SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 32
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Program Computer
ความหมายและลักษณะของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ( computer program) คือ กลุ่มชุดคำสั่งที่ใช้
อธิบำยชิ้นงำน หรือกลุ่มงำนที่จะประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์อำจหมำยถึง ซอฟต์แวร์ แอปพลิเคชัน หรือ
โปรแกรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่นั้นเป็นชุดคำสั่งที่ออกแบบ
ตำมขั้นตอนวิธี โดยปกติแล้วเขียนโดยโปรแกรมเมอร์ หรือไม่ก็สร้ำง
โดยโปรแกรมอื่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง ๆ อำจเขียนขึ้นด้วย
ระบบรหัส หรือที่เรียกว่ำ ภำษำเครื่อง ซึ่งมักเขียนได้ยำกและเหมำะ
กับช่ำงเทคนิคเฉพำะทำง ภำยหลังจึงได้มีกำรสร้ำงภำษำโปรแกรมที่
ใกล้เคียงภำษำมนุษย์มำกขึ้น
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมประกอบด้วย
1.กำรวิเครำะห์ปัญหำ
2.กำรออกแบบโปรแกรม
3.กำรเขียนโปรแกรมด้วยภำษำคอมพิวเตอร์
4.กำรทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
5.กำรทำเอกสำรประกอบโปรแกรม
6.กำรบำรุงรักษำโปรแกรม
การวิเคราะห์ปัญหา
กำรวิเครำะห์ปัญหำ ประกอบด้วยขั้นตอนต่ำงๆ ดังนี้
1.กำหนดวัตถุประสงค์ของงำน เพื่อพิจำรณำว่ำโปรแกรมต้องทำกำร
ประมวลผลอะไรบ้ำง
2.พิจำรณำข้อมูลนำเข้ำ เพื่อให้ทรำบว่ำจะต้องนำข้อมูลอะไรเข้ำ
คอมพิวเตอร์ ข้อมูลมีคุณสมบัติเป็นอย่ำงไร ตลอดจนถึงลักษณะ
และรูปแบบของข้อมูลที่จะนำเข้ำ
3.พิจำรณำกำรประมวลผล เพื่อให้ทรำบว่ำโปรแกรมมีขั้นตอนกำร
ประมวลผลอย่ำงไรและมีเงื่อนไปกำรประมวลผลอะไรบ้ำง
4.พิจำรณำข้อสนเทศนำออก เพื่อให้ทรำบว่ำมีข้อสนเทศอะไรที่จะแสดง
ตลอดจนรูปแบบและสื่อที่จะใช้ในกำรแสดงผล
การออกแบบโปรแกรม
กำรออกแบบขั้นตอนกำรทำงำนของโปรแกรมเป็นขั้นตอนที่ใช้
เป็นแนวทำงในกำรลงรหัสโปรแกรม ผู้ออกแบบขั้นตอนกำรทำงำน
ของโปรแกรมอำจใช้เครื่องมือต่ำงๆ ช่วยในกำรออกแบบ อำทิเช่น
คำสั่งลำลอง (Pseudocode) หรือ ผังงำน (Flow chart) กำรออกแบบ
โปรแกรมนั้นไม่ต้องกังวนกับรูปแบบคำสั่งภำษำคอมพิวเตอร์ แต่ให้
มุ่งควำมสนใจไปที่ลำดับขั้นตอนในกำรประมวลผลของโปรแกรม
เท่ำนั้น
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
กำรเขียนโปรแกรมเป็นกำรนำเอำผลลัพธ์ของกำรออกแบบ
โปรแกรม มำเปลี่ยนเป็นโปรแกรมภำษำคอมพิวเตอร์ภำษำใดภำษำ
หนึ่ง ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องให้ควำมสนใจต่อรูปแบบคำสั่งและ
กฎเกณฑ์ของภำษำที่ใช้เพื่อให้กำรประมวลผลเป็นไปตำมผลลัพธ์ที่
ได้ออกแบบไว้ นอกจำกนั้นผู้เขียนโปรแกรมควรแทรกคำอธิบำย
