SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
การเขี ย นรายงานการวิ จ ั ย ในชั ้ น เรี ย น

           การเขี ย นรายงานการวิ จ ั ย ในชั ้ น เรี ย น

         การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน เป็นขั้นตอนสุดท้าย
ของกระบวนการวิจัย                 ในชั้นเรียน หลังจากที่ได้ดำาเนิน
การวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจนได้ผลการวิจัยตาม
วัตถุประสงค์แล้ว การเขียนรายงานการวิจัยโดยทั่วไปมี
วัตถุประสงค์เพื่อสรุปผลการวิจัยเผยแพร่ ให้ผู้สนใจได้ศึกษา รับ
รู้ นำารูปแบบวิธีการดำาเนินงานและผลการวิจัยไปใช้ในการปฏิบัติ
งาน รวมทั้งเพื่อเสนอเป็นผลงานทางวิชาการสำาหรับขอเลื่อนและ
กำาหนดตำาแหน่งให้สูงขึ้นด้วย แต่การเขียนรายงานการวิจัยในชั้น
เรียนไม่ได้ให้ความสำาคัญกับวัตถุประสงค์ดังกล่าว แต่เ ป็ น การ
เขี ย นเพื ่ อ บั น ทึ ก รวบรวมองค์ ค วามรู ้ เ กี ่ ย วกั บ วิ ธ ี ก ารหรื อ
นวั ต กรรมที ่ ค ิ ด ค้ น แสวงหามาใช้ ใ นการแก้ ป ั ญ หา
การเรี ย นการสอนของตนเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน
ครูด้วยกัน องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยในชั้นเรียนไม่สามารถนำา
ไปใช้อ้างอิงเป็นทางการหรือเป็นสากลได้ เพราะเป็นองค์ความรู้ที่
ใช้ได้กับกลุ่มเป้าหมายจำานวนน้อยที่ไม่ได้เป็นตัวแทนของ
ประชากรโดยทั่วไป ตลอดจนวิธีการดำาเนินการวิจัยก็ไม่ได้ให้
ความสำาคัญกับความเป็นทางการ หรือความเป็นสากลมากนัก ดัง
นั้น ความเชื่อถือได้ของการวิจัยในชั้นเรียน จึงมักไม่เป็นที่ยอมรับ
ของนักวิจัยหรือนักวิชาการโดยทั่วไปเท่าที่ควร นอกจากว่าครูผู้
ทำาการวิจัยในชั้นเรียนจะพยายามปรับเปลี่ยนวิธีดำาเนินงานให้มี
ความเป็นสากล และมีความน่าเชื่อถือได้มากขึ้น
องค์ ป ระกอบของรายงานการวิ จ ั ย ในชั ้ น เรี ย น

