรค์
 
V2010 9
V2010 9V2010 9
V2010 9
 
เอกสารพี่บุญทิพย์
เอกสารพี่บุญทิพย์เอกสารพี่บุญทิพย์
เอกสารพี่บุญทิพย์
 
การจัดการด้านหนี้สิน
การจัดการด้านหนี้สินการจัดการด้านหนี้สิน
การจัดการด้านหนี้สิน
 
งานทะเบียนและบัตร กทม
งานทะเบียนและบัตร กทมงานทะเบียนและบัตร กทม
งานทะเบียนและบัตร กทม
 

เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์

  • 1. การตรวจสอบเงินชดเชยคางานกอสราง ตามสญญาแบบปรบราคาได (คา ตามสัญญาแบบปรับราคาได (คา K ) สถาบันฝกอบรมโยธาไทย ธ.ค. 2553 1 ความเปนมาของการใชสัญญาแบบปรับราคาได (คา K ) 1. การนํามาตรการ การใชคา K มาใชในป พ.ศ. 2516 - 2524 2. การยกเลิกมาตรการ การใชคา K พ.ศ. 2524 - 2531 3. การนํามาตรการ การใชคา K ชั่วคราวมาใชในป พ.ศ. 2531 - 2532 4. การนํามาตรการ การใชคา K มาใชอยางถาวรใน ป พ.ศ. 2532 – ปจจุบัน (ว 109 /ลว 24 ส.ค.32 ,มติ ครม. 27 มิ.ย. 32) 2 1
  • 2. ความเปนมาของการใชสัญญาแบบปรับราคาได (คา K ) 5. มอบอํานาจใหหนวยงานภาครัฐเจาของสัญญา คํานวณ คา K เอง กรณีีสัญญาจางไมเกิน 50 ลานบาท  ไ ิ (ว 114/ลว 15 มิ.ย. 44 , มติ ครม. 5 มิ.ย. 2544) 6. การอนุมัติเงินชดเชยเพิ่มเติม โดยใหคํานวณในอัตรา บวก/ลบ รอยละสอง เปนการชั่วคราว ตั้งแต 1 ต.ค. 51 ถึง 30 ก.ย. 2552 (ว100/ลว 13 ส.ค.51 ,มติ ครม. 8 ก.ค. 51) 3 ความเปนมาของการใชสัญญาแบบปรับราคาได (คา K ) 7. หนังสือกรมการปกครอง ว 134 ลว 1 ส.ค. 41 สัั่งการใหองคกรปกครองสวนทองถิิ่น ถืือปฏิบัติใชคา k ใ ป ป ิ 4 2
  • 3. เจตนารมณของการใชสัญญาแบบปรับราคาได (คา K ) - เพื่อชวยเหลือผูรับจางไทยใหสามารถประกอบกิจการ ตอไปไดในชวงทเกดภาวะวสดุกอสรางขาดแคลนและมราคา  ไปไ ใ  ี่ ิ ั   ี สูงขึ้น - ชวยลดความเสี่ยงของผูรับจางและปองกันมิใหผูรับจาง บวกราคาเพื่อการเปลี่ยนแปลงของราคาวัสดุไวลวงหนาจํานวน มาก - เพื่อใหเกิดความเปนธรรมตอคูสัญญาทังสองฝาย ้ 5 หลักการ การใหความชวยเหลือผูประกอบอาชีพงาน กอสรางตามติ ครม. ว 109 6 ขอดังนี้ ครม. 1. ใ นําสัญญาแบบปรับราคาได มาใชกับสัญญาที่ลงนาม ให ั ปั ไ ใ  ั ี หลังวันที่ 28 มิถุนายน 2531 โดยมีเงื่อนไขหลักเกณฑ ประเภทงาน กอสราง สูตรและวิธีการคํานวณ (ดังเอกสารผนวก ก.) 2. ใ นําสัญญาแบบปรับราคาได มาใชเปนการถาวร ให ั ปั ไ ใ โดยมีเงื่อนไข หลักเกณฑ ประเภทงานกอสราง สูตร และ วิธีการคํานวณ (ดังเอกสารผนวก ข.) 6 3
  • 4. หลักการ การใหความชวยเหลือผูประกอบอาชีพงาน กอสรางตามมติ ครม. ว 109 ครม. 3. ใหนํามาใชกับงานกอสรางของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หนวยงานตามกฎหมายวาดวยการบรหารราชการสวนทองถน หรอ หนวยงานตามกฎหมายวาดวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น หรือ หนวยงานอื่นของรัฐ ในกรณีที่จําเปนตองเพิ่มเงิน ใหใชจาก งบประมาณของหนวยงานนั้นเอง หรือจายตามสัดสวนแหลงที่มา ของเงินคากอสรางนั้น 4. กรณทผู าจางตองจายเงนชดเชยเพม จนทาใหเกนวงเงน 4 กรณีที่ผวาจางตองจายเงินชดเชยเพิ่ม จนทําใหเกินวงเงิน งบประมาณที่ไดรับอนุมัติ ใหถือวาไดรับอนุมัติจาก ครม. ใหกอหนี้ ผูกพันเกินกวางบประมาณ ตามนัย ม. 23 แหง พรบ. วาดวย การงบประมาณ และใหขอทําความตกลงเรื่องการเงินกับสํานักงบฯ 7 หลักการ การใหความชวยเหลือผูประกอบอาชีพงาน กอสรางตามติ ครม. ว 109 ครม. 5. การคํานวณเงินเพิ่มหรือลด และการจายเงินเพิ่มหรือ เรียกเงินคืนจากผูรับจาง ตองไดรับการตรวจสอบและเห็นชอบ ู จากสํานักงบประมาณ(กรณีสัญญาไมเกิน 50 ลานบาท อยูในอํานาจของ หัวหนาหนวยงานภาครัฐเจาของสัญญาจาง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2544) และใหถอวาการวินิจฉัยของสํานักงบประมาณเปนที่ ื สนสุด สิ้นสด 6. เพืื่อความรวดเร็็ว และใหการปฏิิบัติงานเปนมาตรฐาน ใ ป ป เดียวกัน ใหอํานาจสํานักงบประมาณในการวินิจฉัยปญหา ขอหารือ และกําหนดแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมได ตามความจําเปน 8 4
