SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 30
1   บทที่ 5 ทฤษฎีองค์การ
    ความหมาย พัฒนาการ ทฤษฎี และการนาไปใช้




               002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                              ั
วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้บทที่ 5
2


       การจัดการเรียนรู้เรื่อง “ทฤษฎีองค์การ”
        มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษา...
         เข้าใจและสามารถอธิบายความหมาย
          ความเป็นมา และความสาคัญของทฤษฎี
          องค์การ
         เข้าใจและสามารถอธิบายสาระสาคัญของ
          ทฤษฎีองค์การตังแต่ยุคแรกถึงยุคปัจจุบัน
                        ้




                          002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                         ั
จุดกาเนิดของการจัดการ
3




      The Great Pyramid of Giza                                           Ban Chiang Pottery
              2560 BC                                                         2600 BC
                      002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                     ั
จุดกาเนิดของแนวคิดการจัดการสมัยใหม่
4


                                                                   Adam Smith (1723-1790)
                                                                      Father  of modern economics
                                                                       and capitalism
                                                                      An Inquiry into the Nature
                                                                       and Causes of the Wealth of
                                                                       Nations
                                                                      Division of Labor
    Photo: wikimedia.org




                                                                            Pin Factory




                           002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                          ั
การแบ่งงานกันทา (Division of Labor)
5




    240 pins/day                                                            48,000 pins/day
                   002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                  ั
อธิบายคาศัพท์: ทฤษฎี (Theory)
6


       “A proposition or set of                                  “แนวคิด หลักการ หรือข้อ
        propositions that seeks to                                 สมมติฐานของนักคิดและ
        explain or predict something.”                             นักวิชาการที่ได้พัฒนาขึ้นและเป็น
        ข้อเสนอข้อหนึ่งหรือชุดหนึ่ง                                ที่ยอมรับกันทั่วไป”
        ที่มุ่งอธิบายหรือพยากรณ์                                   (สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์, 2549)
        บางสิ่งบางอย่าง                                           การเปลี่ยนรูปธรรมหรือสิ่งที่เป็น
        (Shafritz, Russel & Borick,                                จริง (Reality) ให้กลายเป็น
        2009)                                                      นามธรรม (Abstract)/การสะท้อน
                                                                   ประสบการณ์ให้เป็นความหมาย
                                                                   (อุทัย เลาหวิเชียร, 2549)
                          002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                         ั
ความหมายของทฤษฎีองค์การ (1/2)
7

       ชุดข้อเสนอที่มุ่งอธิบายหรือทานายพฤติกรรมของ
        กลุ่มและเอกบุคคล (individual) ในสภาพแวดล้อม
        ขององค์การทีแตกต่างกัน
                      ่
        (Shafritz, Russel & Borick, 2009)
       การศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่ และการ
        ปฏิบัติงานขององค์การ พฤติกรรมของกลุ่มและ
        เอกบุคคลที่ปฏิบติงานในองค์การ
                          ั
        (อุทัย เลาหวิเชียร, 2549)
       การศึกษาพฤติกรรมของคนในองค์การ
        ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสิ่งแวดล้อม และ
        ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การด้วยกัน
        (สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ,์ 2549)
                            002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                           ั
ความหมายของทฤษฎีองค์การ (2/2)
8


       ทฤษฎีองค์การ (Organizational
        Theories) หรือ ทฤษฎีการจัดการ
        (Management Theories) หมายถึง
        แนวคิด หลักการ หรือข้อสมมติฐานที่มุ่ง
        บรรยาย อธิบายหรือทานายวิธีบริหาร
        จัดการองค์การให้มีประสิทธิภาพและ
        ประสิทธิผล




                          002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                         ั
Abraham              Frederick      Douglas
                                Elton Mayo Maslow               Herzberg       McGregor
                   Marry Parker Hawthorne Hierarchy of          Motivator-     Theory X &
                   Follet       Studies    Needs                Hygiene        Theory Y
                   Soft Factors 1927       1954                 1959           1960




                                         Behavior Viewpoint

1890   1900      1910      1920      1930      1940       1950        1960        1970       1980          1990      2000       2010    2020
               Classical Viewpoint                      Quantitative Viewpoint                             Contemporary Viewpoint




Frederick    Frank &      Max Weber     Henri Fayol             Management                        System          Contingency    Learning
Taylor       Lillian      Bureaucracy   Management              Science                           Theory          Theory         Organization
Scientific   Gilbreth     1911          Principles
Management   Time and                   1916
1911         Motion Study
99                                       002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                                        ั
แนวคิดดั้งเดิม (Classical Viewpoint) (1/4)
10


        การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific
         Management) โดย เฟรเดอริค เทย์เลอร์
         (Frederick Taylor) ชาวอเมริกัน ใช้การจัดการ
         ทางวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
        หลักการ:
           จาก rule of thumb เป็น one best way หา
            มาตรฐานการทางานที่ดีที่สุด
           เลือกคนงานตรงที่มีความสามารถตรงกับงาน

           จ่ายเงินเดือนต่างกัน คนงานที่มีผลงานระดับดี
            จะได้ค่าตอบแทนมากกว่า

                             002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                            ั
แนวคิดดั้งเดิม (Classical Viewpoint) (2/4)
11


        การศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหว (Time
         and Motion Study) โดย แฟรงค์และลิเลียน
         กิลเบริธ (Frank & Lillian Gilbreth)
        ใช้กล้องถ่ายภาพยนตร์บันทึกการเคลื่อนไหว
         ของคนงาน
        ลดการเคลื่อนไหว=เพิ่มประสิทธิภาพ
        Lillian Gilbreth เป็น The First Lady of
         Management
        คิดค้น Therblig วิธีการเคลื่อนไหวของมือที่
         ก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
                            002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                           ั
แนวคิดดั้งเดิม (Classical Viewpoint) (3/4)
12

        การจัดองค์การแบบราชการ (Bureaucracy) โดย แมกซ์ เว
         เบอร์ (Max Weber) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน คิดค้น
         รูปแบบองค์การถาวรที่เรียกว่า “ระบบราชการ”
        แนวคิด:
           หลักการแบ่งงานกันทา
             และความชานาญเฉพาะทาง (Division of labor and
             functional specialization)
           ลาดับชัน (Hierarchy)
                    ้
           กรอบที่เป็นทางการของกฎเกณฑ์และวิธีการ (Formal
             framework of rules and procedures)
           การรักษาไว้ซึ่งแฟ้มงาน
             และบันทึกต่างๆ (Maintenance of files and other
             records)
           ความเป็นวิชาชีพ (Professionalization)


                               002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                              ั
แนวคิดดั้งเดิม (Classical Viewpoint) (4/4)
13


        หลักการจัดการ 14 ประการ (Management
         Principles) โดย อองรี ฟาโยล์ (Henri Fayol)
         วิศวกรเหมืองและนักทฤษฎีการจัดการชาว
         ฝรั่งเศส
        1) Division of Work, 2) Authority, 3)
         Discipline, 4) Unity of Command, 5) Unity
         of Direction, 6) Subordination of Individual
         Interests to the General Interest,
         7) Remuneration, 8) Centralization, 9)
         Scalar Chain, 10) Order, 11) Equity, 12)
         Stability of Tenure of Personnel,
         13) Initiative, 14) Promoting team spirit
                             002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                            ั
แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (1/8)
14


        แมร์รี พาร์เกอร์ ฟอลเล็ต (Marry Parker
         Follet) ที่ปรึกษาด้านการจัดการชาวอเมริกน ผู้
                                                ั
         บุกเบิกแนวคิดเรื่องพฤติกรรมองค์การ
        แนวคิด:
          Soft Factors

          การทางานเป็นทีมเป็นสิ่งสาคัญ

          องค์การเป็นเหมือนชุมชน ผูจัดการและ
                                       ้
            พนักงานควรทางานร่วมกัน
          ผู้จัดการมีหน้าทีคอยสนับสนุน
                             ่
          พนักงานควรมีโอกาสในการพัฒนางาน

                             002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                            ั
แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (2/8)
15


        การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น (Hawthorne Studies)
         โดย เอลตัน เมโย (Elton Mayo) ดาเนิน
         การศึกษาพฤติกรรมของคนงานในโรงที่
         Hawthorne (Chicago) Works of the Western
         Electric Company ระหว่างปี 1924-1932
        แนวคิด:
          ทัศนคติและพฤติกรรมกลุ่มมีผลต่อประสิทธิภาพ
           การทางาน
          แรงกดดันทางสังคมมีแรงจูงใจเหนือกว่า
           ค่าตอบแทน

                            002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                           ั
แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (3/8)
16


        ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการ
         (Hierarchy of Needs) โดย อับรา
         ฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow)
                       Self
                   Actualization
                   Self Esteem

                   Social Need

                  Security Needs

                 Physical Needs
                             002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                            ั
แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (4/8)
17




                        Self                                          Need for
                    Actualization                                   Achievement
                                                                                      David
      Maslow’s                                                                     McClelland’s
     Hierarchy of                                                                 Learned Needs
        Needs                                                                        Theory
       Theory




                      002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                     ั
แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (5/8)
18

        ทฤษฎีการจูงใจและสุขวิทยา (Motivation-
         Hygiene Theory) โดย เฟรเดอริค เฮิร์
         ซเบิร์ก (Frederick Herzberg)
        แนวคิด:
          ปัจจัยสุขวิทยา (Hygiene Factors) สิ่งที่
           จาเป็นต้องมีเพื่อป้องกันความไม่พอใจ เช่น
           นโยบาย ขั้นตอนการทางาน สภาพแวดล้อมใน
           การปฏิบัติงาน เงินเดือน สวัสดิการ ความมั่นคง
           ความปลอดภัย ฯลฯ
          ปัจจัยจูงใจ (Motivator Factors) สิ่งที่จูงใจให้
           คนปฏิบัติงานได้ดีขึ้น เช่น การยกย่อง
           ความก้าวหน้า งานที่ท้าทาย โอกาสในการ
           พัฒนางานและตนเอง

                              002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                             ั
แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (6/8)
19




         มาก
                                                                                  ปัจจัยสุขวิทยา (Hygiene Factors)
                                                                                  เป็นปัจจัยค้าจุน
     ระดับ                                                                        ไม่ม=ไม่พอใจ, มี=เฉยๆ
                                                                                      ี
     ปัจจัย
                                                                                  ปัจจัยจูงใจ (Motivator Factors)
                          Hygiene                      Motivator                  เป็นปัจจัยเกื้อหนุน
                          Factors                       Factors
                                                                                  ไม่ม=เฉยๆ, มี=จูงใจ
                                                                                        ี
         น้อย
                ไม่พอใจ                                             พอใจ
                          ระดับความพึงพอใจ