กำรทำงำนต่ำงๆ ลงในโปรแกรมเพื่อให้โปรแกรมนั้นมีควำมกระจ่ำง
ชัดและง่ำยต่อกำรตรวจสอบและโปรแกรมนี้ยังใช้เป็นส่วนหนึ่งของ
เอกสำรประกอบ
การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
กำรทดสอบโปรแกรมเป็นกำรนำโปรแกรมที่ลงรหัสแล้วเข้ำ
คอมพิวเตอร์ เพื่อตรวจสอบรูปแบบกฎเกณฑ์ของภำษำ และผลกำร
ทำงำนของโปรแกรมนั้น ถ้ำพบว่ำยังไม่ถูกก็แก้ไขให้ถูกต้องต่อไป
ขั้นตอนกำรทดสอบและแก้ไขโปรแกรม อำจแบ่งได้เป็น 3 ขั้น
1.สร้ำงแฟ้ มเก็บโปรแกรมซึ่งส่วนใหญ่นิยมนำโปรแกรมเข้ำผ่ำน
ทำงแป้ นพิมพ์โดยใช้โปรแกรมประมวลคำ
2.ใช้ตัวแปลภำษำคอมพิวเตอร์แปลโปรแกรมที่สร้ำงขึ้นเป็น
ภำษำเครื่อง โดยระหว่ำงกำรแปลจะมีกำรตรวจสอบควำมถูกต้อง
ของรูปแบบและกฎเกณฑ์ในกำรใช้ภำษำ ถ้ำคำสั่งใดมีรูปแบบไม่
ถูกต้องก็จะแสดงข้อผิดพลำดออกมำเพื่อให้ผู้เขียนนำไปแก้ไขต่อไป
ถ้ำไม่มีข้อผิดพลำด เรำจะได้โปรแกรมภำษำเครื่องที่สำมำรถให้
คอมพิวเตอร์ประมวลผลได้
3.ตรวจสอบควำมถูกต้องของกำรประมวลผลของโปรแกรม
โปรแกรมที่ถูกต้องตำมรูปแบบและกฎเกณฑ์ของภำษำ แต่อำจให้
ผลลัพธ์ของกำรประมวลผลไม่ถูกต้องก็ได้ ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรม
จำเป็นต้องตรวจสอบว่ำโปรแกรมประมวลผลถูกต้องตำมต้องกำร
หรือไม่
การทาเอกสารประกอบโปรแกรม
กำรทำเอกสำรประกอบโปรแกรมเป็นงำนที่สำคัญของกำร
พัฒนำโปรแกรม เอกสำรประกอบโปรแกรมช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรม
เข้ำใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธ์
ที่จะได้จำกโปรแกรม กำรทำโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควรต้องทำ
เอกสำรกำกับ เพื่อใช้สำหรับกำรอ้ำงอิงเมื่อจะใช้งำนโปรแกรมและ
เมื่อต้องกำรแก้ไขปรับปรุงโปรแกรม
การบารุงรักษาโปรแกรม
เมื่อโปรแกรมผ่ำนกำรตรวจสอบตำมขั้นตอนเรียบร้อยแล้ว และ
ถูกนำมำให้ผู้ใช้ได้ใช้งำน ในช่วงแรกผู้ใช้อำจจะยังไม่คุ้นเคยก็อำจทำ
ให้เกิดปัญหำขึ้นมำบ้ำง ดังนั้นจึงต้องมีผู้คอยควบคุมดูแลและคอย
ตรวจสอบกำรทำงำน กำรบำรุงรักษำโปรแกรมจึงเป็นขั้นตอนที่
ผู้เขียนโปรแกรมต้องคอยเฝ้ ำดูและหำข้อผิดพลำดของโปรแกรมใน
ระหว่ำงที่ผู้ใช้ใช้งำนโปรแกรม และปรับปรุงโปรแกรมเมื่อเกิด
ข้อผิดพลำดขึ้น หรือในกำรใช้งำนโปรแกรมไปนำนๆ ผู้ใช้อำจ
ต้องกำรเปลี่ยนแปลงกำรทำงำนของระบบงำนเดิมเพื่อให้เหมำะกับ
เหตุกำรณ์ นักเขียนโปรแกรมก็จะต้องคอยปรับปรุงแก้ไขโปรแกรม
ตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้ที่เปลี่ยนแปลงไปนั่นเอง
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภำษำคอมพิวเตอร์ (Programming Languages)คือ เครื่องมือที่
มนุษย์ใช้สื่อสำรกับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยแต่ละภำษำจะมีลักษณะ