  • 5. เงื่อนไขและหลักเกณฑ (ว 109) 109) 1. ใชกับงานกอสรางทุกประเภทรวมทั้งงานปรับปรุงและ ซอมแซมทีเ่ บิกจายในลักษณะสิ่งกอสราง ที่อยูในเงื่อนไข ู หลักเกณฑตามที่กําหนดนี้ 2. ใชท้ังกรณีเพิ่มหรือลดคางาน จากคางานเดิมตามสัญญา เมื่อ ดัชนีราคาซึงจัดทําโดยกระทรวงพาณิชย มีการเปลี่ยนแปลง ่ สูงขึ้นหรือลดลงจากเดิมขณะเมื่อวันเปดซองประกวดราคา สําหรับการจัดจางโดยวิธีอื่นใหใชวันเปดซองราคาแทน 9 เงื่อนไขและหลักเกณฑ (ว 109) 109) 3. ผูวาจางตองแจงและประกาศใหผูรับจางทราบ และตองระบุใน สัญญาจางดวยวาจะใชสัญญาแบบปรับราคาได พรอมทั้งกําหนด ประเภทงานกอสราง สตร และวิธีการคํานวณใหชัดเจน ประเภทงานกอสราง สูตร และวธการคานวณใหชดเจน -กรณีประกาศประกวดราคาหรือหนังสือเชิญชวนเสนอราคาไมไดกําหนด วาจะใชสัญญาแบบปรับราคาได ถึงแมสัญญาไดระบุวาเปนสัญญาแบบปรับราคา ได ก็ถือวาไมถูกตองตามเงื่อนไขฯ ของสัญญาแบบปรับราคาได -กรณีประกาศประกวดราคาหรืือหนังสือเชิญชวนเสนอราคากําหนดวาจะ ื ใชสญญาแบบปรับราคาได แตสัญญาไมไดระบุวาเปนสัญญาแบบปรับราคาได ก็ถือ ั วาไมถูกตองตามเงื่อนไขฯ หากผูรับจางประสงคจะแกไขสัญญาจางใหเปนสัญญา แบบปรับราคาได ใหอยูในดุลยพินิจของผูวาจางที่ตองดําเนินการ  10 5
  • 6. เงื่อนไขและหลักเกณฑ (ว 109) 109) 4. เปนหนาที่ของผูรับจางตองขอเงินเพิ่มภายใน 90 วันนับตั้งแตสง  มอบงานงวดสุดทายและในกรณีผูวาจางตองเรียกเงินคืนจาก  ผู ับจางใหเรียกคืนโดยเร็ว ผรบจางใหเรยกคนโดยเรว -การนับระยะเวลา 90 วัน ใหเริ่มนับถัดจากวันที่ผูรบจางมีหนังสือสง ั มอบงานงวดสุดทาย จนถึงวันที่ผูวาจางประทับตรารับหนังสือที่ผรบจางขอเงิน ูั เพิ่มคางานกอสรางตามสัญญาแบบปรับราคาได -การนับระยะเวลา 90 วัน หากวันครบกําหนดตรงกับวันเสาร อาทิตย หรืือวันหยุดราชการ ใหหักวันหยุดราชการนั้นออก ั ใ  ั ั -ผูรับจางจะสงวนสิทธิเรียกรองในการขอเงินคา K เกินกวาระยะเวลา 90 วัน นับตั้งแตวันที่สงมอบงานงวดสุดทายไมได -กรณียกเลิกสัญญาจางกอนที่ผูรับจางจะสงมอบงานงวดสุดทาย ใหถือ 11 วันที่ยกเลิกสัญญาจางเปนวันสงมอบงานงวดสุดทาย เงื่อนไขและหลักเกณฑ (ว 109) 109) 5. การพิจารณาคํานวณเงินเพิ่มหรือลด และการจายเงินเพิมหรือ ่ เรียกเงินคืนจากผูรบจางตองไดรับการตรวจสอบและเห็นชอบจาก ั สานกงบประมาณโดยใหถอการวนจฉยของสานกงบประมาณเปน สํานักงบประมาณโดยใหถือการวินจฉัยของสํานักงบประมาณเปน ิ ที่สิ้นสุด -กรณีสัญญาไมเกิน 50 ลานบาท หัวหนาหนวยงานภาครัฐเจาของสัญญาจาง ตองตรวจสอบและเห็นชอบ (ตามมติคณะรัฐมนตรี ว 114 เมื่อ 5 มิ.ย. 2544) -กรณีสญญาเกิน 50 ลานบาท หนวยงานภาครัฐเจาของสัญญ างตอง ั ญญ ญญาจ ตรวจสอบ และสงใหสํานักงบประมาณตรวจสอบและเห็นชอบ - กรณีเงินชดเชยเพิ่มเติมชั่วคราว ที่สงงานในปงบประมาณ 2551 ใหหัก + 2 % ตามมติคณะรัฐมนตรี ว 126 เมื่อ 8 ก.ค. 2551 หนวยงานภาครัฐเจาของสัญญา จางตองตรวจสอบ และสงใหสํานักงบประมาณตรวจสอบและเห็นชอบ 12 6
