SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 16
Downloaden Sie, um offline zu lesen
มาตรฐานดานเทคโนโลยี
  และสื่อสารการศึกษา



                วิชิต ชาวะหา
มาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือสารการศึกษา
                          ่
Topics

   ความหมายและแนวคิด

         ขอบขาย / มาตรฐาน

          งานวิจยเกียวของ
                ั ่
มาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือสารการศึกษา
                             ่
ความหมาย

•   เทคโนโลยี มาจากคํ า ภาษาลาติ น ว า “Techno+Logos” หมายถึ ง ศาสตร ที่ ว า ด ว ย
    วิธีก ารหรื อ การศึก ษาเกี่ ย วกั บวิ ธีก าร เทคโนโลยีก ารศึ กษาจึ ง เปน เรื่ อ งของ
    ระบบและวิธีการไมวาจะมีวัสดุและเครื่องมืออุปกรณมาเกี่ยวของหรือไมก็ตาม

•   ชัยยงค พรหมวงศ (2545) : เทคโนโลยีการศึกษามีลักษณะที่แตกตางไปจาก
    วิทยาการ (Discipline) หรือวิชาแขนงอื่นอยูบาง กลาวคือ วิทยาการทั้งหลายนั้น
    หมายถึง องคแหงความรูที่สามารถตรวจสอบและเปลี่ยนแปลงไดดวยการวิจัย
    และส ว นใหญ จ ะเป น วิ ท ยาการทางวิ ท ยาศาสตร ส ว นคํ า ว า สาขาวิ ช า (Field)
    มักจะหมายถึง การศึกษาประยุกต (Applied study) ที่เนนเรื่องวิชาชีพ สาขาวิชาจะ
    ขึ้นอยูกับวิทยาการ เชน วิชาชีพวิศวกรรมศาสตรก็จะขึ้นอยูกับวิชาฟสิกสและ
    คณิตศาสตร วิชาชีพทางแพทยจะขึ้นอยูกับวิชาชีววิทยาและวิชาเคมี เปนตน
    สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ตองอาศัย
    ความรู จ ากวิ ท ยาการแขนงอื่ น หลายด า น
    ดังนั้น เทคโนโลยีการศึกษาจึงเปน สห
    วิทยาการ (Interdiscipline)
มาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือสารการศึกษา
                             ่
แนวคิด ...เทคโนโลยีการศึกษามีวิวัฒนาการมาจาก 2 แนวคิด ไดแก

•   แนวคิดแรก เปนแนวคิดทางวิทยาศาสตรกายภาพ ( Physical Science Concept) ซึงเปนระบบ                 ่
    การนําผลิตผลทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรมมาใชในดานการศึกษา             โดยรูจักกันดีใน    รูปของวัสดุที่เปนสิ่ง
    สิ้นเปลือง (Software) และอุปกรณทเี่ ปนสิ่งที่คงทนถาวร (Hardware) ทั้งสองประเภทนี้มักใชควบคู
    กัน คือ เมือมีวัสดุแลว มักจะตองใชควบคูกับอุปกรณเสมอ เชน เครื่องฉายและเครื่องเสียง เปนตน แนวคิดนี้ได
               ่
    พัฒนามาจาก “ โสตทัศนศึกษา” (Audiovisual Education) ซึงเปนการเรียนรูจากการรับฟงดวยหู
                                                                                 ่
    และรับชมดวยตานั่นเอง เทคโนโลยีการศึกษาตามแนวคิดนี้จึงเนนหนักที่ “ สื่อสิงของ” ไดแก วัสดุ อุปกรณ
                                                                                   ่

•   แนวคิดที่สอง เปนแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร ( Behavioral Science) ซึ่งเปนการ ประยุกต
    หลักการทางจิตวิทยา สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา ผสมผสานกับผลผลิตทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรม เพื่อชวย
    ให ก ารเปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมการเรี ย นรู ข องผู เ รี ย นอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยเน น “ วิ ธี ก ารจั ด ระบบ”
    (System Approach) ที่มีการกําหนดขั้นตอนอยางเดนชัด เชน ตองมีการวิเคราะหเนื้อหาสาระ
    วิเคราะหผูเรียน กําหนดวิธีการและสื่อการสอนและกําหนดแนวทางการประเมินผล เปนตน เทคโนโลยีการศึกษา
    ตามแนวคิดนี้จึงเปนแนวคิดที่ยอมรับกันมาก เพราะมิไดเนนสื่อสิ่งของแตเนนสื่อประเภทวิธีการ รวมเปน “ วัสดุ
    อุปกรณ และวิธีการ”
แนวคิดของสมาคมสือสารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา
                    ่
      (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994)
                                                                  AECT

•   Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน   5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดังนี้




                                           AECT
แนวคิดของสมาคมสือสารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา
                    ่
      (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994)

•   Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน          5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดังนี้




       1.1 การออกแบบระบบการสอน (instructional systems design) เปนวิธีการจัดการที่รวมขั้นตอนของการ
          สอนประกอบดวย การวิเคราะห (analysis) คือ กระบวนการที่กําหนดวาตองการใหผูเรียนไดรับอะไร เรียน
          ในเนื้อหาอะไร การออกแบบ (design) กระบวนการที่จะตองระบุวาใหผูเรียนเรียนอยางไร การพัฒนา
         (development) คือ กระบวนการสรางผลิตสื่อวัสดุการสอน การนําไปใช (implementation) คือ การใช
          วัสดุและยุทธศาสตรตางๆ ในการสอน และ การประเมิน (evaluation) คือ กระบวนการในการประเมินการ
          ส                                             อ                                                 น