                                 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                                ั
แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (7/8)
20

        ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย (Theory X and
         Theory Y) โดย ดักลาส แม็คเกรเกอร์
         (Douglas McGregor)
        แนวคิด:
          ทฤษฎีเอ๊กซ์: มองโลกในแง่ร้ายว่าคนส่วนใหญ่มัก
           เกียจคร้าน ไม่มีความรับผิดชอบ ไม่มีความริเริ่ม
           ชอบเป็นผู้ตาม ต้องใช้การควบคุม การลงโทษ และ
           ค่าตอบแทนเป็นสิ่งจูงใจ
          ทฤษฎีวาย: มองโลกในแง่ดีว่าคนส่วนใหญ่มี
           เป้าหมาย มีความพยายาม มีจินตนาการ
           สร้างสรรค์ ต้องให้อิสระในการทางาน ลดการ
           ควบคุม และผสานความต้องการของคนและ
           องค์การให้สอดคล้องกัน

                             002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                            ั
แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (8/8)
21



             Hierarchy of                             Motivation-               Theory X and
            Needs Theory                            Hygiene Theory                Theory Y

                  Self
              Actualization
                                                         Motivator
               Self Esteem                                                       Theory Y
                                                          Factors
               Social Need

             Security Needs
                                                          Hygiene
                                                                                 Theory X
             Physical Needs                               Factors

                       002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                      ั
แนวคิดเชิงปริมาณ (Quantitative Viewpoint)
22


        วิทยาศาสตร์เพื่อการจัดการ                                   สถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้
         (Management Science) กาเนิดขึ้น                              วิทยาศาสตร์เพือการจัดการ
                                                                                    ่
         ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย                                ได้แก่
         นักวิทยาศาสตร์ที่ถูกเชิญมาแก้ปญหา
                                       ั
                                                                        ปัญหามีความซับซ้อนสูง  ต้อง
         การปฏิบัตการทีซับซ้อนทาง
                  ิ    ่
                                                                         วิเคราะห์ปจจัยจานวนมาก
                                                                                   ั
         การทหาร โดย
                                                                        มีลักษณะเป็นเชิงปริมาณ
            สังเกตระบบการทางาน
            สร้างแบบจาลอง                                              ใช้แบบจาลองทางคณิตศาสตร์

            วิเคราะห์แบบจาลองในสถานการณ์                                วิเคราะห์ปัญหาได้
             ต่างๆ                                                      ใช้คอมพิวเตอร์วเคราะห์ปัญหาได้
                                                                                        ิ
            ทดสอบแบบจาลองในสถานที่จริง
                             002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                            ั
แนวคิดร่วมสมัย (Contemporary Viewpoint) (1/6)
23


        ทฤษฎีระบบ (System Theory)
        ระบบ คือ กลุ่มขององค์ประกอบที่พึ่งพาอาศัยกัน ทางานเป็นหนึ่งเดียวกัน เพื่อ
         จุดประสงค์บางประการ
        ประเภทของระบบ
          ระบบปิด=ไม่ได้รับอิทธิพลใดๆ และไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่งแวดแล้ว เช่น นาฬิกา
          ระบบเปิด=มีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่งแวดล้อมของระบบอย่างต่อเนื่อง เช่น ต้นไม้



                          Input                        Process                        Output


                                                     Feedback
                             002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                            ั
แนวคิดร่วมสมัย (Contemporary Viewpoint) (2/6)
24



ปัจจัย
สิ่งแวดล้อมที่มี
                                                   Input
ผลต่อระบบ           Customers                                                  Government
(Certo, 2009)
                                                 Process
                   Competitors                                                 Suppliers
                                                  Output

                                         ENVIRONMENT


                           002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                          ั
แนวคิดร่วมสมัย (Contemporary Viewpoint) (3/6)
25



แบบจาลองการจัดการ
แบบตติยภูมิ
(Certo, 2009)

                                                Input
                           Customers                           Government

                                              Process

                          Competitors                          Suppliers
                                               Output


                                          ENVIRONMENT



                           Behaviorally Based Information
                    002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                   ั
แนวคิดร่วมสมัย (Contemporary Viewpoint) (4/6)
26

        ทฤษฎีเชิงสถานการณ์ (Contingency
         Theory) ไม่มีทางเลือกใดที่ดีที่สุดในการ
         จัดการองค์การ รูปแบบการจัดองค์การต่างกัน
         ส่งผลให้ประสิทธิผลต่างกัน จึงต้องปรับ
         โครงสร้างให้เข้ากับบริบท (Context)
        แนวคิด:
          การปรับโครงสร้างต้องสอดคล้องกับ
             สภาพแวดล้อม
              แบบเครืองจักร (Mechanic)
                       ่
              แบบมีชีวต (Organic)
                         ิ
          ระบบย่อยต้องสอดคล้องกันด้วย

                           002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                          ั
แนวคิดร่วมสมัย (Contemporary Viewpoint) (5/6)
27