  • 7. มติ ครม. ว 114 เมือวันที่ 5 มิถุนายน 2544 ครม. ่ 1. มอบอํานาจใหหนวยงานภาครัฐเจาของสัญญาจาง กอสรางแบบปรับราคาไดมีอํานาจในการพิจารณาคํานวณเงินเพิ่ม หรือลด และอนุมัติจายเงินเพิ่มหรือเรียกเงินคืน สําหรับสัญญา จางที่มีวงเงินไมเกิน 50 ลานบาท 2. การกระจายอํานาจความรับผิดชอบของสํานัก งบประมาณใหแกหนวยงานภาครฐดงกลาวใหถอปฏบตตงแต งบประมาณใหแกหนวยงานภาครัฐดังกลาวใหถือปฏิบติตั้งแต ั ปงบประมาณ พ.ศ. 2545 (1ต.ค.44) เปนตนไป 3. เมื่ออนุมัติจายเงินเพิ่มหรือเรียกเงินคืนแลวตองรายงาน ใหสํานักงบประมาณทราบภายใน 15 วัน นับแตวันอนุมัติ 13 มติคณะรัฐมนตรี ว 126 วันที่ 8 กรกฎาคม 2551 อนุมัติเงินชดเชยเพิ่มเติมคางานกอสรางตามสัญญาแบบปรับราคาได(คา K) ดวยการผอนผันวิธีการคํานวณคา K โดยใหหกในอัตราบวก/ลบรอยละ 2 เปน ั การชั่วคราว ตังแตวนที่ 1 ตุลาคม 2550 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2551 เฉพาะสัญญา ้ ั จางทไดดาเนนงานกอสรางแลวเสรจและสงมอบงานงวดสุดทายแลวเทานน จางที่ไดดําเนินงานกอสรางแลวเสร็จและสงมอบงานงวดสดทายแลวเทานั้น หนังสือสํานักงบประมาณ ว 100 ลงวันที่ 13 ส.ค. 2551 - เงินชดเชยเพิ่มเติม + 2 % ไดเฉพาะงวดงานที่ไดสงมอบงานระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2550 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2551 เทานั้น - ผูรับจางตองดําเนินการแลวเสร็จตามสัญญา และมีการสงมอบงานงวดสุดทายเรียบรอยแลว - ตองขอภายใน 90 วันทําการนับแตวันที่ ครม. มีมติ หรือ 90 วันนับแตสงมอบงานงวดสุดทาย ุ - สวนราชการฯ คูสัญญาตองพิจารณาและตรวจสอบใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน นับจากวันที่ ไดรับหนังสือขอรับความชวยเหลือของผูรับจาง - การพิจารณาคํานวณเงินชดเชยเงินเพิ่มเติมคางานกอสรางตามสัญญาแบบปรับราคาได ( คา K ) ตองไดรับการพิจารณาตรวจสอบ และเห็นชอบจากสํานักงบประมาณ และใหถือวาการ 14 วินิจฉัยของสํานักงบประมาณเปนที่สิ้นสุด 7
  • 8. เอกสารประกอบการพิจารณาของหนวยงานของรัฐผูวาจาง  1. สําเนาประกาศแจงความประกวดราคา พรอมเอกสารประกอบราคาจางหรือใบ เสนอราคาดวยวิธีอื่น ที่ระบุเงื่อนไข หลักเกณฑฯ คา K 2. สําเนาสัญญาจางเหมากอสราง ที่ระบุเงื่อนไข หลักเกณฑฯ คา K 3. สําเนาหนังสือการตออายุสัญญ ( ามี) ุ ญญา(ถ 4. สําเนาหนังสือสงมอบงานของผูรับจาง (ทุกงวดที่ขอเงินชดเชย) 5. ตนฉบับหนังสือที่ผูรับจางเสนอขอรับเงินชดเชย พรอมวิธีการคํานวณ คา K 6. ตนฉบับหนังสือการคํานวณ รายละเอียดประมาณราคาของผูประกอบการ ทั้งคางานสวนที่เพิ่มขึ้นและสวนที่ลดลงเพื่อเรียกเงินคืน 7. สําเนาดัชนีราคาวัสดกอสราง เดือนเปดซองประกวดราคา หรอเสนอราคาโดยวธี สาเนาดชนราคาวสดุกอสราง เดอนเปดซองประกวดราคา หรือเสนอราคาโดยวิธ อื่น และเดือนที่สงมอบงานทุกเดือน (รับรองสําเนาถูกตองโดยผูประกอบการ) 8. หนังสือแจงใหผูรับจางเขาปฏิบัติงาน (ถามี) *** กรณีคําขอ ไมถูกตองครบถวนหรือไมสมบูรณ ใหแจงผูรับจางทราบทั้งหมด ในคราวเดียวกัน ภายใน 10 วันทําการ *** 15 เอกสารประกอบการพิจารณาของสํานักงบประมาณ พรอมรับรองความถูกตอง 1. สําเนาประกาศแจงความประกวดราคาพรอมเอกสารประกวดราคาจางหรือในเสนอ ราคาโดยการวาจางวิธีอื่น ที่ระบุเงื่อนไข หลักเกณฑฯ คา K 2. สําเนาสัญญาจางเหมากอสราง ที่ระบุเงื่อนไข หลักเกณฑฯ คา K 3. สําเนาหนังสือการตออายุสัญญา(ถามี) 4. สําเนาหนังสือสงมอบงานของผูรับจาง (ทุกงวดที่ขอเงินชดเชย) 5. สําเนาดัชนีราคาวัสดุกอสราง เดือนเปดซองประกวดราคา หรือเสนอราคาโดยวิธี อื่น และเดือนที่สงมอบงานทุกเดือนที่ขอเงินเพิ่ม 6. สําเนาบัญชีรายละเอียดการกอสรางของผรับจาง (Bill of Quantities) สาเนาบญชรายละเอยดการกอสรางของผู บจาง 7. หนังสือขอรับเงินชดเชยของผูรับจางที่สวนราชการประทับตรารับ พรอมวิธีการ คํานวณ 8. หนังสือแจงใหผูรับจางเขาปฏิบัติงาน หรือเอกสารอื่น ๆ เชน หนังสือตอบขอหารือ จากสํานักงบประมาณ (ถามี) 16 8