           โดยทั่วไปแล้วในรายงานการวิจัยในชั้นเรียนของครู
ประกอบด้วย ١) วัตถุประสงค์ของการวิจัย ٢) วิธีการดำาเนินการ
วิจัย ٣) ผลการวิจัย ٤) ข้อสังเกตหรือข้อสงสัยเพิ่มเติม และ ٥)
สิ่งที่ต้องศึกษาต่อไป ประเด็นที่น่าสนใจ และแนวทางในการวิจัย
ต่อไป หรือควรประกอบด้วย ١) บทนำา (ความเป็นมาและความ
สำาคัญของปัญหา และวัตถุประสงค์ของการวิจัย) ٢) แนวคิดที่
สำาคัญ (และสมมุติฐาน) ของการวิจัย ٣) วิธีดำาเนินการวิจัย
(ตัวแปร กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือ และวิธีการเก็บข้อมูล) ٤) การ
วิเคราะห์ข้อมูลและการแปลความหมาย และ ٥) สรุปผล อภิปราย
และข้อเสนอแนะ
           จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียนมี
ลักษณะที่ไม่ยึดรูปแบบของรายงานการวิจัยโดยทั่วไปมากนัก
รายงานเฉพาะประเด็นที่สำาคัญเท่านั้น สุวิมล ว่องวาณิช (: ٢٥٤٣
١٨٢) ได้สรุปว่า  การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนไม่ใช่การวิจัยที่
ยากเกินความสามารถของครู             ทุกคนสามารถทำาได้ถ้ามีความมุ่ง
มั่นที่จะทำา และเมื่อตัดสินใจที่จะทำาแล้ว ก็ไม่ต้องกังวลว่าวิธีการ
วิจัยที่ใช้จะไม่ถูกต้องตามหลักวิชา เพราะหลักการของการวิจัย
ปฏิบัติการในชั้นเรียนคือการทำาวิจัยเพื่อนำาผลไปแก้ปัญหา เมื่อใด
ที่ปัญหาในห้องเรียนหมดไป ครูนักวิจัยไม่ต้องกังวลหรือสงสัยว่า
วิธีการแก้ปัญหาที่เลือกขึ้นมาใช้ มีอิทธิพลส่งผลให้ปัญหาหมดไป
จริงหรือไม่ ไม่ตองกลัวการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับวิธีวิทยาการ
                    ้
วิจัย การทำาวิจัยคือการแก้ปัญหา ไม่ใช่การสร้างหรือทดสอบ
ความแกร่งของทฤษฎี  ดังนั้นเพื่อให้มีความเป็นไปได้ในการเขียน
รายงานการวิจัยของครู
ซึ่งไม่ยากเกินไปจนทำาไม่ได้ แต่ก็ไม่ง่ายเกินไปจนเชื่อถือหรือ
ยอมรับไม่ได้ ภายใต้แนวคิดที่ว่า              ถ้ า รายงานการวิ จ ั ย ใน
ชั ้ น เรี ย นของครู เ ป็ น รายงานที ่ ใ ห้ ค วามรู ้ ใ หม่ ใ นการแก้
ปั ญ หา และครู ใ ช้ ก ระบวนการวิ จ ั ย ที ่ เ ชื ่ อ ถื อ ได้ รายงาน
การวิ จ ั ย ในชั ้ น เรี ย นของครู ก ็ เ ป็ น รายงานการวิ จ ั ย ที ่ ค วร
ยอมรั บ ได้ การเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียนจึงควรมีองค์
ประกอบที่สำาคัญดังนี้
        ١. ชื่อเรื่องการวิจัย
        ٢. ปัญหาและความสำาคัญของปัญหา
        ٣. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
        ٤. วิธีการวิจัย
            ٤.١ กลุ่มเป้าหมาย
            ٤.٢ วิธีการหรือนวัตกรรมที่ใช้
            ٤.٣ วิธีการรวบรวมข้อมูล
            ٤.٤ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
            ٤.٥ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
        ٥. สรุปและสะท้อนผล
        รายละเอียดการดำาเนินงานตามองค์ประกอบต่าง ๆ ดังกล่าว
นี้ ครูได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติมาเป็นอย่างดีแล้วจากบทที่ ٢ ดังนั้น
จึงไม่อยู่นอกเหนือศักยภาพของครูที่จะนำามาเขียนรายงาน
การวิจัยในชั้นเรียนของครูได้ อย่างไรก็ตาม หากคณะครูได้ร่วม
กันปลดปล่อยศักยภาพของตน
ในฐานะคนใน ให้ออกมาอย่างเต็มที่ และเป็นอิสระจากคนนอก
ในการตัดสินใจแล้ว งานวิจัยของครูก็จะมีคุณค่ามากขึ้น

     หลั ก การเขี ย นรายงานการวิ จ ั ย ในชั ้ น เรี ย น

       การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนให้น่าเชื่อถือและ
ยอมรับได้ ควรคำานึงถึงสิ่งต่อไปนี้
       ١. ปัญหาที่นำามาวิจัยต้องเป็นปัญหาที่แท้จริง มีขอมูล
                                                        ้
ชัดเจนว่าเป็นปัญหา ไม่ใช่เป็นเพียงสาเหตุของปัญหา เป็นปัญหา
ที่สามารถหาคำาตอบได้ด้วยการวิจัยและเป็นองค์ความรู้ใหม่
       ٢. ชื่อเรื่องการวิจัยหรือชื่อปัญหาวิจัยต้องมีความกะทัดรัด
และชัดเจนในตัวของมันเอง เฉพาะเจาะจงและน่าสนใจ คำาว่า
การศึกษาเกี่ยวกับ  การวิจัย  การทดลอง  การวิเคราะห์ 
การสำารวจ  หรือการค้นหา  ก็ตาม คำาเหล่านี้ไม่จำาเป็นต้องใช้
       ٣. วัตถุประสงค์ของการวิจัยควรใช้ภาษาที่ชัดเจน เข้าใจ
ง่าย ไม่วกวน หลีกเลี่ยงการใช้คำาซำ้าซ้อน นำาไปสู่การตั้ง
สมมุติฐานและสามารถทำาการทดสอบได้
٤. วิธีการวิจัยมีความถูกต้องมีข้อมูลครบถ้วนและถูกต้อง
ตามความเป็นจริง เครื่องมือ
ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลมีความเที่ยงตรง
        ٥. การสื่อความหมายตั้งแต่ต้นจนจบมีความชัดเจน
สอดคล้องต่อเนื่อง ผูอ่านสามารถเข้าใจได้ดี
                      ้