        องค์การแห่งการเรียนรู้
         (Learning Organization) คือ
         องค์การที่สร้างและหาความรู้
         (creating and acquiring) และ
         ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับ
         องค์การ (transferring know
         ledges) และสามารถปรับ
         พฤติกรรม (modifying behavior)
         ให้สะท้อนถึงความรู้ใหม่ๆ นั้น

                         002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                        ั
แนวคิดร่วมสมัย (Contemporary Viewpoint) (6/6)
28

                                                          คุณลักษณะ 5 ประการขององค์การ
                                                           แห่งการเรียนรู้ตามแนวคิดของ Peter
                                                           Senge
                                                                คิดเชิงระบบ – เข้าใจบทบาทหน้าที่ของ
                                                                 ตน และความสัมพันธ์ในภาพรวม
                                                                มีวิสัยทัศน์ร่วม – มีจุดหมายเดียวกัน มี
                                                                 ความมุ่งมั่น
                                                                มีรูปแบบความคิด - ตระหนักถึง
                                                                 กระบวนทัศน์ในการจัดการของตนและ
                                                                 ผู้อื่นตลอดเวลา
                                                                เรียนรูเป็นทีม – ร่วมทางาน ร่วมหาวิธี
                                                                         ้
                                                                 แก้ปัญหาใหม่ๆ
                                                                รอบรู้ - เก็บเกี่ยวความรู้ในหน้าที่ของ
                                                                 ตน

                  002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                 ั
สรุปสาระสาคัญ
29


        ทฤษฎีองค์การ (Management
         Theories) หมายถึง แนวคิด หลักการ
         หรือข้อสมมติฐานที่มุ่งบรรยาย อธิบาย
         หรือทานายวิธีบริหารจัดการองค์การให้
         มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งนี้ เรา
         สามารถจาแนกทฤษฎีการจัดการ
         ออกเป็น 4 ยุคหรือกลุมแนวคิดตาม
                               ่
         พัฒนาการ ได้แก่ แนวคิดดั้งเดิม
         แนวคิดเชิงพฤติกรรม แนวคิดเชิง
         ปริมาณ และแนวคิดร่วมสมัย
                           002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                          ั
เอกสารอ้างอิง
30

        คินิคกิ, แองเจโล และวิลเลียมส์ ไบรอัน. (2552). องค์การและการจัดการ. (เบญจมาภรณ์
         อิศรเดช และคณะ, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล.
        เซอร์โต, ซามูเอล ซี. (2552). การจัดการสมัยใหม่. (พัชนี นนทศักดิ์ และคณะ, ผู้แปล).
         กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.
        พิชาญ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2552). องค์การและการบริหารจัดการ. นนทบุรี: ธิงค์ บี
         ยอนด์ บุ๊คส์.
        สาคร สุขศรีวงศ์. (2553). การจัดการ: จากมุมมองนักบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:
         จี.พี.ไซเบอร์พรินท์.
        สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์. (2549). รัฐประศาสนศาสตร์: แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: เอ็กซ
         เปอร์เน็ท.
        Shafritz, Jay M.; Russell E. W. and Borick, Christopher P. (2009). Introducing
         Public Administration. 6th Edition. Pearson Longman.
                              002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์
                                                                             ั

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำklarharn
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารPrapaporn Boonplord
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )Sireetorn Buanak
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
20130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์3
20130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์320130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์3
20130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์3Pohramath Petchoo
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารJuneSwns
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) Sasichay Sritep
 

Was ist angesagt? (20)

ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
20130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์3
20130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์320130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์3
20130830 114707ปรัชญาเชิงศาสตร์3
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
หลักการจัดการ.
หลักการจัดการ.หลักการจัดการ.
หลักการจัดการ.
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 

Andere mochten auch

Informatica enfermeria 1_ro
Informatica enfermeria 1_roInformatica enfermeria 1_ro
Informatica enfermeria 1_roSolcitocruz
 
Amag guía de actuación del policía en el ncpp
Amag   guía de actuación del policía en el ncppAmag   guía de actuación del policía en el ncpp
Amag guía de actuación del policía en el ncppHenry Zevallos
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824pantapong
 
Manual Práctica de Windows 8.1
Manual Práctica de Windows 8.1Manual Práctica de Windows 8.1
Manual Práctica de Windows 8.1COMPU EDUCA
 
La prueba en materia penal
La prueba en materia penalLa prueba en materia penal
La prueba en materia penalRogelio Armando
 
Servicios ConsultoríA Procesos Global V1
Servicios ConsultoríA Procesos Global V1Servicios ConsultoríA Procesos Global V1
Servicios ConsultoríA Procesos Global V1javferbuj
 
Guia de operacion, exhibicion, seguridad y evaluacion_2013
Guia de operacion, exhibicion, seguridad y evaluacion_2013Guia de operacion, exhibicion, seguridad y evaluacion_2013
Guia de operacion, exhibicion, seguridad y evaluacion_2013CBTIS No. 48
 
4a imagen reputacion_villafane
4a imagen reputacion_villafane4a imagen reputacion_villafane
4a imagen reputacion_villafaneAnayde15
 
Primer Paquete Económico 2017 Zacatecas (3/9)
Primer Paquete Económico 2017 Zacatecas (3/9)Primer Paquete Económico 2017 Zacatecas (3/9)
Primer Paquete Económico 2017 Zacatecas (3/9)Zacatecas TresPuntoCero
 
