SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 36
ทฤษฎีองคการวาดวยการจัดการ
         แบบวิทยาศาสตร

7/23/2010   copyright www.brainybetty.com   1
              2006 All Rights Reserved
การจัดการแบบวิทยาศาสตรนั้นหมายถึงการ
 จัดการงานที่มีระบบโดยศึกษาหาเหตุและผล
(Cause and effect) เพื่อหาวิธีการที่ดีที่สุดจาก
  การทํางานนั้น วิธีการสําคัญขั้นมูลฐานของ
        การจัดการแบบวิทยาศาสตร
                     ก็คือ
1.พัฒนาหลักการทํางานใหดีขึ้น (Develop principles of work)
2.กําหนดมาตรฐานในการทํางาน ใชวิธีการทางวิทยาศาสตรที่
   มีหลักเกณฑคัดเลือก ฝกหัด สอนและพัฒนาคนงานใหมี
คุณสมบัติตรงตามงานที่ปฏิบัติ เพราะในอดีตคนงานจะทํางาน
ของตนและแสวงหาประสบการณไปเรื่อย ๆ จนพบวิธีที่ดีที่สุด
                    (Standard of work)
      3.กําหนดเครื่องมือในการควบคุมงาน (Control of work)
              4. มีการรวมมือกับคนงานอยางจริงใจ
Frederick W. Taylor




7/23/2010       copyright www.brainybetty.com   5
                  2006 All Rights Reserved
หลักสําคัญของการงานแบบวิทยาศาสตรตามแนวคิด
   ของเทเลอร มีลําดับขั้นที่สําคัญอยู 4 ประการ คือ
 1.พัฒนาระบบการทํางานเปนแบบวิทยาศาสตร ผาน
  การวิเคราะหอยางมีหลักเกณฑแทนการใชกฎที่ไม
                      แนนอน
2.เลือกคนงานโดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร ใชวิธีการ
 ทางวิทยาศาสตรที่มีหลักเกณฑคัดเลือก ฝกหัด สอน
และพัฒนาคนงานใหมีคุณสมบัติตรงตามงานที่ปฏิบัติ
  เพราะในอดีตคนงานจะทํางานของตนและแสวงหา
      ประสบการณไปเรื่อย ๆ จนพบวิธีที่ดีที่สุด
3.ใหการศึกษาอบรมการจัดงานแบบวิทยาศาสตรแก
คนงาน แบงงานและความรับผิดชอบระหวางการจัดการ
และแรงงานหรือกลาวงาย ๆ วามีการแบงงานและความ
 รับผิดชอบระหวางฝายบริหารและฝายผลิต เพราะใน
อดีตนั้นงานและความรับผิดชอบสวนใหญจะตกแกฝาย
                           ผลิต
 4.จัดใหมีการประสานสัมพันธระหวางคนงานกับฝาย
 จัดการ เพื่อใหเชื่อมั่นไดวางานทั้งหมดไดปฏิบัติตาม
              หลักเกณฑที่ไดพัฒนาขึ้น
สรุปแนวความคิดดานการจัดการแบบวิทยาศาสตรของ
                    Taylor ไดดังนี้
ศาสตรไมใชกฎที่ไมมีหลักเกณฑ (Science, not rule of
                        thumb)
 มีการประสานงานมากกวาการขัดแยง (Harmony in
 Group action, rater than-discord) เนนผลผลิตสูงสุด
แทนที่การจํากัดผลผลิต (Maximum output in place of
                  restricted output)
จัดใหมีการคัดเลือก การฝกหัดและการจัดคนงานให
     ทํางานดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร (Scientific
selection, training and placement of the works)มีการ
     พัฒนาพนักงานใหมีความสามารถสูระดับสูงสุด
      เทาที่ควร ทั้งนี้เพื่อตัวพนักงานเองและความ
เจริญรุงเรืองขององคการ (Development of all workers
    to the fullest extent possible for their own and
            organization, highest prosperity)
Henri Fayol