          การเขี ย นรายงานการวิ จ ั ย ในชั ้ น เรี ย น

        การวิจัยในชั้นเรียนเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเกิดขึ้น
จากการค้นคว้าทดลองแสวงหาความจริงเชิงวิทยาศาสตร์อย่าง
ใกล้ชิดในสถานการณ์จริงของครูในชั้นเรียน หรือในโรงเรียน
ไม่มีรูปแบบการเขียนรายงานที่เป็นสากล เน้นรูปแบบที่เรียบง่าย
ใช้การบรรยายเป็นหลักในการนำาเสนอข้อค้นพบที่เป็นองค์ความรู้
ใหม่จากการแก้ปัญหา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าครูผู้วิจัยจะมีความสามารถ
ในการบันทึกรายละเอียดขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการ
วิจัยได้มากน้อยหรือดีเพียงใด ดังนั้นการเขียนรายงานการวิจัยใน
ชั้นเรียนที่มีความเป็นไปได้ และอยู่ในวิสัยที่ครูผู้สอนโดยทั่วไปจะ
ทำาได้ จึงควรมีโครงสร้างและองค์ประกอบที่สำาคัญ ดังนี้

ชื ่ อ
รายงาน..........................................................................
...................................
ปั ญ หา : .......................................................................
............................................
สาเหตุ

1. .................................................................................
.............................

٢. .................................................................................
.............................
3. .................................................................................
.............................
วั ต ถุ ป ระสงค์

เพื่อ.................................................................................
...........................
วิ ธ ี ก ารวิ จ ั ย
          ١. กลุ ่ ม เป้ า หมาย นักเรียนชั้น......ภาคเรียนที่......ปี
การศึกษา.....จำานวน.......คน
          ٢. วิ ธ ี ก ารหรื อ นวั ต กรรมที ่ ใ ช้
              ٢.١ ชื่อ
นวัตกรรม...............................จำานวน...........ชุด/เรื่อง/หน่วย
ดังนี้
                   ٢.١.١
......................................................................................
.....
                   ٢.١.٢
......................................................................................
.....
                   ٢.١.٣
......................................................................................
.....
              ٢.٢ แผนการสอน
เรื่อง......................................................................
              2.3 เครื่องมือวัดผลและรวบรวมข้อมูล
                   ٢.٣.١
......................................................................................
.....
                   ٢.٣.٢
......................................................................................
.....
                   ٢.٣.٣
......................................................................................
.....
٣. วิ ธ ี ก ารรวบรวมข้ อ มู ล
             ٣.١
......................................................................................
...............
             ٣.٢
......................................................................................
...............
             ٣.٣
......................................................................................
...............


         ٤. วิ ธ ี ก ารวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล
             ٤.١
......................................................................................
...............
             ٤.٢
......................................................................................
...............
             ٤.٣
......................................................................................
...............
         ٥. ผลการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล
             ٥.١
......................................................................................
...............
             ٥.٢
......................................................................................
...............
             ٥.٣
......................................................................................
...............
สรุ ป และสะท้ อ นผล
.............................................................................
................................................................
......................................................................................
........................................................................
......................................................................................
........................................................................