เฉพำะตัวที่ชัดเจน มีคำศัพท์ที่ใช้จำนวนจำกัด
ภำษำคอมพิวเตอร์แบ่งตำมลักษณะของภำษำและกำรใช้งำนได้ 5
ประเภท ดังนี้
ภาษาเครื่อง : เป็นภำษำที่มีระดับต่ำที่สุด โดยจะเขียนด้วยระบบ
ฐำนสอง ซึ่งมีเพียง 0 กับ 1 เท่ำนั้น
ภาษาแอสแซมบลี : จัดเป็นภำษำระดับต่ำมำก ใช้ตัวย่อ หรือ
รหัสย่อในกำรเขียนโปรแกรม เช่น A คือรหัสของ Add , C คือ
Compare เป็นต้น และตัวแปลภำษำ Assembly คือ Assembler
ภาษาระดับสูง : เป็นภำษำโปรแกรมยุคที่ 3 ที่เป็นภำษำระดับสูง
โปรแกรมจะเขียนในลักษณะคล้ำยภำษำอังกฤษ ทำให้เขียนได้ง่ำยขึ้น และ
สำหรับตัวแปลภำษำโปรแกรมเหล่ำนี้คือ คอมไพเลอร์ (Compiler) โดย
คอมไพเลอร์จะทำหน้ำที่แปล Souce Program ให้เป็น Oject Program โดยแปล
ครั้งเดียว ยกตัวอย่ำงภำษำโปรแกรมระดับสูงเช่น Fortran , Basic, pascal, C,
Cobol
ภาษาระดับสูงมาก : เป็นภำษำโปรแกรมยุคที่ 4 ซึ่งเป็นภำษำระดับสูง
มำก จัดเป็นภำษำไร้กระบวนคำสั่ง หมำยควำมว่ำผู้ใช้ เพียงบอกแต่ว่ำให้
คอมพิวเตอร์ทำอะไร โดยไม่ต้องบอกคอมพิวเตอร์ว่ำสิ่งนั้นทำอย่ำงไร เรียกว่ำ
เป็นภำษำเชิงผลลัพธ์ คือเน้นว่ำทำอะไร ไม่ใช่ทำอย่ำงไร ดังนั้นจึงเป็นภำษำ
โปรแกรมที่เขียนง่ำย
ภาษาธรรมชาติ : เป็นภำษำโปรแกรมยุคที่ 5 ซึ่งคล้ำยกับภำษำพูดตำม
ธรรมชำติของคน กำรเขียนโปรแกรมง่ำยที่สุด คือกำรเขียนคำพูดของเรำเอง
ว่ำเรำต้องกำรอะไร ไม่ต้องใช้คำสั่งงำนใดๆ เลย
ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวอย่ำงกำรเลือกใช้ภำษำคอมพิวเตอร์ให้เหมำะสมกับกำรใช้งำน
1. ภำษำBASIC (Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code) ภำษำนี้
เหมำะสำหรับผู้เริ่มศึกษำ กำรเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. ภำษำCOBOL (Common Business Oriented Language)ภำษำนี้นิยมใช้ใน
งำนธุรกิจบนเครื่องขนำดใหญ่
3. ภำษำFORTRAN (FORmula TRANslator)ภำษำนี้ใช้สำหรับงำนด้ำน
คณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์ วิศวกรรมศำสตร์
4. ภำษำPascal ( ชื่อของ Blaise Pascal)ภำษำนี้จะใช้ในวิทยำลัย และ
มหำวิทยำลัย
5. ภำษำ C ภำษำนี้เหมำะสำหรับนักเขียนโปรแกรม และใช้ใน
วิทยำลัย มหำวิทยำลัย
6. ภำษำ C++ ภำษำนี้สำหรับผู้ผลิตซอฟต์แวร์
7. ภำษำALGOL (ALGOrithmic Language)ภำษำนี้เป็นภำษำสำหรับ
งำนทำงวิทยำศำสตร์ และต่อมำมีกำรพัฒนำต่อเป็นภำษำ PL/I และ
Pascal
8. ภำษำAPL (A Programming Language)ภำษำนี้ออกแบบโดยบริษัท
IBM ใน ปี ค.ศ. 1968 เป็นภำษำที่โต้ตอบกับผู้ใช้ทันที เหมำะสำหรับ
จัดกำรกับกลุ่มของข้อมูลที่สัมพันธ์กันในรูปแบบตำรำง
9.ภำษำLISP (LIST Processing)ภำษำนี้ถูกออกแบบมำให้ใช้กับข้อมูลที่