Amag guía de actuación del juez en el ncpp
Amag   guía de actuación del juez en el ncppAmag   guía de actuación del juez en el ncpp
Amag guía de actuación del juez en el ncppHenry Zevallos
 
Logaritmos caderno de exercícios
Logaritmos   caderno de exercíciosLogaritmos   caderno de exercícios
Logaritmos caderno de exercíciosprof. Renan Viana
 

Andere mochten auch (20)

ทฤษฎีองค์การ
 ทฤษฎีองค์การ  ทฤษฎีองค์การ
ทฤษฎีองค์การ
 
Informatica enfermeria 1_ro
Informatica enfermeria 1_roInformatica enfermeria 1_ro
Informatica enfermeria 1_ro
 
Amag guía de actuación del policía en el ncpp
Amag   guía de actuación del policía en el ncppAmag   guía de actuación del policía en el ncpp
Amag guía de actuación del policía en el ncpp
 
Ciencias Naturales Educación Basica
Ciencias Naturales Educación BasicaCiencias Naturales Educación Basica
Ciencias Naturales Educación Basica
 
Privacidad y Datos Personales
Privacidad y Datos PersonalesPrivacidad y Datos Personales
Privacidad y Datos Personales
 
Innovacion social
Innovacion socialInnovacion social
Innovacion social
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824
 
Ciencias web
Ciencias webCiencias web
Ciencias web
 
Manual Práctica de Windows 8.1
Manual Práctica de Windows 8.1Manual Práctica de Windows 8.1
Manual Práctica de Windows 8.1
 
La prueba en materia penal
La prueba en materia penalLa prueba en materia penal
La prueba en materia penal
 
Servicios ConsultoríA Procesos Global V1
Servicios ConsultoríA Procesos Global V1Servicios ConsultoríA Procesos Global V1
Servicios ConsultoríA Procesos Global V1
 
Guia de operacion, exhibicion, seguridad y evaluacion_2013
Guia de operacion, exhibicion, seguridad y evaluacion_2013Guia de operacion, exhibicion, seguridad y evaluacion_2013
Guia de operacion, exhibicion, seguridad y evaluacion_2013
 
4a imagen reputacion_villafane
4a imagen reputacion_villafane4a imagen reputacion_villafane
4a imagen reputacion_villafane
 
Primer Paquete Económico 2017 Zacatecas (3/9)
Primer Paquete Económico 2017 Zacatecas (3/9)Primer Paquete Económico 2017 Zacatecas (3/9)
Primer Paquete Económico 2017 Zacatecas (3/9)
 
Gerencia Estrategica
Gerencia EstrategicaGerencia Estrategica
Gerencia Estrategica
 
Geld verdienen met Linkedin
Geld verdienen met LinkedinGeld verdienen met Linkedin
Geld verdienen met Linkedin
 
Speciale 2. udgave
Speciale 2. udgaveSpeciale 2. udgave
Speciale 2. udgave
 
Amag guía de actuación del juez en el ncpp
Amag   guía de actuación del juez en el ncppAmag   guía de actuación del juez en el ncpp
Amag guía de actuación del juez en el ncpp
 
Logaritmos caderno de exercícios
Logaritmos   caderno de exercíciosLogaritmos   caderno de exercícios
Logaritmos caderno de exercícios
 
Alas en la oscuridad --caryangel y rous
Alas en la oscuridad --caryangel y rousAlas en la oscuridad --caryangel y rous
Alas en la oscuridad --caryangel y rous
 

Ähnlich wie 002191 Chapter 3 Organizational Theories

002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organizationwiraja
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาPadvee Academy
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำissareening
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)puasansern tawipan
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Development of management theory
Development of management theoryDevelopment of management theory
Development of management theoryKan Yuenyong
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)DrDanai Thienphut
 

Ähnlich wie 002191 Chapter 3 Organizational Theories (20)

002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
Com03
Com03Com03
Com03
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
 
Development of management theory
Development of management theoryDevelopment of management theory
Development of management theory
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
Classical theory mallika setsuai
Classical theory mallika setsuaiClassical theory mallika setsuai
Classical theory mallika setsuai
 
Classical theory mallika setsuai
Classical theory mallika setsuaiClassical theory mallika setsuai
Classical theory mallika setsuai
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
การพัฒนาองค์การ (Organization Development:OD)
 

Mehr von wiraja

เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)wiraja
 
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)wiraja
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบwiraja
 
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายwiraja
 
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาwiraja
 
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์wiraja
 
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นการศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นwiraja
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
Population and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in ChinaPopulation and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in Chinawiraja
 
Introduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese NamingIntroduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese Namingwiraja
 

Mehr von wiraja (10)

เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
 
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
 
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
 
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
 
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นการศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
Population and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in ChinaPopulation and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in China
 
Introduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese NamingIntroduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese Naming
 