More Related Content

What's hot

สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1Pimpisut Plodprong
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
13412 แหล่งฯ 1 53 แก้ไข (1)
13412 แหล่งฯ 1 53 แก้ไข (1)13412 แหล่งฯ 1 53 แก้ไข (1)
13412 แหล่งฯ 1 53 แก้ไข (1)Tong Chinnapat
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557Anusara Sensai
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1krupornpana55
 
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)ssuser2812ac
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAon Narinchoti
 
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยเครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยRachunt Boonlha
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 

What's hot (20)

สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
Academic position
Academic positionAcademic position
Academic position
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
บทที่ 2 wee
บทที่ 2 weeบทที่ 2 wee
บทที่ 2 wee
 
13412 แหล่งฯ 1 53 แก้ไข (1)
13412 แหล่งฯ 1 53 แก้ไข (1)13412 แหล่งฯ 1 53 แก้ไข (1)
13412 แหล่งฯ 1 53 แก้ไข (1)
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ก.ค.ศ.3 1
 
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
Task analysis (การวิเคราะห์ภาระงาน)
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัยเครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
เครื่องมือประเมิน มาตรฐาน ปฐมวัย
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
มคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศมคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศ
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 

Similar to การวิจัยในชั้นเรียน

Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectFelinicia
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนppisoot07
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Narut Keatnima
 

Similar to การวิจัยในชั้นเรียน (20)

Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie okเนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie ok
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
Commm
CommmCommm
Commm
 