ไม่ใช้ตัวเลข ซึ่งอำจเป็นสัญลักษณ์พิเศษหรือตัวอักษรก็ได้ด้วย
10. ภำษำLOGOภำษำนี้นิยมใช้ในโรงเรียน เพื่อสอนทักษะ
กำรแก้ปัญหำให้กับนักเรียน
11. ภำษำPL/I (Programming Language One)ภำษำนี้ถูกออกแบบ
มำให้ใช้ กับงำนทั้งทำงด้ำนวิทยำศำสตร์ และธุรกิจด้วย
12. ภำษำPROLOG (PROgramming LOGIC)ภำษำนี้ นิยมใช้มำก
ในงำนด้ำนปัญญำประดิษฐ์ จัดเป็นภำษำธรรมชำติภำษำหนึ่ง
ด้วย
13. ภำษำRPG (Report Program Generator)ภำษำนั้นถูกออกแบบ
มำให้ใช้กับงำนทำงธุรกิจ จะมีคุณสมบัติในกำรสร้ำง
โปรแกรม สำหรับพิมพ์รำยงำนที่ยืดหยุ่นมำกทีเดียว
การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์
ในกำรเลือกใช้ภำษำในกำรเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ก็จะมี
กำรพิจำรณำหลำยๆ อย่ำงด้วยกัน ดังที่จะกล่ำวดังต่อไปนี้
1.ในบำงครั้งซึ่งในงำนที่ไม่ยุ่งยำกนัก ก็อำจใช้
ภำษำคอมพิวเตอร์พื้นฐำน อย่ำงเช่น ภำษำ BASIC เพรำะเขียน
โปรแกรมได้ง่ำยรวดเร็ว และก็ยังมีติดตั้งอยู่บนเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมำกอยู่แล้วด้วย
2.ภำษำคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้ ก็จะถูกจำกัดโดย นักเขียน
โปรแกรม เพรำะว่ำเรำควรใช้ภำษำที่มีผู้รู้อยู่บ้ำง
3.ผู้ใช้ก็ควรที่จะจำกัดภำษำคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ด้วย ไม่ควร
ติดตั้งตัวแปลภำษำคอมพิวเตอร์ทุกภำษำบนเครื่อง
4.ถ้ำโปรแกรมที่เขียนขึ้นมำนั้น จะต้องนำไปใช้งำนบน
เครื่องต่ำงๆ กัน ก็ควรที่จะเลือกภำษำที่สำมำรถ ใช้งำนได้กับ
ทุกเครื่อง เพรำะจะทำให้โปรแกรมนั้นทำงำนได้กับทุกเครื่อง
โดยกำรเขียนโปรแกรมเพียงครั้งเดียว
5.ในกำรเลือกภำษำในกำรเขียนโปรแกรม เรำก็ควร
เลือกโดยกำรดูจำกคุณสมบัติ หรือข้อดีของภำษำนั้นๆ เป็น
หลักเป็นหลักด้วย
6.ในกำรเขียนโปรแกรมเพื่อใช้ในหน่วยงำนหนึ่งๆ นี้ก็
ควรจะใช้ภำษำคอมพิวเตอร์ที่เป็นภำษำเดียวกันนะครับ เพรำะ
กำรดูแลรักษำซอฟต์แวร์นั้น จะสำมำรถจัดกำรหรือว่ำทำได้
ง่ำยกว่ำ
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ลักษณะของภาษา HTML
ภำษำ HTML เป็นภำษำคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่ใช้โปรแกรม
เท็กซ์เอดิเตอร์ (Text Editor) หรือเวิร์ดโพรเซสเซอร์ (Word
Processor) เพื่อเขียนชุดคำสั่ง โดยไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมเอดิ
เตอร์อื่นๆ เพิ่มเติม โดยที่นี้จะเขียนภำษำ HTML ด้วย Notepad
ภำษำ HTML คือ ภำษำที่ใช้สำหรับเขียนเว็บเพจ เพื่อนำไป
แสดงผลบนเว็บเบรำว์เซอร์ โดยจะต้องมีโครงสร้ำงของภำษำ
รูปแบบของคำสั่งต่ำงๆ เพื่อให้เว็บเบรำว์เซอร์สำมำรถเข้ำใจ