002191 Chapter 3 Organizational Theories

  • 1. 1 บทที่ 5 ทฤษฎีองค์การ ความหมาย พัฒนาการ ทฤษฎี และการนาไปใช้ 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 2. วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้บทที่ 5 2  การจัดการเรียนรู้เรื่อง “ทฤษฎีองค์การ” มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษา...  เข้าใจและสามารถอธิบายความหมาย ความเป็นมา และความสาคัญของทฤษฎี องค์การ  เข้าใจและสามารถอธิบายสาระสาคัญของ ทฤษฎีองค์การตังแต่ยุคแรกถึงยุคปัจจุบัน ้ 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 3. จุดกาเนิดของการจัดการ 3 The Great Pyramid of Giza Ban Chiang Pottery 2560 BC 2600 BC 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 4. จุดกาเนิดของแนวคิดการจัดการสมัยใหม่ 4  Adam Smith (1723-1790)  Father of modern economics and capitalism  An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of Nations  Division of Labor Photo: wikimedia.org  Pin Factory 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 5. การแบ่งงานกันทา (Division of Labor) 5 240 pins/day 48,000 pins/day 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 6. อธิบายคาศัพท์: ทฤษฎี (Theory) 6  “A proposition or set of  “แนวคิด หลักการ หรือข้อ propositions that seeks to สมมติฐานของนักคิดและ explain or predict something.” นักวิชาการที่ได้พัฒนาขึ้นและเป็น ข้อเสนอข้อหนึ่งหรือชุดหนึ่ง ที่ยอมรับกันทั่วไป” ที่มุ่งอธิบายหรือพยากรณ์ (สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์, 2549) บางสิ่งบางอย่าง  การเปลี่ยนรูปธรรมหรือสิ่งที่เป็น (Shafritz, Russel & Borick, จริง (Reality) ให้กลายเป็น 2009) นามธรรม (Abstract)/การสะท้อน ประสบการณ์ให้เป็นความหมาย (อุทัย เลาหวิเชียร, 2549) 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 7. ความหมายของทฤษฎีองค์การ (1/2) 7  ชุดข้อเสนอที่มุ่งอธิบายหรือทานายพฤติกรรมของ กลุ่มและเอกบุคคล (individual) ในสภาพแวดล้อม ขององค์การทีแตกต่างกัน ่ (Shafritz, Russel & Borick, 2009)  การศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่ และการ ปฏิบัติงานขององค์การ พฤติกรรมของกลุ่มและ เอกบุคคลที่ปฏิบติงานในองค์การ ั (อุทัย เลาหวิเชียร, 2549)  การศึกษาพฤติกรรมของคนในองค์การ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสิ่งแวดล้อม และ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การด้วยกัน (สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ,์ 2549) 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 8. ความหมายของทฤษฎีองค์การ (2/2) 8  ทฤษฎีองค์การ (Organizational Theories) หรือ ทฤษฎีการจัดการ (Management Theories) หมายถึง แนวคิด หลักการ หรือข้อสมมติฐานที่มุ่ง บรรยาย อธิบายหรือทานายวิธีบริหาร จัดการองค์การให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 9. Abraham Frederick Douglas Elton Mayo Maslow Herzberg McGregor Marry Parker Hawthorne Hierarchy of Motivator- Theory X & Follet Studies Needs Hygiene Theory Y Soft Factors 1927 1954 1959 1960 Behavior Viewpoint 1890 1900 1910 1920 1930 1940 1950 1960 1970 1980 1990 2000 2010 2020 Classical Viewpoint Quantitative Viewpoint Contemporary Viewpoint Frederick Frank & Max Weber Henri Fayol Management System Contingency Learning Taylor Lillian Bureaucracy Management Science Theory Theory Organization Scientific Gilbreth 1911 Principles Management Time and 1916 1911 Motion Study 99 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 10. แนวคิดดั้งเดิม (Classical Viewpoint) (1/4) 10  การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) โดย เฟรเดอริค เทย์เลอร์ (Frederick Taylor) ชาวอเมริกัน ใช้การจัดการ ทางวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต  หลักการ:  จาก rule of thumb เป็น one best way หา มาตรฐานการทางานที่ดีที่สุด  เลือกคนงานตรงที่มีความสามารถตรงกับงาน  จ่ายเงินเดือนต่างกัน คนงานที่มีผลงานระดับดี จะได้ค่าตอบแทนมากกว่า 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 11. แนวคิดดั้งเดิม (Classical Viewpoint) (2/4) 11  การศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหว (Time and Motion Study) โดย แฟรงค์และลิเลียน กิลเบริธ (Frank & Lillian Gilbreth)  ใช้กล้องถ่ายภาพยนตร์บันทึกการเคลื่อนไหว ของคนงาน  ลดการเคลื่อนไหว=เพิ่มประสิทธิภาพ  Lillian Gilbreth เป็น The First Lady of Management  คิดค้น Therblig วิธีการเคลื่อนไหวของมือที่ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 12. แนวคิดดั้งเดิม (Classical Viewpoint) (3/4) 12  การจัดองค์การแบบราชการ (Bureaucracy) โดย แมกซ์ เว เบอร์ (Max Weber) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน คิดค้น รูปแบบองค์การถาวรที่เรียกว่า “ระบบราชการ”  แนวคิด:  หลักการแบ่งงานกันทา และความชานาญเฉพาะทาง (Division of labor and functional specialization)  ลาดับชัน (Hierarchy) ้  กรอบที่เป็นทางการของกฎเกณฑ์และวิธีการ (Formal framework of rules and procedures)  การรักษาไว้ซึ่งแฟ้มงาน และบันทึกต่างๆ (Maintenance of files and other records)  ความเป็นวิชาชีพ (Professionalization) 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 13. แนวคิดดั้งเดิม (Classical Viewpoint) (4/4) 13  หลักการจัดการ 14 ประการ (Management Principles) โดย อองรี ฟาโยล์ (Henri Fayol) วิศวกรเหมืองและนักทฤษฎีการจัดการชาว ฝรั่งเศส  1) Division of Work, 2) Authority, 3) Discipline, 4) Unity of Command, 5) Unity of Direction, 6) Subordination of Individual Interests to the General Interest, 7) Remuneration, 8) Centralization, 9) Scalar Chain, 10) Order, 11) Equity, 12) Stability of Tenure of Personnel, 13) Initiative, 14) Promoting team spirit 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 14. แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (1/8) 14  แมร์รี พาร์เกอร์ ฟอลเล็ต (Marry Parker Follet) ที่ปรึกษาด้านการจัดการชาวอเมริกน ผู้ ั บุกเบิกแนวคิดเรื่องพฤติกรรมองค์การ  แนวคิด:  Soft Factors  การทางานเป็นทีมเป็นสิ่งสาคัญ  องค์การเป็นเหมือนชุมชน ผูจัดการและ ้ พนักงานควรทางานร่วมกัน  ผู้จัดการมีหน้าทีคอยสนับสนุน ่  พนักงานควรมีโอกาสในการพัฒนางาน 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 15. แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (2/8) 15  การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น (Hawthorne Studies) โดย เอลตัน เมโย (Elton Mayo) ดาเนิน การศึกษาพฤติกรรมของคนงานในโรงที่ Hawthorne (Chicago) Works of the Western Electric Company ระหว่างปี 1924-1932  แนวคิด:  ทัศนคติและพฤติกรรมกลุ่มมีผลต่อประสิทธิภาพ การทางาน  แรงกดดันทางสังคมมีแรงจูงใจเหนือกว่า ค่าตอบแทน 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 16. แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (3/8) 16  ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการ (Hierarchy of Needs) โดย อับรา ฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow) Self Actualization Self Esteem Social Need Security Needs Physical Needs 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 17. แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (4/8) 17 Self Need for Actualization Achievement David Maslow’s McClelland’s Hierarchy of Learned Needs Needs Theory Theory 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 18. แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (5/8) 18  ทฤษฎีการจูงใจและสุขวิทยา (Motivation- Hygiene Theory) โดย เฟรเดอริค เฮิร์ ซเบิร์ก (Frederick Herzberg)  แนวคิด:  ปัจจัยสุขวิทยา (Hygiene Factors) สิ่งที่ จาเป็นต้องมีเพื่อป้องกันความไม่พอใจ เช่น นโยบาย ขั้นตอนการทางาน สภาพแวดล้อมใน การปฏิบัติงาน เงินเดือน สวัสดิการ ความมั่นคง ความปลอดภัย ฯลฯ  ปัจจัยจูงใจ (Motivator Factors) สิ่งที่จูงใจให้ คนปฏิบัติงานได้ดีขึ้น เช่น การยกย่อง ความก้าวหน้า งานที่ท้าทาย โอกาสในการ พัฒนางานและตนเอง 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 19. แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (6/8) 19 มาก ปัจจัยสุขวิทยา (Hygiene Factors) เป็นปัจจัยค้าจุน ระดับ ไม่ม=ไม่พอใจ, มี=เฉยๆ ี ปัจจัย ปัจจัยจูงใจ (Motivator Factors) Hygiene Motivator เป็นปัจจัยเกื้อหนุน Factors Factors ไม่ม=เฉยๆ, มี=จูงใจ ี น้อย ไม่พอใจ พอใจ ระดับความพึงพอใจ 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 20. แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (7/8) 20  ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย (Theory X and Theory Y) โดย ดักลาส แม็คเกรเกอร์ (Douglas McGregor)  แนวคิด:  ทฤษฎีเอ๊กซ์: มองโลกในแง่ร้ายว่าคนส่วนใหญ่มัก เกียจคร้าน ไม่มีความรับผิดชอบ ไม่มีความริเริ่ม ชอบเป็นผู้ตาม ต้องใช้การควบคุม การลงโทษ และ ค่าตอบแทนเป็นสิ่งจูงใจ  ทฤษฎีวาย: มองโลกในแง่ดีว่าคนส่วนใหญ่มี เป้าหมาย มีความพยายาม มีจินตนาการ สร้างสรรค์ ต้องให้อิสระในการทางาน ลดการ ควบคุม และผสานความต้องการของคนและ องค์การให้สอดคล้องกัน 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 21. แนวคิดเชิงพฤติกรรม (Behavior Viewpoint) (8/8) 21 Hierarchy of Motivation- Theory X and Needs Theory Hygiene Theory Theory Y Self Actualization Motivator Self Esteem Theory Y Factors Social Need Security Needs Hygiene Theory X Physical Needs Factors 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 22. แนวคิดเชิงปริมาณ (Quantitative