SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ (Stars หรือ Fixed stars) เป็นดาวที่มีแสงสว่าง และพลังงานในตัวเอง เช่น
ดวงอาทิตย์ จุดกาเนิดดาวฤกษ์ จากการศึกษาของนักดาราศาสตร์พบว่าการเกิดดาวฤกษ์อุบัติ
ขึ้นในบริเวณที่ลึกเข้าไปในกลุ่มเมฆ ฝุ่นและก๊าซ ซึ่งเรียกว่า เนบิวล่า (Nebular) โดยจะเกิดจาก
อะตอมของก๊าซที่รวมตัวกันเข้าเป็นเมฆมืดขนาดยักษ์ มีขนาดกว้างใหญ่หลายร้อยปีแสง แรง
โน้มถ่วงจะดึงก๊าซและฝุ่นเข้ารวมกันเป็นก้อนก๊าซที่อัดแน่นหมุนรอบตัวเองจนใจกลางมี
อุณหภูมิสูงมากพอ จนเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์
การศึกษาดาวฤกษ์จะเป็นการศึกษาความสว่าง, สีความสว่างและโชติมาตรของดาว
โดยทั่วไปดาวจะปรากฏสว่างมากหรือน้อย ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความสว่างจริงเพียงอย่างเดียวแต่
ขึ้นอยู่กับระยะทางของดาว จึงนิยามความสว่างจริงของดาวเป็นโชติมาตรสัมบูรณ์สีของดาว
ฤกษ์ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของดาวแต่ละดวง
ดาวฤกษ์เป็นก้อนก๊าซสว่างที่มีอุณหภูมิสูง ดังนั้นพลังงานที่เกิดขึ้นภายในดวงจะ
ส่งผ่านออกทางบรรยากาศที่เรามองเห็นได้ เรียกบรรยากาศชั้นนี้ว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์พร้อมทั้ง
การแผ่รังสีอินฟราเรด, รังสีอุลตราไวโอเลต, เอกซเรย์รวมทั้งคลื่นวิทยุ และคลื่นแสงที่ตา
มองเห็น การพิจารณาอุณหภูมิของดาวฤกษ์กับสี พบว่าอุณหภูมิต่าจะปรากฏเป็นสีแดง และถ้า
อุณหภูมิสูงจะปรากฏเป็นสีน้าเงินและกลายเป็นสีขาว โดยมีการกาหนด ดาวสีน้าเงิน ที่มี
อุณหภูมิสูงเป็นพวกดาว O ส่วนดาวสีแดงเป็นพวก M และเมื่อเรียงลาดับอุณหภูมิสูงลงไปหา
ต่า สเปคตรัมของดาว ได้แก่ O - B - A - F - G - K - M ดวงอาทิตย์จัดเป็นพวก G ซึ่งมีอุณหภูมิ
ปานกลาง 4.3
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์
นักวิทยาศาสตร์พบว่าสีของดาวฤกษ์มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิพื้นผิวของดาวฤกษ์
นั้นๆ โดยดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิพื้นผิวต่าจะมีสีแดง ส่วนดาวฤกษ์ที่มีอุณภูมิพื้นผิวสูงจะมีสีน้า
เงิน นอกจากนี้ในกรณีที่ดาวฤกษ์นั้นไม่ใช่ดาวยักษ์ ขนาดของดาวฤกษ์ก็จะเกี่ยวข้องกับสีของ
ดาวเช่นกัน โดยดาวฤกษ์มวลมากจะมีสีน้าเงิน ส่วนดาวฤกษ์มวลน้อยจะมีสีแดง
การแบ่งสีของดาวฤกษ์
สีของดาวฤกษ์แบ่งได้เป็น 7 ระดับ ตามระดับอุณหภูมิความร้อน จากมากไปน้อย
ตามลาดับ ดังนี้O-B-A-F-G-K-M ซึ่งมีวิธีการจาง่ายๆ คือ "Oh Be A Fine Girl(Guy)
Kiss Me"
O = สีน้าเงิน
B = สีน้าเงินแกมขาว
A = สีขาว
F = สีขาวแกมเหลือง
G = สีเหลือง
K = สีส้ม
M = สีแดง
(สาหรับดวงอาทิตย์ของเรา ถูกจัดอยู่ในกลุ่มดาวฤกษ์สีเหลือง)
จากข้อมูลและภาพถ่ายและบันทึกคลื่นแสงของดวงดาว จานวนมากมายเหล่านี้ ก็
ถูกนามาจาแนกแยกดวงดาวเป็นกลุ่มเป็นพวก เมื่อเอามาเปรียบเทียบกับความเข้าใจทางฟิสิกส์
เกี่ยวกับธรรมชาติของอะตอมแล้วก็พบว่าดวงดาวนั้นหาใช่สิ่งที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไม่ แต่
กลับมีวิถีชีวิตที่คาดคะเนได้ ปัจจัยที่ทาให้วิถีชีวิตของดวงดาวต่างกันไป ก็อยู่ที่จานวนมวล
ของมันเท่านั้น หากดาวมีมวลน้อยก็จะดาเนินชีวิตไปแบบหนึ่ง หากมีมวลมากก็จะดาเนิน
ชีวิตแตกต่างกันออกไป เราสามารถนาข้อมูลเหล่านี้มาคาดการณ์อนาคตและหาอายุของ
ดวงดาวที่เราสังเกตการณ์ได้ เราจึงได้ศึกษาความเปลี่ยนแปลงของดวงดาวจนได้เข้าใจว่า
ดวงดาวมิใช่สิ่งที่มีชีวิตอยู่ชั่วนิรันดร์ หากแต่มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย เฉกเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิต
ทั้งหลายทั้งปวง
ช่วงชีวิตของดวงดาว ที่จะกล่าวโดยละเอียดต่อไปนั้น จะผ่านขั้นตอนดังนี้
1. มวลสารต่างๆในจักรวาลเกิดขึ้นมาเป็นดวงดาวในภายหลัง
2. ดาวก่อนเกิด หรือ ช่วงวัยที่เรียกว่า Protostar และดาวเพิ่งคลอดที่เรียกว่า T-Tauri
เพราะดาวชนิดนี้ที่ได้พบเป็นครั้งแรกในกลุ่มดาววัว (Taurus)
3. ดาวที่เป็นดาวอย่างสมบูรณ์แล้ว ซึ่งนักดาราศาสตร์เรียกว่า Main Sequence Star
4. ดาวสลาย คือดาวที่เผาจนหมดเชื้อเพลิงในแกนกลางแล้ว ก็จะเริ่มเข้า ช่วงแห่งการ
แตกสลายสิ้นอายุขัยของดวงดาว
แหล่งที่มา http://physicsworld.nanacity.com/physicsworld/lesson/astro4.htm
************************************