และแสดงผลออกมำตำมที่ต้องกำร
หลักการเขียนภาษา HTML
กำรเปิดโปรแกรม Notepad ขึ้นมำทำงำนสำมำรถเปิดได้จำก
กำรคลิกที่ปุ่ม Start > Programs > Accessories > Notepad หรือจะใช้
คำสั่งRun > Notepad ก็ได้เช่นเดียวกัน
ก่อนกำรใช้งำนต้องมีกำรปรับแต่งฟอนต์อีกเล็กน้อย เพื่อให้
สังเกตเห็นได้เมื่อมีกำรป้ อนข้อควำมผิดพลำดในหน้ำต่ำงโปรแกรม
ด้วยกำรกำหนดให้ใช้ฟอนต์ MS Sans Serif ซึ่งพิมพ์อักษรไทยได้
ขนำด 10-12 พอยต์ (แล้วแต่สำยตำคนทำมองได้ชัดเจน ยิ่งโตมำก
พื้นที่กำรทำงำนก็จะลดลงต้องเลื่อนจอ (Scroll) ไปทำงขวำมำก ดัง
ภำพข้ำงล่ำงนี้
เทคนิคในกำรป้ อนข้อควำมคำสั่งต่ำงๆ ลงในโปรแกรม
Notepad นั้นควรจะจัดแถวให้มีกำรเยื้องในแต่ละคำสั่งเป็นคู่ๆ
เพื่อให้สำมำรถตรวจสอบคู่คำสั่งเปิด/ปิดได้ชัดเจน แยก
ระหว่ำงส่วนคำสั่งและข้อควำมออกจำกกันจะดูได้ง่ำยดังภำพ
ล่ำงนี้
กำรบันทึกข้อมูล
ที่สำคัญอย่ำงยิ่งคือกำรจัดเก็บไฟล์ (Save) เพรำะ Notepad เป็น
Text Editor ค่ำปกติของโปรแกรมเมื่อจัดเก็บไฟล์จะมีสกุลเป็น .txt เสมอ
เมื่อต้องกำรจัดเก็บเว็บเพจที่มีสกุลของไฟล์เป็น .htm หรือ .html จะต้อง
เปลี่ยนชนิดของกำรจัดเก็บจำก Text Documents (*.txt) เป็น All Files และ
กำหนดชื่อไฟล์พร้อมสกุลเป็น .html ดังตัวอย่ำงกำหนดชื่อเป็น
notepad.html
คำสั่งพื้นฐำน
< !-- ข้อควำม --> คำสั่ง หมำยเหตุ ใช้อธิบำยควำมหมำย
ชื่อผู้เขียนโปรแกรม และอื่นๆ
<br> คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่
<p> ข้อควำม </p> คำสั่งย่อหน้ำใหม่
<hr width = "50%" size = "3"> คำสั่ง ตีเส้น, กำหนดขนำดเส้น
&nbsp; คำสั่ง เพิ่มช่องว่ำง
<IMG SRC = "PHOTO.GIF"> คำสั่งแสดงรูปภำพชื่อ Photo.gif
<CENTER> ข้อควำม </CENTER> คำสั่งจัดให้ข้อควำมอยู่
กึ่งกลำง
<HTML> </HTML> คำสั่ง <HTML> คือคำสั่งเริ่มต้นในกำรเขียน
โปรแกรม HTML และมีคำสั่ง </HTML> เพื่อบอกจุดสิ้นสุด
โปรแกรม
<HEAD> </HEAD> คำสั่ง <HEAD> คือคำสั่งบอกส่วนที่เป็นชื่อ
เรื่อง โดยมีคำสั่งย่อย <TITLE> อยู่ภำยใน
<TITLE> </TITLE> คำสั่ง <TITLE> คือคำสั่งบอกชื่อเรื่อง จะไป
ปรำกฏที่ Title Bar
<BODY> </BODY> คำสั่ง <BODY> คือคำสั่งบอกส่วนเนื้อเรื่อง ที่
จะถูกแสดงผลใน
เวปบรำวเซอร์ ประกอบด้วยรูปภำพ ตัวอักษร ตำรำง เป็นต้น
รูปแบบตัวอักษร
<font size = "3"> ข้อควำม </font> ขนำดตัวอักษร
<font color = "red"> ข้อควำม </font> สีตัวอักษร
<font face = "Arial"> ข้อควำม </font> รูปแบบ
ตัวอักษร
<besefont size = "2"> ข้อควำม </font> กำหนดค่ำ
เริ่มต้นของขนำดตัวอักษร
<b> ข้อควำม </b> ตัวอักษรหนำ
<i> ข้อควำม </i> ตัวอักษรเอน
<u> ข้อควำม </u> ขีดเส้นใต้ตัวอักษร