Viewpoint) 22  วิทยาศาสตร์เพื่อการจัดการ  สถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ (Management Science) กาเนิดขึ้น วิทยาศาสตร์เพือการจัดการ ่ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย ได้แก่ นักวิทยาศาสตร์ที่ถูกเชิญมาแก้ปญหา ั  ปัญหามีความซับซ้อนสูง ต้อง การปฏิบัตการทีซับซ้อนทาง ิ ่ วิเคราะห์ปจจัยจานวนมาก ั การทหาร โดย  มีลักษณะเป็นเชิงปริมาณ  สังเกตระบบการทางาน  สร้างแบบจาลอง  ใช้แบบจาลองทางคณิตศาสตร์  วิเคราะห์แบบจาลองในสถานการณ์ วิเคราะห์ปัญหาได้ ต่างๆ  ใช้คอมพิวเตอร์วเคราะห์ปัญหาได้ ิ  ทดสอบแบบจาลองในสถานที่จริง 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 23. แนวคิดร่วมสมัย (Contemporary Viewpoint) (1/6) 23  ทฤษฎีระบบ (System Theory)  ระบบ คือ กลุ่มขององค์ประกอบที่พึ่งพาอาศัยกัน ทางานเป็นหนึ่งเดียวกัน เพื่อ จุดประสงค์บางประการ  ประเภทของระบบ  ระบบปิด=ไม่ได้รับอิทธิพลใดๆ และไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่งแวดแล้ว เช่น นาฬิกา  ระบบเปิด=มีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่งแวดล้อมของระบบอย่างต่อเนื่อง เช่น ต้นไม้ Input Process Output Feedback 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 24. แนวคิดร่วมสมัย (Contemporary Viewpoint) (2/6) 24 ปัจจัย สิ่งแวดล้อมที่มี Input ผลต่อระบบ Customers Government (Certo, 2009) Process Competitors Suppliers Output ENVIRONMENT 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 25. แนวคิดร่วมสมัย (Contemporary Viewpoint) (3/6) 25 แบบจาลองการจัดการ แบบตติยภูมิ (Certo, 2009) Input Customers Government Process Competitors Suppliers Output ENVIRONMENT Behaviorally Based Information 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 26. แนวคิดร่วมสมัย (Contemporary Viewpoint) (4/6) 26  ทฤษฎีเชิงสถานการณ์ (Contingency Theory) ไม่มีทางเลือกใดที่ดีที่สุดในการ จัดการองค์การ รูปแบบการจัดองค์การต่างกัน ส่งผลให้ประสิทธิผลต่างกัน จึงต้องปรับ โครงสร้างให้เข้ากับบริบท (Context)  แนวคิด:  การปรับโครงสร้างต้องสอดคล้องกับ สภาพแวดล้อม  แบบเครืองจักร (Mechanic) ่  แบบมีชีวต (Organic) ิ  ระบบย่อยต้องสอดคล้องกันด้วย 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 27. แนวคิดร่วมสมัย (Contemporary Viewpoint) (5/6) 27  องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) คือ องค์การที่สร้างและหาความรู้ (creating and acquiring) และ ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับ องค์การ (transferring know ledges) และสามารถปรับ พฤติกรรม (modifying behavior) ให้สะท้อนถึงความรู้ใหม่ๆ นั้น 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 28. แนวคิดร่วมสมัย (Contemporary Viewpoint) (6/6) 28  คุณลักษณะ 5 ประการขององค์การ แห่งการเรียนรู้ตามแนวคิดของ Peter Senge  คิดเชิงระบบ – เข้าใจบทบาทหน้าที่ของ ตน และความสัมพันธ์ในภาพรวม  มีวิสัยทัศน์ร่วม – มีจุดหมายเดียวกัน มี ความมุ่งมั่น  มีรูปแบบความคิด - ตระหนักถึง กระบวนทัศน์ในการจัดการของตนและ ผู้อื่นตลอดเวลา  เรียนรูเป็นทีม – ร่วมทางาน ร่วมหาวิธี ้ แก้ปัญหาใหม่ๆ  รอบรู้ - เก็บเกี่ยวความรู้ในหน้าที่ของ ตน 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 29. สรุปสาระสาคัญ 29  ทฤษฎีองค์การ (Management Theories) หมายถึง แนวคิด หลักการ หรือข้อสมมติฐานที่มุ่งบรรยาย อธิบาย หรือทานายวิธีบริหารจัดการองค์การให้ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งนี้ เรา สามารถจาแนกทฤษฎีการจัดการ ออกเป็น 4 ยุคหรือกลุมแนวคิดตาม ่ พัฒนาการ ได้แก่ แนวคิดดั้งเดิม แนวคิดเชิงพฤติกรรม แนวคิดเชิง ปริมาณ และแนวคิดร่วมสมัย 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั
  • 30. เอกสารอ้างอิง 30  คินิคกิ, แองเจโล และวิลเลียมส์ ไบรอัน. (2552). องค์การและการจัดการ. (เบญจมาภรณ์ อิศรเดช และคณะ, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล.  เซอร์โต, ซามูเอล ซี. (2552). การจัดการสมัยใหม่. (พัชนี นนทศักดิ์ และคณะ, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.  พิชาญ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2552). องค์การและการบริหารจัดการ. นนทบุรี: ธิงค์ บี ยอนด์ บุ๊คส์.  สาคร สุขศรีวงศ์. (2553). การจัดการ: จากมุมมองนักบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: จี.พี.ไซเบอร์พรินท์.  สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์. (2549). รัฐประศาสนศาสตร์: แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: เอ็กซ เปอร์เน็ท.  Shafritz, Jay M.; Russell E. W. and Borick, Christopher P. (2009). Introducing Public Administration. 6th Edition. Pearson Longman. 002 191 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ อ.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชรินทร์ ั