  • 9. มาตรฐานการปฏิบัติงานของประกาศคณะกรรมการวาดวย การปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนของหนวยงานภาครัฐได กําหนดระยะเวลาในการตรวจสอบอนุมติและเบิกจายเงิน ั 1. หนวยงานของรัฐผูวาจางดําเนินการกอนสงสํานักงบประมาณ  -หนวยงานของรัฐตั้งอยูในสวนกลาง ระยะเวลา 30 วันทําการ -หนวยงานของรัฐตั้งอยูในสวนภูมิภาค ระยะเวลา 40 วันทําการ 2. สํํานัักงบประมาณพิจารณาอนุมติ ระยะเวลา 20 วัันทําการ ป ิ ั ํ 3. หนวยงานของรัฐขอเบิกเงิน ระยะเวลา 10 วันทําการ 4. กรมบัญชีกลางพิจารณาอนุมัติฎีกา ระยะเวลา 3 วันทําการ 5. หนวยงานของรัฐแจงผูรับจางรับเงิน ระยะเวลา 7 วันทําการ 17 ประเภทงานกอสรางและสูตร (ผนวก ข. ว 109) ข. 109) ในการพิจารณาเงินเพิ่มหรือลดคางานใหคํานวณตามสูตร P = (Po) x (K) P = ราคาตอหนวยหรือราคาคางานเปนงวดที่จะตองจายให ผูรับจาง Po = ราคาคางานตอหนวยที่ผูรับจางประมูลไดหรือราคาคา งานเปนงวดซงระบุไวในสญญาแลวแตกรณ งานเปนงวดซึ่งระบไวในสัญญาแลวแตกรณี K = ESCALATION FACTOR ที่หักดวย 4 % เมื่อตองการ เพิ่มคางาน หรือบวกเพิ่ม 4 % เมื่อตองเรียกคางานคืน 18 9
  • 10. ประเภทงานกอสรางและสูตร ESCALATION FACTOR K หาไดจากสูตร ซึ่งแบงตาม ประเภทงานและลกษณะงาน เปน ประเภทงานและลักษณะงาน เปน 5 หมวด 35 สตร ดังนี้ สูตร ดงน หมวดที่ 1 งานอาคาร 1 สูตร หมวดที่ 2 งานดิน 3 สูตร หมวดที่ 3 งานทาง 7 สูตร ู หมวดที่ 4 งานชลประทาน 7 สูตร หมวดที่ 5 งานระบบสาธารณูปโภค 17 สูตร (ใชเฉพาะการไฟฟาฝายผลิตฯและการไฟฟาสวนภูมิภาค 7 สูตร) 19 สูตร งานอาคาร ( K 1 ) งานอาคาร หมายถึง ตัวอาคาร เชน ที่ทําการ โรงเรียน โรงพยาบาล หอพัก ที่ อยูอาศัย หอประชุม อัฒจันทร ยิมเนเซียม สระวายน้ํา โรงอาหาร คลังพัสดุ โรงงาน รั้ว เปนตน และใหหมายความรวมถง รว เปนตน และใหหมายความรวมถึง 1. ไฟฟาของอาคารบรรจบถึงสายเมนจําหนาย แตไมรวมถึงหมอ แปลงและระบบไฟฟาภายในบริเวณ 2. ประปาของอาคารบรรจบถึงสายเมนจําหนาย แตไมรวมถึงระบบ ประปาภายในบริเวณ 3. ระบบทอหรือระบบสายตาง ๆ ที่ตดหรือฝงอยูในสวนของอาคาร ิ  เชน ทอปรับอากาศ ทอกาซ สายไฟฟาสําหรับเครื่องปรับอากาศ สายลอฟา ฯลฯ 20 10
  • 11. สูตร งานอาคาร ( K 1 ) 4. ทางระบายน้ําของอาคารจนถึงทางระบายน้ําภายนอกอาคาร 5. สวนประกอบที่จําเปนสําหรับอาคาร เฉพาะที่ตดกับอาคารโดย ิ ตองสรางหรือประกอบพรอมกับการกอสรางอาคาร แตไมรวมถึง เครื่องจักรกลหรือเครื่องมือกลที่นํามาประกอบหรือติดตัง เชน ลิฟท เครื่อง ้ คอมพิวเตอร เครื่องสูบน้ํา เครื่องปรับอากาศ พัดลม ฯลฯ 6. ทางเทารอบอาคาร ดินถม ดินตัก หางจากอาคารโดยรอบไมเกิน 3 เมตร ใชสูตร K = 0.25 + 0.15It/Io + 0.10Ct/Co + 0.40Mt/Mo + 0.10St/So 21 สูตร งานอาคาร ( K 1 ) ใชสูตร K = 0.25 + 0.15It/Io + 0.10Ct/Co + 0.40Mt/Mo + 0.10St/So It = ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปของประเทศ ในเดือนที่สงงานแตละงวด Io = ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปของประเทศ ในเดือนที่เปดซองประกวดราคา Ct = ดัชนีราคาซีเมนต ในเดือนที่สงงานแตละงวด Co = ดัชนีราคาซีเมนต ในเดือนที่เปดซองประกวดราคา Mt = ดัชนีราคาวัสดุกอสราง(ไมรวมเหล็กและซีเมนต)ในเดือนที่สงงานแตละงวด ุ Mo = ดัชนีราคาวัสดุกอสราง(ไมรวมเหล็กและซีเมนต)ในเดือนที่เปดซองประกวดราคา  St = ดัชนีราคาเหล็ก ในเดือนที่สงงานแตละงวด So = ดัชนีราคาเหล็ก ในเดือนที่เปดซองประกวดราคา 22 11