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกttt ttt
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพMoukung'z Cazino
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar systemJiraporn
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ narongsakday
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)Miewz Tmioewr
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 

Was ist angesagt? (19)

กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar system
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ดาวฤกษ
ดาวฤกษ ดาวฤกษ
ดาวฤกษ
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 

Andere mochten auch

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
ข้อสอบคู่ขนาน พี่จร
ข้อสอบคู่ขนาน พี่จรข้อสอบคู่ขนาน พี่จร
ข้อสอบคู่ขนาน พี่จรKamjornT
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเราKruPa Jggdd
 
หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3
หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3
หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3KruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศKruPa Jggdd
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2KruPa Jggdd
 
Astronomy 01
Astronomy 01Astronomy 01
Astronomy 01Chay Kung
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37krupornpana55
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33krupornpana55
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35krupornpana55
 
1โอเน็ตปี52
1โอเน็ตปี521โอเน็ตปี52
1โอเน็ตปี52krupornpana55
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32krupornpana55
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434krupornpana55
 

Andere mochten auch (20)

แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
การประดิษฐ์แผนที่ดาว
การประดิษฐ์แผนที่ดาวการประดิษฐ์แผนที่ดาว
การประดิษฐ์แผนที่ดาว
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ข้อสอบคู่ขนาน พี่จร
ข้อสอบคู่ขนาน พี่จรข้อสอบคู่ขนาน พี่จร
ข้อสอบคู่ขนาน พี่จร
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทย์ดวงดาวและโลกชองเรา
 
หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3
หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3
หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ3
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
 
Astronomy 01
Astronomy 01Astronomy 01
Astronomy 01
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 37
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 33
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 35
 
1โอเน็ตปี52
1โอเน็ตปี521โอเน็ตปี52
1โอเน็ตปี52
 
O ne tm31-54
O ne tm31-54O ne tm31-54
O ne tm31-54
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 3434
 

Ähnlich wie ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 kanjana23
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.pangpon
 
งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5maitree khanrattaban
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกochestero
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1onchalermpong
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
โลกและดวงดาว
โลกและดวงดาวโลกและดวงดาว
โลกและดวงดาวพัน พัน
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะpangpon
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะpangpon
 

Ähnlich wie ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์ (20)

Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.
 
ดาวฤกษ์.pptx
ดาวฤกษ์.pptxดาวฤกษ์.pptx
ดาวฤกษ์.pptx
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
โลกและดวงดาว
โลกและดวงดาวโลกและดวงดาว
โลกและดวงดาว
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 

ดาวฤกษ์คือะไร อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์

  • 1. ดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ (Stars หรือ Fixed stars) เป็นดาวที่มีแสงสว่าง และพลังงานในตัวเอง เช่น ดวงอาทิตย์ จุดกาเนิดดาวฤกษ์ จากการศึกษาของนักดาราศาสตร์พบว่าการเกิดดาวฤกษ์อุบัติ ขึ้นในบริเวณที่ลึกเข้าไปในกลุ่มเมฆ ฝุ่นและก๊าซ ซึ่งเรียกว่า เนบิวล่า (Nebular) โดยจะเกิดจาก อะตอมของก๊าซที่รวมตัวกันเข้าเป็นเมฆมืดขนาดยักษ์ มีขนาดกว้างใหญ่หลายร้อยปีแสง แรง โน้มถ่วงจะดึงก๊าซและฝุ่นเข้ารวมกันเป็นก้อนก๊าซที่อัดแน่นหมุนรอบตัวเองจนใจกลางมี อุณหภูมิสูงมากพอ จนเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ การศึกษาดาวฤกษ์จะเป็นการศึกษาความสว่าง, สีความสว่างและโชติมาตรของดาว โดยทั่วไปดาวจะปรากฏสว่างมากหรือน้อย ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความสว่างจริงเพียงอย่างเดียวแต่ ขึ้นอยู่กับระยะทางของดาว จึงนิยามความสว่างจริงของดาวเป็นโชติมาตรสัมบูรณ์สีของดาว ฤกษ์ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของดาวแต่ละดวง ดาวฤกษ์เป็นก้อนก๊าซสว่างที่มีอุณหภูมิสูง ดังนั้นพลังงานที่เกิดขึ้นภายในดวงจะ ส่งผ่านออกทางบรรยากาศที่เรามองเห็นได้ เรียกบรรยากาศชั้นนี้ว่า ชั้นโฟโตสเฟียร์พร้อมทั้ง