การวิจัยในชั้นเรียน

  • 1. การเขี ย นรายงานการวิ จ ั ย ในชั ้ น เรี ย น การเขี ย นรายงานการวิ จ ั ย ในชั ้ น เรี ย น การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน เป็นขั้นตอนสุดท้าย ของกระบวนการวิจัย ในชั้นเรียน หลังจากที่ได้ดำาเนิน การวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจนได้ผลการวิจัยตาม วัตถุประสงค์แล้ว การเขียนรายงานการวิจัยโดยทั่วไปมี วัตถุประสงค์เพื่อสรุปผลการวิจัยเผยแพร่ ให้ผู้สนใจได้ศึกษา รับ รู้ นำารูปแบบวิธีการดำาเนินงานและผลการวิจัยไปใช้ในการปฏิบัติ งาน รวมทั้งเพื่อเสนอเป็นผลงานทางวิชาการสำาหรับขอเลื่อนและ กำาหนดตำาแหน่งให้สูงขึ้นด้วย แต่การเขียนรายงานการวิจัยในชั้น เรียนไม่ได้ให้ความสำาคัญกับวัตถุประสงค์ดังกล่าว แต่เ ป็ น การ เขี ย นเพื ่ อ บั น ทึ ก รวบรวมองค์ ค วามรู ้ เ กี ่ ย วกั บ วิ ธ ี ก ารหรื อ นวั ต กรรมที ่ ค ิ ด ค้ น แสวงหามาใช้ ใ นการแก้ ป ั ญ หา การเรี ย นการสอนของตนเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน ครูด้วยกัน องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยในชั้นเรียนไม่สามารถนำา ไปใช้อ้างอิงเป็นทางการหรือเป็นสากลได้ เพราะเป็นองค์ความรู้ที่ ใช้ได้กับกลุ่มเป้าหมายจำานวนน้อยที่ไม่ได้เป็นตัวแทนของ ประชากรโดยทั่วไป ตลอดจนวิธีการดำาเนินการวิจัยก็ไม่ได้ให้ ความสำาคัญกับความเป็นทางการ หรือความเป็นสากลมากนัก ดัง นั้น ความเชื่อถือได้ของการวิจัยในชั้นเรียน จึงมักไม่เป็นที่ยอมรับ ของนักวิจัยหรือนักวิชาการโดยทั่วไปเท่าที่ควร นอกจากว่าครูผู้ ทำาการวิจัยในชั้นเรียนจะพยายามปรับเปลี่ยนวิธีดำาเนินงานให้มี ความเป็นสากล และมีความน่าเชื่อถือได้มากขึ้น
  • 2. องค์ ป ระกอบของรายงานการวิ จ ั ย ในชั ้ น เรี ย น โดยทั่วไปแล้วในรายงานการวิจัยในชั้นเรียนของครู ประกอบด้วย ١) วัตถุประสงค์ของการวิจัย ٢) วิธีการดำาเนินการ วิจัย ٣) ผลการวิจัย ٤) ข้อสังเกตหรือข้อสงสัยเพิ่มเติม และ ٥) สิ่งที่ต้องศึกษาต่อไป ประเด็นที่น่าสนใจ และแนวทางในการวิจัย ต่อไป หรือควรประกอบด้วย ١) บทนำา (ความเป็นมาและความ สำาคัญของปัญหา และวัตถุประสงค์ของการวิจัย) ٢) แนวคิดที่ สำาคัญ (และสมมุติฐาน) ของการวิจัย ٣) วิธีดำาเนินการวิจัย (ตัวแปร กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือ และวิธีการเก็บข้อมูล) ٤) การ วิเคราะห์ข้อมูลและการแปลความหมาย และ ٥) สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียนมี ลักษณะที่ไม่ยึดรูปแบบของรายงานการวิจัยโดยทั่วไปมากนัก รายงานเฉพาะประเด็นที่สำาคัญเท่านั้น สุวิมล ว่องวาณิช (: ٢٥٤٣ ١٨٢) ได้สรุปว่า  การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนไม่ใช่การวิจัยที่ ยากเกินความสามารถของครู ทุกคนสามารถทำาได้ถ้ามีความมุ่ง มั่นที่จะทำา และเมื่อตัดสินใจที่จะทำาแล้ว ก็ไม่ต้องกังวลว่าวิธีการ วิจัยที่ใช้จะไม่ถูกต้องตามหลักวิชา เพราะหลักการของการวิจัย ปฏิบัติการในชั้นเรียนคือการทำาวิจัยเพื่อนำาผลไปแก้ปัญหา เมื่อใด ที่ปัญหาในห้องเรียนหมดไป ครูนักวิจัยไม่ต้องกังวลหรือสงสัยว่า วิธีการแก้ปัญหาที่เลือกขึ้นมาใช้ มีอิทธิพลส่งผลให้ปัญหาหมดไป จริงหรือไม่ ไม่ตองกลัวการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับวิธีวิทยาการ ้ วิจัย การทำาวิจัยคือการแก้ปัญหา ไม่ใช่การสร้างหรือทดสอบ ความแกร่งของทฤษฎี  ดังนั้นเพื่อให้มีความเป็นไปได้ในการเขียน รายงานการวิจัยของครู ซึ่งไม่ยากเกินไปจนทำาไม่ได้ แต่ก็ไม่ง่ายเกินไปจนเชื่อถือหรือ ยอมรับไม่ได้ ภายใต้แนวคิดที่ว่า ถ้ า รายงานการวิ จ ั ย ใน ชั ้ น เรี ย นของครู เ ป็ น รายงานที ่ ใ ห้ ค วามรู ้ ใ หม่ ใ นการแก้ ปั ญ หา และครู ใ ช้ ก ระบวนการวิ จ ั ย ที ่ เ ชื ่ อ ถื อ ได้ รายงาน การวิ จ ั ย ในชั ้ น เรี ย นของครู ก ็ เ ป็ น รายงานการวิ จ ั ย ที ่ ค วร
  • 3. ยอมรั บ ได้ การเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียนจึงควรมีองค์ ประกอบที่สำาคัญดังนี้ ١. ชื่อเรื่องการวิจัย ٢. ปัญหาและความสำาคัญของปัญหา ٣. วัตถุประสงค์ของการวิจัย ٤. วิธีการวิจัย ٤.١ กลุ่มเป้าหมาย ٤.٢ วิธีการหรือนวัตกรรมที่ใช้ ٤.٣ วิธีการรวบรวมข้อมูล ٤.٤ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ٤.٥ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ٥. สรุปและสะท้อนผล รายละเอียดการดำาเนินงานตามองค์ประกอบต่าง ๆ ดังกล่าว นี้ ครูได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติมาเป็นอย่างดีแล้วจากบทที่ ٢ ดังนั้น จึงไม่อยู่นอกเหนือศักยภาพของครูที่จะนำามาเขียนรายงาน การวิจัยในชั้นเรียนของครูได้ อย่างไรก็ตาม หากคณะครูได้ร่วม กันปลดปล่อยศักยภาพของตน ในฐานะคนใน ให้ออกมาอย่างเต็มที่ และเป็นอิสระจากคนนอก ในการตัดสินใจแล้ว งานวิจัยของครูก็จะมีคุณค่ามากขึ้น หลั ก การเขี ย นรายงานการวิ จ ั ย ในชั ้ น เรี ย น การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนให้น่าเชื่อถือและ ยอมรับได้ ควรคำานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ ١. ปัญหาที่นำามาวิจัยต้องเป็นปัญหาที่แท้จริง มีขอมูล ้ ชัดเจนว่าเป็นปัญหา ไม่ใช่เป็นเพียงสาเหตุของปัญหา เป็นปัญหา ที่สามารถหาคำาตอบได้ด้วยการวิจัยและเป็นองค์ความรู้ใหม่ ٢. ชื่อเรื่องการวิจัยหรือชื่อปัญหาวิจัยต้องมีความกะทัดรัด และชัดเจนในตัวของมันเอง เฉพาะเจาะจงและน่าสนใจ คำาว่า การศึกษาเกี่ยวกับ  การวิจัย  การทดลอง  การวิเคราะห์  การสำารวจ  หรือการค้นหา  ก็ตาม คำาเหล่านี้ไม่จำาเป็นต้องใช้ ٣. วัตถุประสงค์ของการวิจัยควรใช้ภาษาที่ชัดเจน เข้าใจ ง่าย ไม่วกวน หลีกเลี่ยงการใช้คำาซำ้าซ้อน นำาไปสู่การตั้ง สมมุติฐานและสามารถทำาการทดสอบได้