  • 12. ประเภทงานที่ไมนํามาคํานวณคาK 1 งานอาคาร 1. ระบบไฟฟาภายในบริเวณนอกอาคาร ระบบไฟฟาแรงสูง หมอแปลงไฟฟา มิเตอรไฟฟา เครื่องกําเนิดไฟฟา ตู MBD ที่อยูนอกอาคาร ไฟฉุกเฉิน งานประสานการ ไฟฟา 2. ระบบประปาภายในบริเวณนอกอาคาร มิเตอรน้ํา เครื่องสูบน้ํา งานภูมิ สถาปตย เชน ปลูกหญา จัดสวน ปลูกตนไม 3. รายการครุภัณฑที่ไมใชสวนประกอบของตัวอาคาร (Built in) สามารถยกได เคลื่อนยายได เชน โตะ เกาอี้ เตียงนอน ตู 4. รายการครุภัณฑของงานระบบตาง ๆ รวมทั้งเครื่องจักร และเครื่องมือกลตาง ๆ เชน เครื่องปรับอากาศ เครื่องเสียง ลําโพง อุปกรณโสตทัศนูปกรณ โทรศัพท พัดลม ถัง   กาซ ตูดับเพลง ถงดงเพลงเคมี เครองตรวจอาวุธ ลฟต บนไดเลอน คอมพวเตอร แทงคนา ิ ั ั ิ ื่ ิฟ ั ไ ื่ ิ  ้ํ เปนตน 5. งานรื้อถอนอาคาร ปกผัง สํานักงานชั่วคราว บานพักคนงาน งานทดสอบ ระบบตาง ๆ ทดสอบสภาพดิน ทดสอบเสาเข็ม งานทําความสะอาด รั้วลวดหนามที่ไมมี คานคอนกรีต เสาธง นั่งราน เหล็กปองกันดินพัง (SHEET PILE) 23 สูตร งานดิน ( K 2.1 ) งานดิน หมายถึง การขุดดิน การตักดิน การบดอัดดิน การขุดเปดหนาดิน การเกลี่ยบดอัดดิน การขุด-ถมบดอัดแนนเขื่อน คลอง คันคลอง คันกั้นน้ํา คันทาง ซึ่งตองใชเครืองจักรเครื่องมือกลปฏิบัตงาน ่ ิ สํําหรัับการถมดิินใหหมายความถึงการถมดินหรือทรายหรือวัสดุอ่ืน ทีมี ใ  ึ ิ ื ื ั ี่ การควบคุมคุณสมบัตของวัสดุน้น และมีขอกําหนดวิธการถม รวมทังมีการบด ิ ั ี ้ อัดแนนโดยใชเครื่องจักร เครืองมือกล เพื่อใหไดมาตรฐานตามที่กําหนดไว ่ เชนเดียวกับงานกอสรางถนนหรือเขื่อนชลประทาน ทั้งนี้ใหหมายความรวมถึง EMBANKMENT(ถมคันทาง) , EXCAVATION(งานขุด) , SUBBASE(งานรองพื้นทาง), SELECTED MATERIAL(วัสดุคัดเลือก) , UNTREATED BASE และ SHOULDER(งาน ไหลทาง) ใชสูตร K = 0.30 + 0.10It/Io + 0.40Et/Eo + 0.20Ft/Fo 24 12
  • 13. ประเภทงานที่ไมนํามาคํานวณคาK 2.1 งานดิน 1. งานถมดินบริเวณเกาะกลางถนน (EARTH FILL IN MEDIAN L& ISLAND) 2. งานปลูกหญา 2 งานปลกหญา (SODDING) 3. งานดินคลุมผิว (TOPSOIL) 4. งานตัดตนไม (TREE CUT) 25 สูตร งานหินเรียง ( K 2.2 ) งานหินเรียง หมายถึง งานหินขนาดใหญนํามาเรียงกันเปนชั้นใหเปน ระเบียบจนไดความหนาที่ตองการ โดยชองวางระหวางหินใหญจะแซมดวยหิน  ยอยหรือกรวดขนาดตาง ๆ และทรายใหเต็มชองวาง มีการควบคุมคุณสมบัตของ ิ วััสดุและมีขอกําหนดวิิธีปฏิบัติ โ ใ เครืองจัักร เครืื่องมืือกล หรือแรงคน และให ี ํ ิ โดยใช ื่ ื ใ หมายความรวมถึงงานหินทิง งานหินเรียงยาแนว หรืองานหินใหญท่มลักษณะ ้ ี ี คลายคลึงกัน เพื่อปองกันการกัดเซาะพังทลายของลาดตลิ่งและทองลําน้ํา ใชสูตร K = 0.40 + 0.20It/Io + 0.20Mt/Mo + 0.20Ft/Fo สูตร งานเจาะระเบดหน 2.3 สตร งานเจา ร เบิดหิน ( K 2 3 ) งานเจาะระเบิดหิน หมายถึง งานเจาะระเบิดหินทั่ว ๆ ไป ระยะทาง ขนยายไปกลับประมาณไมเกิน 2 ก.ม. ยกเวนงานเจาะระเบิดอุโมงคซึ่งตองใชเทคนิค ชั้นสูง ใชสูตร K = 0.45 + 0.15It/Io + 0.10Mt/Mo + 0.20Et/Eo + 0.10Ft/Fo26 13