<tt> ข้อควำม </tt> ตัวอักษรแบบพิมพ์ดีด
หมำยเหตุ เรำสำมำรถใช้คำสั่งกำหนดรูปแบบตัวอักษร
หลำยๆรูปแบบได้ เช่น
<font face = "Arial" size = "3" color = "red"> ข้อควำม
</font> เป็นต้น
จุดเชื่อมโยงข้อมูล
<a href ="#news"> Hot News </a> ,
<a name ="news">กำหนดจุดเชื่อมชื่อ news ส่วน "a name" คือ
ตำแหน่งที่ลิงค์ไป (เอกสำรเดียวกัน)
<a href ="news.html"> Hot News </a> สร้ำงลิงค์ไปยังเอกสำรชื่อ
"news.html"
<a href ="http://www.thai.com"> Thai </a> สร้ำงลิงค์ไปยังเว็บไซต์
อื่น
<a href ="http://www.thai.com"> <img src = "photo.gif"> </a> สร้ำง
ลิงค์โดยใช้รูปภำพชื่อ photo.gif เป็นตัวเชื่อม
<a href ="mailto:yo@mail.com"> Email </a> สร้ำงลิงค์มำยังอีเมล์
การแสดงผลแบบรายการแบบมีหมายเลขกากับ
<OL value = "1" >
<LI> รำยกำรที่ 1
<LI> รำยกำรที่ 2 </OL>
กำรแสดงผลแบบรำยกำร ใช้คำสั่ง <OL> เป็นเริ่มและปิดท้ำยด้วย
</OL> ส่วนคำสั่ง <LI> เป็นตำแหน่งของรำยกำรที่ต้องกำร
นำเสนอ เรำสำมำรถกำหนดให้แสดงผลรำยกำรได้หลำยแบบเช่น
เรียงลำดับ 1,2,3... หรือ I,II,III... หรือ A,B,C,... ได้ทั้งนี้จะต้อง
เพิ่มคำสั่งเข้ำไปที่ <OL value = "A"> เป็นต้น
การแสดงผลแบบรายการแบบมีสัญลักษณ์กากับ
<UL type = "square">
<LI> รำยกำรที่ 1
<LI> รำยกำรที่ 2
</UL>
กำรแสดงผลแบบรำยกำร ใช้คำสั่ง <UL> เป็นเริ่มและปิดท้ำยด้วย
</UL> ส่วนคำสั่ง <LI> เป็นตำแหน่งของรำยกำร ที่ต้องกำร
นาเสนอ เราสามารถกาหนดให้แสดงผลรายการแบบ
ต่างๆ
- รูปวงกลมทึบ "disc"
- รูปวงกลมโปร่ง "circle"
- รูปสี่เหลี่ยม "square"
ทั้งนี้จะต้องเพิ่มคำสั่งเข้ำไปที่ <UL type = "square"> เป็นต้น
เอกสำรอ้ำงอิง
http://daowroong.igetweb.com/articles/146030/%E0%B8%81
%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%
B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B
9%89%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0
%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%AF.html
http://www.thaigoodview.com/
http://www.siamebook.com/lbro/operating-systems/49-
02009/1019-kind-of-applications.html
http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/com_languages.ht
ml
จัดทำโดย
นำย อรรถพล ดีคำ เลขที่ 2
นำย ภำนุ เวียนสันเทียะ เลขที่ 5
นำงสำวจิรำยุ ไหลธรรมมนูญ เลขที่ 9
นำงสำวญำดำ มีนำง เลขที่ 10
นำงสำวสิริกำญจน์ บึงแก้ว เลขที่ 14
นำงสำววรภรณ์ ช้ำงเขียว เลขที่ 27
นำงสำววิชญำพร ปลีบุตร เลขที่ 28
นำงสำวไอญำดำ อำชวพิสิฐ เลขที่ 29
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/2