  • 4. ٤. วิธีการวิจัยมีความถูกต้องมีข้อมูลครบถ้วนและถูกต้อง ตามความเป็นจริง เครื่องมือ ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และผลการ วิเคราะห์ข้อมูลมีความเที่ยงตรง ٥. การสื่อความหมายตั้งแต่ต้นจนจบมีความชัดเจน สอดคล้องต่อเนื่อง ผูอ่านสามารถเข้าใจได้ดี ้ การเขี ย นรายงานการวิ จ ั ย ในชั ้ น เรี ย น การวิจัยในชั้นเรียนเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเกิดขึ้น จากการค้นคว้าทดลองแสวงหาความจริงเชิงวิทยาศาสตร์อย่าง ใกล้ชิดในสถานการณ์จริงของครูในชั้นเรียน หรือในโรงเรียน ไม่มีรูปแบบการเขียนรายงานที่เป็นสากล เน้นรูปแบบที่เรียบง่าย ใช้การบรรยายเป็นหลักในการนำาเสนอข้อค้นพบที่เป็นองค์ความรู้ ใหม่จากการแก้ปัญหา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าครูผู้วิจัยจะมีความสามารถ ในการบันทึกรายละเอียดขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการ วิจัยได้มากน้อยหรือดีเพียงใด ดังนั้นการเขียนรายงานการวิจัยใน ชั้นเรียนที่มีความเป็นไปได้ และอยู่ในวิสัยที่ครูผู้สอนโดยทั่วไปจะ ทำาได้ จึงควรมีโครงสร้างและองค์ประกอบที่สำาคัญ ดังนี้ ชื ่ อ รายงาน.......................................................................... ................................... ปั ญ หา : ....................................................................... ............................................ สาเหตุ 1. ................................................................................. ............................. ٢. ................................................................................. .............................
  • 5. 3. ................................................................................. ............................. วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่อ................................................................................. ........................... วิ ธ ี ก ารวิ จ ั ย ١. กลุ ่ ม เป้ า หมาย นักเรียนชั้น......ภาคเรียนที่......ปี การศึกษา.....จำานวน.......คน ٢. วิ ธ ี ก ารหรื อ นวั ต กรรมที ่ ใ ช้ ٢.١ ชื่อ นวัตกรรม...............................จำานวน...........ชุด/เรื่อง/หน่วย ดังนี้ ٢.١.١ ...................................................................................... ..... ٢.١.٢ ...................................................................................... ..... ٢.١.٣ ...................................................................................... ..... ٢.٢ แผนการสอน เรื่อง...................................................................... 2.3 เครื่องมือวัดผลและรวบรวมข้อมูล ٢.٣.١ ...................................................................................... ..... ٢.٣.٢ ...................................................................................... ..... ٢.٣.٣ ...................................................................................... .....
  • 6. ٣. วิ ธ ี ก ารรวบรวมข้ อ มู ล ٣.١ ...................................................................................... ............... ٣.٢ ...................................................................................... ............... ٣.٣ ...................................................................................... ............... ٤. วิ ธ ี ก ารวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ٤.١ ...................................................................................... ............... ٤.٢ ...................................................................................... ............... ٤.٣ ...................................................................................... ............... ٥. ผลการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ٥.١ ...................................................................................... ............... ٥.٢ ...................................................................................... ............... ٥.٣ ...................................................................................... ............... สรุ ป และสะท้ อ นผล