  • 14. สูตร งานผิวทาง PRIME COAT , TACK COAT , SEAL COAT ( K 3.1 ) ใชสูตร K = 0.30 + 0.40At/Ao + 0.20Et/Eo + 0.10Ft/Fo สูตร งานผิวทาง SURFACE TREATMENT , SLURRY SEAL ( K 3.2 ) ใชสูตร K = 0.30 + 0.10Mt/Mo + 0.30At/Ao + 0.20Et/Eo + 0.10Ft/Fo สูตร งานผิวทาง ASPHALTIC CONCRETE , PENETRATION MACADAM ( K 3.3 ) ใชสูตร K = 0.30 + 0.10Mt/Mo + 0.40At/Ao + 0.10Et/Eo + 0.10Ft/Fo 27 สูตร งานผิวถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ( K 3.4 ) งานผิวถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หมายถึง ผิวถนนคอนกรีตทีใชเหล็ก ่ เสริม ซึ่งประกอบดวยตะแกรงเหล็กเสนหรือตะแกรงลวดเหล็กกลาเชื่อมติด (WELDED STEEL WIRE FARRIC) เหล็กเดือย (DOWEL BAR) เหล็กยึด (DEFORMED TIE BAR) และรอยตอตาง ๆ (JOINT) ทั้งนี้ใหหมายความ รวมถึงแผนพืนคอนกรีตเสริมเหล็กบริเวณคอสะพาน (R.C. BRIDGE ้ APPROACH) ดวย ใช ใ สูตร K = 0.30 + 0.10It/Io + 0.35Ct/Co + 0.10Mt/Mo + 0.15St/So 28 14
  • 15. ประเภทงานที่ไมนํามาคํานวณคาK งานทาง 1. งานไฟฟาแสงสวาง เชน เสาไฟฟาชนิดโคมเดี่ยว เสาไฟฟาชนิดโคมคู เสากระโดงไฟ 2. งานสัญญาณไฟจราจร 3. งานตเสนจราจร งานป สะทอนแสง 3 งานตีเสนจราจร งานปุมสะทอนแสง 4. งานภูมิทัศน เชน ปลูกตนไม ปลูกหญา 5. ศาลาผูโดยสารประจําทาง 6. เครื่องหมายและหลักนําทาง เชน หลักกันโคง หลักกิโลเมตร หลักเขตทาง ราว ปองกนอนตราย ป ั ั 7. งานปายจราจร เชน แผนปาย เสาปาย 8. งานแผนปูทางเทา ตัวหนอนปูทางเทา 29 9. งานทดสอบระบบ เหล็กปองกันดินพัง (SHEET PILE) สูตร งานทอระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็กและงานบอพัก ( K 3.5) งานทอระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็กและงานบอพัก หมายถึง ทอ คอนกรีตเสริมเหล็กสําหรับงานระบายน้ํา (PRECAST REINFORCED CONCRETE DRAINAGE PIPE) งานรางระบายน้้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก งาน ดาดคอนกรีตเสริมเหล็กรางระบายน้ําและบริเวณลาดคอสะพาน รวมทังงานบอ ้ พักคอนกรีตเสริมเหล็กและงานคอนกรีตเสริมเหล็กอื่นที่มีรูปแบบและลักษณะ งานคลายคลึงกัน เชน งานบอพัก (MANHOLE)ทอรอยสายโทรศัพท ทอรอย สายไฟฟา เปนตน สายไฟฟา เปนตน ใชสูตร K = 0.35 + 0.20It/Io + 0.15Ct/Co + 0.15Mt/Mo + 0.15St/So 30 15
  • 16. สูตร งานโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กและงานเขื่อนกันตลิ่ง ( K 3.6) งานโครงสรางคอนกรตเสรมเหลกและงานเขอนกนตลง หมายถง งานโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กและงานเขื่อนกันตลิ่ง หมายถึง สะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก โครงสรางฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็กคอสะพาน (R.C. BEARING UNIT) ทอเหลี่ยมคอนกรีตเสริมเหล็ก (R.C.BOX CULVERT) หอถังน้ําโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก เขื่อนกันตลิ่ง คอนกรีต เสริมเหล็ก ทาเทียบเรือคอนกรีตเสริมเหล็กและสิ่งกอสรางอื่นที่มีลักษณะงาน คลอยคลึงกััน ึ ใชสูตร K = 0.30 + 0.10It/Io + 0.15Ct/Co + 0.20Mt/Mo + 0.25St/So 31 สูตร งานโครงสรางเหล็ก ( K 3.7) งานโครงสรางเหล็ก หมายถึง สะพานเหล็กสําหรับคนเดินขามถนน โครงเหล็กสําหรับติดตังปายจราจรชนิดแขวนสูง เสาไฟฟาแรงสูง เสาวิทยุ เสา ้ โทรทัศน หรืองานโครงสรางเหล็กอื่นที่มลักษณะคลายคลึงกัน แตไมรวมถึงงาน ี ติดตั้งเสาโครงเหล็กสายสงของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ใช ใ สูตร K = 0.25 + 0.10It/Io + 0.05Ct/Co + 0.20Mt/Mo + 0.40St/So 32 16