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาThanyalak Aranwatthananon
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Patitta Intarasopa
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์benz18
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)พัน พัน
 

Was ist angesagt? (19)

การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ส่งคอม
ส่งคอมส่งคอม
ส่งคอม
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
 

Ähnlich wie โปรแกรมคอมพิวเตอร์

โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Jp Eternally
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7naraporn buanuch
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์sirirat28
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Surasak Piengta
 

Ähnlich wie โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (20)

Software
SoftwareSoftware
Software
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
K8
K8K8
K8
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
5
55
5
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
ใบงาน 5
ใบงาน 5ใบงาน 5
ใบงาน 5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Mehr von Wityaporn Pleeboot

Mehr von Wityaporn Pleeboot (12)

โครงการ1
โครงการ1โครงการ1
โครงการ1
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
 
โครงการ Up And Down
โครงการ Up And Downโครงการ Up And Down
โครงการ Up And Down
 
Up and-down
Up and-downUp and-down
Up and-down
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Up and-down
Up and-downUp and-down
Up and-down
 
wityaporn
wityapornwityaporn
wityaporn
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
ที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญ
 
San disk เปิดตัว microsd ความจุ 128gb
San disk เปิดตัว microsd ความจุ 128gbSan disk เปิดตัว microsd ความจุ 128gb
San disk เปิดตัว microsd ความจุ 128gb
 

โปรแกรมคอมพิวเตอร์