7/23/2010   copyright www.brainybetty.com   10
              2006 All Rights Reserved
ฟาโยลไดเสนอองคประกอบขั้นมูลฐานของการ
              บริหารดังนี้คือ
            1.การวางแผน (To plan)
         2.การจัดองคการ (To organize)
       3.การบังคับบัญชา (To command)
       4.การประสานงาน (To coordinate)
           5.การควบคุม (To control)
นอกจากนี้ ฟาโยลยังไดเสนอหลัก
สําหรับผูบริหารควรนําไปใชในการ
       บริหารอีก 4 ประการ
รับผิดชอบตอผลงานที่
   อยูในขอบขายความ
รับผิดชอบของตน แมวา
   ภาระหนาที่นั้นจะได
    มอบหมายงาน คือ
 อํานาจหนาที่และความ
  รับผิดชอบจะตองได
         สัดสวนกัน
2.เอกภาพในการบริหารงานเปนสิ่งจําเปน
 ที่นักบริหารจะตองสนใจ และจัดใหมีขึ้น
  ในหนวยบริหารของตน หนวยงานใดที่
  ขาดเอกภาพในการบังคับบัญชาจะเกิด
    ความยุงยากสับสนในการปฏิบัติงาน
3.การบริหารงานขององคการจะตองจัดใหสอดคลอง
สัมพันธกัน เพื่อบรรลุเปาหมายหลักขององคการ แมวา
    องคการนั้นจะมีหนวยงานหลายหนวยก็ตาม แต
 วัตถุประสงคหลักขั้นพื้นฐานขององคการยอมตรงกัน
  และนักบริหารตองจัดใหหนวยงานทุกหนวยที่อยูใน
ความรับผิดชอบปฏิบัติงานสนองวัตถุประสงคหลักของ
                    องคการเสมอ
4.นักบริหารจะตองเสาะแสวงหาวิธีการที่จะอํานวย
   ประโยชนและประหยัดตอการบริหารฟาโยลได
  เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ Gangplanks อันเปนแนว
บริหารที่จะชวยลดขั้นตอนในการทํางานใหสั้นเขา
 งานจะรวดเร็วขึ้น การติดตอรายงานใหดําเนินไป
   ตามสายการบังคับบัญชา บางกรณีเปนสิ่งที่ไร
 ประโยชน สิ้นเปลืองและกอใหเกิดความลาชาใน
                 การปฏิบัติงาน
อยางไรก็ดี ขอเสนอที่นาสนใจอันเกิด
  จากแนวความคิดของฟาโยล คือ
หลักเกี่ยวกับการบริหาร 14 ประการ
  ที่ผูบริหารควรพิจารณาเอาใจใส
                ไดแก
1.การแบงแยกการทํางาน
        (Division of work)
2.อํานาจหนาที่ในการปฏิบัติงาน (Authority)
       3.วินัยจรรยา (Discipline)
           4.เอกภาพในการควบคุม
       (Unity of command)
5.เอกภาพในการอํานวยการ
            (Unity of direction )
6.ประโยชนสวนตนตองรองจากประโยชนของ
  องคการ (Subordination of individual to )
  7.ผลประโยชนตอบแทน (Remuneration)
     8.การรวมอํานาจมาไวในสวนกลาง
              (Centralization)
9.สายการบังคับบัญชา (Chain of command)
      10. คําสั่งและระเบียบขอบังคับ
          (Order and regulation)
       11. ความเสมอภาค (Equity)
12. ความมั่นคงในการทํางาน
  (Stability of personnel)
13. ความดําริเริ่มในการงาน (Initiative)
   14. ความยึดมั่นและรวมแรงรวมใจ
      (Esprit de corps)
ขอที่นาสังเกตจากทฤษฏีและหลักเกณฑการจัดการของ
   เทเลอรและฟาโยล มีดังนี้ คือ เทเลอรมุงพิจารณาใน
ดานเทคนิคการทํางานเพื่อจะแสวงหาวิธีการทํางานที่ดี
ที่สุด กับใหความสนใจตอการปฏิบัติงานของคนงานจาก
ระดับต่ําสุดมายังระดับสูง สวนฟาโยลมุงแสวงหาวิธีการ
ที่ดีที่สุดในการบริหารที่จะมีลักษณะเปนสากล สามารถ
 นําไปใชไดในทุกองคการ ฟาโยลมุงเนนผูปฏิบัติงานใน
             ระดับผูบังคับบัญชาเปนสวนใหญ
Harrington Emerson




7/23/2010       copyright www.brainybetty.com   23
                  2006 All Rights Reserved
แนวคิดของ Harrington Emerson :
   ศึกษาประสิทธิภาพขององคกร
ศึกษาความสําคัญของโครงสรางและ
       เปาหมายขององคกร
  หลักประสิทธิภาพ 12 ประการ คือ
กําหนดจุดมุงหมายชัดเจน (Clearly defined goal)
     ใชหลักเหตุผลทั่วไป (Common sense)
      คําแนะนําที่ดี (Competent counsel)
                 มีวินัย (Discipline)
           มีความยุติธรรม (Fair deal)
    มีขอมูลเชื่อถือได (Reliable Information)
           มีความฉับไว (Dispatching)
มีมาตรฐานและมีตารางเวลา
           (Standard and Schedule)
        อยูในสภาพที่มีมาตรฐานเสมอ
           (Standardized condition)
             ปฏิบัติการไดมาตรฐาน
           (Standardized operation)
คําสั่งไดมาตรฐาน (Standardized directing)
      มีการใหรางวัลอยางมีประสิทธิภาพ
              (Efficiency reward)
Max Weber




7/23/2010   copyright www.brainybetty.com   27
              2006 All Rights Reserved
1. แบงงานกันทําเฉพาะดาน
       2. ระบุสายการบังคับบัญชาชัดเจน
 3. การคัดเลือกและเลื่อนตําแหนงบนพื้นฐานของ
              คุณสมบัติทางเทคนิค
4. กําหนดกฎและระเบียบการปฏิบัติงานไวอยางเปน
                   ทางการ
Alexander H. Church