  • 17. สูตร งานอาคารชลประทานไมรวมบานเหล็ก ( K 4.1) งานอาคารชลประทานไมรวมบานเหล็ก หมายถึง อาคารคอนกรีตเสริม เหล็กชนิดตาง ๆ ที่กอสรางในแนวคลองสงน้ําหรือคลองระบายน้ํา เพื่อควบคุม ระดับและปริมาณน้ํา ไดแก ทอระบายน้ํา น้ําตก รางเท สะพานน้ํา ทอลอด ไซ ฟอน และอาคารชลประทานชนิดอื่น ๆ ที่ไมมีบานระบายเหล็ก แตไมรวมถึง อาคารชลประทานขนาดใหญ เชน ฝาย ทางระบายน้ําลน หรืออาคารชลประทาน ญ ประกอบของเขื่อน เปนตน ใชสูตร K = 0.40 + 0.20It/Io + 0.10Ct/Co + 0.10Mt/Mo + 0.20St/So 33 สูตร งานอาคารชลประทานรวมบานเหล็ก ( K 4.2) งานอาคารชลประทานรวมบานเหล็ก หมายถึง อาคารคอนกรีตเสริม เหล็กชนิดตาง ๆ ที่กอสรางในแนวคลองสงน้้ําหรือคลองระบายน้้ํา เพื่อควบคุม ระดับและปริมาณน้ํา ไดแก ทอสงน้ําเขานา ทอระบายน้ํา ประตูระบายน้ํา อาคาร อัดน้ํา ทอลอด และอาคารชลประทานชนิดอื่น ๆ ที่มีบานระบายเหล็ก แตไม รวมถึงอาคารชลประทานขนาดใหญ เชน ฝาย ทางระบายน้ําลน หรืออาคาร ชลประทานประกอบของเขอน เปนตน ชลประทานประกอบของเขื่อน เปนตน ใชสูตร K = 0.35 + 0.20It/Io + 0.10Ct/Co + 0.10Mt/Mo + 0.25St/So 34 17
  • 18. สูตร งานบานระบาย ( K 4.3 ) งานบานระบาย TRASHRACK และ STEEL LINER หมายถึง บาน ระบายเหล็ก เครื่องกวานและเครื่องยก รวมทั้ง BULK HEAD GATE และงาน ทอเหล็ก ใชสูตร K = 0.35 + 0.20It/Io + 0.45Gt/Go สูตร งานเหล็กเสริมคอนกรีต ( K 4.4 ) งานเหล็กเสริมคอนกรีต และ ANCHOR BAR หมายถึง เหล็กเสนที่ใช เสรมในงานคอนกรตและเหลก เสริมในงานคอนกรีตและเหล็ก ANCHOR BAR ของงานฝาย ทางระบายน้ําลน ทางระบายนาลน หรืออาคารชลประทานประกอบของเขื่อน ซึ่งมีสัญญาแยกจายเฉพาะงานเหล็ก ดังกลาวเทานัน ้ ใชสูตร K = 0.25 + 0.15It/Io + 0.60St/So 35 สูตร งานคอนกรีตไมรวมเหล็กและคอนกรีตดาดคลอง ( K 4.5 ) งานคอนกรีตไมรวมเหล็กและคอนกรีตดาดคลอง หมายถึง งาน คอนกรีตเสริมเหล็กที่หักสวนของเหล็กออกมาแยกคํานวณตางหากของงานฝาย ทางระบายน้ําลน หรืออาคารชลประทานประกอบของเขื่อน ซึ่งมีสัญญาแยกจาย เฉพาะงานคอนกรีีตดงกลาวเทานน ั   ั้ ใชสูตร K = 0.40 + 0.15It/Io + 0.25Ct/Co + 0.20Mt/Mo สูตร งานเจาะ ( K 4.6 ) งานเจาะ หมายถึง การเจาะพรอมทั้งฝงทอกรุขนาดรูในไมนอย กวา มลลเมตร ในชันดิน หินผ หรอหนทแตกหก เพออดฉดนาปูน และให กวา 48 มิลลิเมตร ในชนดน หนผุ หรือหินที่แตกหัก เพื่ออัดฉีดน้ําปน และให ้ รวมถึงงานซอมแซมฐานรากอาคารชลประทาน ถนน และอาคารตาง ๆ โดยการอัด ฉีดน้ําปูน ใชสูตร K = 0.40 + 0.20It/Io + 0.10Mt/Mo + 0.20Et/Eo + 0.10Ft/Fo สูตร งานอัดฉีดน้าปูน ( K 4.7 ) = Ct/Co ํ 36 18
  • 19. สูตร 5.1 งานวางทอ AC และ PVC K 5.1.1 ในกรณี ผูวาจางเปนผูจัดหาทอและหรืออุปกรณให  ใชสูตร K = 0.50 + 0.25It/Io + 0.25Mt/Mo K 5.1.2 ในกรณี ผูรับจางเปนผูจัดหาทอ ACและหรืออุปกรณ  ใชสูตร K = 0.40 + 0.10It/Io + 0.10Mt/Mo + 0.40ACt/ACo K 5.1.3 ในกรณี ผูรับจางเปนผูจัดหาทอ PVCและหรืออุปกรณ  ใชสูตร K = 0.40 + 0.10It/Io + 0.10Mt/Mo + 0.40PVCt/PVCo สูตร 5.2 งานวางทอเหล็กเหนียวและทอ HYDENSITY POLYETHYLENE K 5.2.1 ในกรณี ผูวาจางเปนผูจัดหาทอและหรืออุปกรณให  