  • 2. การแผ่รังสีอินฟราเรด, รังสีอุลตราไวโอเลต, เอกซเรย์รวมทั้งคลื่นวิทยุ และคลื่นแสงที่ตา มองเห็น การพิจารณาอุณหภูมิของดาวฤกษ์กับสี พบว่าอุณหภูมิต่าจะปรากฏเป็นสีแดง และถ้า อุณหภูมิสูงจะปรากฏเป็นสีน้าเงินและกลายเป็นสีขาว โดยมีการกาหนด ดาวสีน้าเงิน ที่มี อุณหภูมิสูงเป็นพวกดาว O ส่วนดาวสีแดงเป็นพวก M และเมื่อเรียงลาดับอุณหภูมิสูงลงไปหา ต่า สเปคตรัมของดาว ได้แก่ O - B - A - F - G - K - M ดวงอาทิตย์จัดเป็นพวก G ซึ่งมีอุณหภูมิ ปานกลาง 4.3 อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์ นักวิทยาศาสตร์พบว่าสีของดาวฤกษ์มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิพื้นผิวของดาวฤกษ์ นั้นๆ โดยดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิพื้นผิวต่าจะมีสีแดง ส่วนดาวฤกษ์ที่มีอุณภูมิพื้นผิวสูงจะมีสีน้า เงิน นอกจากนี้ในกรณีที่ดาวฤกษ์นั้นไม่ใช่ดาวยักษ์ ขนาดของดาวฤกษ์ก็จะเกี่ยวข้องกับสีของ ดาวเช่นกัน โดยดาวฤกษ์มวลมากจะมีสีน้าเงิน ส่วนดาวฤกษ์มวลน้อยจะมีสีแดง การแบ่งสีของดาวฤกษ์ สีของดาวฤกษ์แบ่งได้เป็น 7 ระดับ ตามระดับอุณหภูมิความร้อน จากมากไปน้อย ตามลาดับ ดังนี้O-B-A-F-G-K-M ซึ่งมีวิธีการจาง่ายๆ คือ "Oh Be A Fine Girl(Guy) Kiss Me"
  • 3. O = สีน้าเงิน B = สีน้าเงินแกมขาว A = สีขาว F = สีขาวแกมเหลือง G = สีเหลือง K = สีส้ม M = สีแดง (สาหรับดวงอาทิตย์ของเรา ถูกจัดอยู่ในกลุ่มดาวฤกษ์สีเหลือง) จากข้อมูลและภาพถ่ายและบันทึกคลื่นแสงของดวงดาว จานวนมากมายเหล่านี้ ก็ ถูกนามาจาแนกแยกดวงดาวเป็นกลุ่มเป็นพวก เมื่อเอามาเปรียบเทียบกับความเข้าใจทางฟิสิกส์ เกี่ยวกับธรรมชาติของอะตอมแล้วก็พบว่าดวงดาวนั้นหาใช่สิ่งที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไม่ แต่ กลับมีวิถีชีวิตที่คาดคะเนได้ ปัจจัยที่ทาให้วิถีชีวิตของดวงดาวต่างกันไป ก็อยู่ที่จานวนมวล ของมันเท่านั้น หากดาวมีมวลน้อยก็จะดาเนินชีวิตไปแบบหนึ่ง หากมีมวลมากก็จะดาเนิน ชีวิตแตกต่างกันออกไป เราสามารถนาข้อมูลเหล่านี้มาคาดการณ์อนาคตและหาอายุของ ดวงดาวที่เราสังเกตการณ์ได้ เราจึงได้ศึกษาความเปลี่ยนแปลงของดวงดาวจนได้เข้าใจว่า ดวงดาวมิใช่สิ่งที่มีชีวิตอยู่ชั่วนิรันดร์ หากแต่มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย เฉกเช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิต ทั้งหลายทั้งปวง ช่วงชีวิตของดวงดาว ที่จะกล่าวโดยละเอียดต่อไปนั้น จะผ่านขั้นตอนดังนี้ 1. มวลสารต่างๆในจักรวาลเกิดขึ้นมาเป็นดวงดาวในภายหลัง 2. ดาวก่อนเกิด หรือ ช่วงวัยที่เรียกว่า Protostar และดาวเพิ่งคลอดที่เรียกว่า T-Tauri เพราะดาวชนิดนี้ที่ได้พบเป็นครั้งแรกในกลุ่มดาววัว (Taurus)
  • 4. 3. ดาวที่เป็นดาวอย่างสมบูรณ์แล้ว ซึ่งนักดาราศาสตร์เรียกว่า Main Sequence Star 4. ดาวสลาย คือดาวที่เผาจนหมดเชื้อเพลิงในแกนกลางแล้ว ก็จะเริ่มเข้า ช่วงแห่งการ แตกสลายสิ้นอายุขัยของดวงดาว แหล่งที่มา http://physicsworld.nanacity.com/physicsworld/lesson/astro4.htm ************************************