7/23/2010        copyright www.brainybetty.com   29
                   2006 All Rights Reserved
หลักการของเชิรช เกี่ยวกับการใชแรงงาน
 ไปประยุกตกับโครงสรางของหนาที่ มี
       ลําดับขั้นที่สําคัญดังนี้ คือ
ประสบการณในการทํางาน จะตองสะสมไว
      อยางมีระบบและเปนระเบียบ
แรงงานที่ใชในการทํางานจะตองเปนไปโดย
          ประหยัดและสม่ําเสมอ
 ประสิทธิผลในการทํางานของแตละบุคคล
   ควรไดรับการสงเสริมและสนับสนุน
แนวความคิดประเด็นสําคัญของทฤษฎีการจัดการ
            แบบวิทยาศาสตร

1. มีสมมติฐานความเชื่อวา แรงจูงใจในการทํางานที่ดี
ที่สุดคือ ปจจัยเรื่องเงิน ฉะนั้นจึงตองหาวิธีการที่จะจาย
 คาตอบแทนใหเหมาะสมเพื่อการสรางแรงจูใจในการ
                           ทํางาน
2. หนวยในการวิเคราะหอยูที่คนงานใน
 ระดับลางมีความสําคัญเปนอันดับแรก
รองลงมา คือ ผูจัดการในระดับกลางหรือ
            หัวหนาคนงาน
3. วิธีการที่จะใชวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับการ
กําหนดมาตรฐานของงานหรือมาตรฐานของ
    คาตอบแทนนั้นจะตองใชวิธีการแบบ
วิทยาศาสตรมาใชศึกษา คือ เริ่มจากการสัต
เกต รวบรวมขอมูล ทดลองหาแนวทางที่ดีที
        สุด แลวกําหนดเปนมาตรฐาน
4. เนื้อหาสวนใหญที่เสนอเพื่อการแกไขปญหาของ
 องคการนั้น คือ การเนนเรื่อง การแบงงานกันทํา
   ตามความรูความสามารถโดยกําหนดอํานาจ
 หนาที่ความรับผิดชอบ ระหวางสายงานหลักและ
   สายงานที่ปรึกษาใหชัดเจน การจัดโครงสราง
  องคการและการกําหนดวิธีการปฏิบัติงานของ
คนงานใหเปนวิธีการที่เร็วที่สุด ประหยัดเวลามาก
                       ที่สุด
รายชื่อสมาชิกในกลุม
                  • น.ส. รวิภัทร ศรีชัย 533280053-6
             • น.ส. สุกัญญา มนตชัยภูมิ 533280073-0
                 • น.ส. อังศญา เจนดง 533280087-9
              • น.ส. ขนิษฐา บัวบกหวาน 533280007-3
                  • น.ส. สุธิดา ทวงชน 533280076-4
                • น.ส. สุจิตตรา สวนไผ 533280075-6
                • น.ส. สุวิวัฒน ทองสูบ 533280079-8
            • นาย สมรักษ พรหมมานุรักษ 533280070-6
               • นาย สิทธิพงศ เหลาแค 533280072-2
                 • นาย ทศพร ปอยยิ้ม 533280023-5

7/23/2010           copyright www.brainybetty.com      36
                      2006 All Rights Reserved

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
ไพรวัล ดวงตา
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
issareening
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
wiraja
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
Saiiew
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
Anchalee BuddhaBucha
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
guest817d3d
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
wiraja
 

Was ist angesagt? (20)

ทฤษฎีองค์การ
 ทฤษฎีองค์การ  ทฤษฎีองค์การ
ทฤษฎีองค์การ
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 

Ähnlich wie ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์

Govern
GovernGovern
Govern
mean
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
wanna2728
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
praphol
 
การบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการการบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการ
chonlataz
 

Ähnlich wie ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (20)

บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..
 
Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
หลักการบริหาร
หลักการบริหารหลักการบริหาร
หลักการบริหาร
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Govern
GovernGovern
Govern
 
Govern
GovernGovern
Govern
 
29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ
29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ
29 leadership secrets 29 ความลับผู้นำ
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Handout1
Handout1Handout1
Handout1
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
Chapter006 (1)
Chapter006 (1)Chapter006 (1)
Chapter006 (1)
 
Chapter006
Chapter006Chapter006
Chapter006
 
Uu
UuUu
Uu
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
การบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการการบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการ
 
R2R
R2RR2R
R2R
 

Mehr von wiraja

ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
wiraja
 
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
wiraja
 
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
wiraja
 
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
wiraja
 
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นการศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
wiraja
 

Mehr von wiraja (10)

เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
 
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
 
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
 
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
 
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นการศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
Population and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in ChinaPopulation and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in China
 
Introduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese NamingIntroduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese Naming
 

ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์