ใชสูตร ใชสตร K = 0 40 + 0 10It/Io + 0 15Mt/Mo + 0 20Et/Eo + 0 15Ft/Fo 0.40 0.10It/Io 0.15Mt/Mo 0.20Et/Eo 0.15Ft/Fo 5.2.2 ในกรณี ผูรับจางเปนผูจัดหาทอเหล็กเหนียวและหรืออุปกรณ  ใชสูตร K = 0.40 + 0.10It/Io + 0.10Mt/Mo + 0.10Et/Eo + 0.30GIPt/GIPo K 5.2.3 ในกรณีผูรับจางเปนผูจัดหาทอ HYDENSITY POLYETHYLENE และหรืออุปกรณ ใชสูตร K = 0.50 + 0.10It/Io 37 สูตร K 5.3 งานปรับปรุงระบบอุโมงคสงน้ําและงาน SECONDARY LINING  ใชสูตร K = 0.40 + 0.10It/Io + 0.15Et/Eo + 0.35GIPt/GIPo สูตร K 5.4 งานวางทอ PVC หุมดวยคอนกรีต ใชสูตร K = 0.30+0.10It/Io+0.20Ct/Co+0.05Mt/Mo+0.05St/So+0.30PVCt/PVCo สูตร K 5.5 งานวางทอ PVC กลบทราย ใชสูตร K = 0.25 + 0.05It/Io + 0.05Mt/Mo + 0.65PVCt/PVCo สูตร K 5.6 งานวางทอเหล็กอาบสังกะสี ใชสูตร ใชสตร K = 0 25 + 0 25It/Io + 0 50 GIPt/GIPo 0.25 0.25It/Io 0.50 สูตร K 5.7 , 5.8 และ5.9 รวม 7 สูตร เปนประเภทงานที่ใชเฉพาะการไฟฟาฝายผลิต และการไฟฟาสวนภูมิภาคเทานั้น 38 19
  • 20. วิธีการคํานวณคา K - คํานวณจากสูตรตามลักษณะงานนั้น ๆ โดยใชดัชนีราคา วัสดุกอสรางของกระทรวงพาณิชย - แยกประเภทงานกอสรางใหชัดเจนตามลักษณะงาน - คํานวณคา K โ ใ ทศนิยม 3 ตําแหนงไ ปดเศษทุกขัั้นตอน  โดยใช ิ ไม - เฉพาะคา K สวนที่เพิ่มหรือลดเกิน 4 % จึงจะไดรับเงินเพิ่ม หรือเรียกเงินคืน - ผูรับจางไมสามารถทํางานเสร็จตามสัญญา โดยเปนความผิด ของผูรับจาง คา K ตามสูตรตาง ๆ ทีี่จะนํํามาใชในการคํํานวณให ใ ใ ใชคา K เดือนสิ้นสุดตามอายุสัญญา หรือคา K เดือนสงงานจริง แลวแตคา K ตัวใดจะมีคานอยกวา - จายเงินคางานกอน แลวจึงคํานวณเงินเพิ่มคา K ในภายหลัง 39 การตรวจสอบเงินเพิ่มหรือเรียกเงินคืน - กรอกแบบฟอรม ตรวจสอบสิทธิ(ประกาศ/สัญญา/90วัน) - แยกคางานตามใบสงมอบงานในแตละงวดใหตรงสูตร - คิดคางานที่ไมอยูในขายไดรับการพิจารณาในแตละงวดตามสูตร ู ู - ใชเครื่องคิดเลข หรือใชโปรแกรมฯ ของจุฬาฯ คํานวณ - นําคา K ที่ไดหัก 4 % สวนที่เกินตองจายเพิ่มหรือเรียกคืน (คา K ที่ไดอยูระหวาง 1.04-0.96 ไมตองจายเพิ่มหรือเรียกคืน) - นําคา K สวนที่ตองจายเพิ่มหรือเรียกคืน คูณคางานทสงมอบ นาคา สวนทตองจายเพมหรอเรยกคน คณคางานที่สงมอบ (หักคางานที่ไมอยูในขายไดรับการพิจารณาและกรณีสงงานเกิน กําหนดสัญญาตองเปรียบเทียบคา K) - รวมคา K ทุกงวดที่คํานวณไดและเสนอพิจารณาอนุมติ ั 40 20
  • 21. ปญหาที่พบในการพิจารณาและตรวจสอบคา K 1. ประกาศประกวดราคา หรือสัญญาจางไมไดระบุเงื่อนไข ของการใชสัญญาแบบปรับราคาได 2. ผูรับจางขอรับเงินคา K เกิน 90 วัน 3. กําหนดสูตรคา K ไวไมครบหรือไมสอดคลองกับงาน 4. นํารายการที่ไมอยูในขายมาคํานวณคา K 5. การหักคางานที่ไมอยูในขายตองพิจารณาจากประมาณ ราคากอสราง (BOQ) ที่ผูรับจางเสนอราคา และตองนํา Factor F มาคูณแตละรายการใหถูกตอง กอนนํามาหัก 41 ปญหาที่พบในการพิจารณาและตรวจสอบคา K 6. คางานที่สงมอบไดหักเงินลวงหนาหรือหักภาษีมลคาเพิ่ม ู กอนนํามาคํานวณทําใหไดคางานต่ํากวาขอเท็จจริง 7. คํานวณคา K โดยไมไดหัก 4% ออก 8. ไมไดเปรียบเทียบคา K กรณีสงงานเกินระยะเวลาในสัญญา 9. เอกสารสงไมครบถวนทําใหการพิจารณาลาชา 10. ใชดัชนีราคาในการคํานวณไมถูกตอง เชน ใชดัชนีใน เดือนตรวจรับแทนเดือนสงมอบงาน ใชดัชนีเดือนที่เซ็นสัญญา แทนเดือนเปดซองราคา 42 21
  • 22. วรรณศัักดิ์ิ แกนทรัพย  ั magun_03@hotmail.com 089-9018080 43 22