       1.2 ออกแบบสาร (message design) เปนการวางแผน เปลี่ยนแปลงสารเนนทฤษฎีการเรียนที่ประยุกตความรู
                                                AECT
          บนพื้ น ฐานของความสนใจ การรับ รู ความจํ า การออกแบบสารมี จุด ประสงค เพื่ อ การสื่ อ ความหมายกั บ
          ผู                  เ                        รี                   ย                           น

       1.3 กลยุทธการสอน (instructional strategies) เนนที่การเลือก ลําดับเหตุการณ และกิจกรรมในบทเรียน
          ในทางปฏิบัติกลยุทธการสอนมีความสัมพันธกับสถานการณการเรียน ผลของปฏิสัมพันธนี้สามารถอธิบาย
          ไดโดยโมเดลการสอน การเลือกยุทธศาสตรการสอนและโมเดลการสอนตองขึ้นอยูกับสถานการณการ
          เรียน รวมถึงลักษณะผูเรียน ธรรมชาติของเนื้อหาวิชา และจุดประสงคของผูเรียน

       1.4 ลักษณะผูเรียน (learner characteristics) คือลักษณะและประสบการณเดิมของผูเรียนที่จะมีผลตอ
          กระบวนการเรียน การสอน การเลือก และการใชยุทธศาสตรการสอน
แนวคิดของสมาคมสือสารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา
                     ่
            (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994)

•      Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน                            5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดังนี้


2.1 เทคโนโลยีสิ่งพิมพ (print         technologies)            เปนการผลิต หรือสงสาร
   สื่อด า นวัส ดุ เชน หนัง สือ โสตทั ศ นวัส ดุ พื้น ฐานประเภทภาพนิ่ง ภาพถา ย
   รว มถึ งสื่ อข อ ค ว า ม ก รา ฟ ก วั ส ดุ ภ า พ สิ่ งพิ ม พ ทั ศ นวั ส ดุ สิ่ ง เ ห ล า นี้
   เปนพื้นฐานของการพัฒนา การใชสื่อวัสดุการสอนอื่นๆ

2.2 เทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ (audiovisual technologies) เปนวิธีการ
   ในการจั ด หา หรื อ ส ง ถ า ยสาร โดยใช เ ครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ หรื อ เครื่ อ งมื อ
   อิเล็ กทรอนิ กส เพื่อ นํา เสนอสารตา งๆ ดวยเสี ย ง และภาพ โสตทัศ นูป กรณ
   จะช ว ยแสดงสิ่ ง ที่ เ ป น ธรรมชาติ จ ริ ง ความคิ ด ที่ เ ป น นามธรรม เพื่ อ ผู ส อน
   นําไปใชใหมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน

2.3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร (computer – based technologies) เปนวิธีการ
                                                            AECT
   ในการจัดหา หรือสงถายสารโดยการใชไมโครโพรเซสเซอร เพื่อรับและสง
   ข อ มู ล แบบดิ จิ ต อล ประกอบด ว ย คอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน คอมพิ ว เตอร
   จั ด การสอน โทรคมนาคม การสื่ อ สารทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส การเข า ถึ ง และ
   ใชแหลงขอมูลในเครือขาย

2.4 เทคโนโลยีบูรณาการ (integrated technologies) เปนวิธีการในการจัดหา
   หรือสงถายขอมูลกับสื่อหลาย ๆ รูปแบบภายใตการควบคุมของคอมพิวเตอร
แนวคิดของสมาคมสือสารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา
                    ่
      (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994)

•   Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน          5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดังนี้


                3.1 การใชสื่อ (media      utilization) เปนระบบของการใชสื่อ แหลงทรัพ ยากร
                    เพื่อ การเรียน โดยใชกระบวนการตามที่ผานการออกแบบการสอน

                3.2 การแพรกระจายนวัตกรรม (diffusion of innovations) เปนกระบวนการ
                    สื่ อ ความหมาย รวมถึ ง การวางยุ ท ธศาสตร หรื อ จุ ด ประสงค ใ ห เ กิ ด การยอมรั บ
                    นวัตกรรม

                3.3 วิธีการนําไปใช และการจัดการ (implementation and institutionalization)
                     เป น การใช สื่ อการสอนหรื อ ยุท ธศาสตร ใ นสถานการณ จ ริง อยา งตอ เนื่อ งและใช
                     นวัตกรรมการศึกษาเปนประจําในองคการ

                3.4 นโยบาย หลักการและกฎระเบียบขอบังคับ (policies and regulations)
                    เป น กฎระเบี ย บ ข อ บั ง คั บ ของสั ง คมที่ ส ง ผลต อ การแพร ก ระจาย และการใช
                                                       AECT
                เ          ท         ค               โ         น             โ        ล        ยี      -
                    การศึกษา
แนวคิดของสมาคมสือสารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา
                    ่
      (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994)

•   Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน     5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดังนี้


                   4.1 การจัดการโครงการ (project management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม การออกแบบ
                      และพัฒนาโครงการสอน

                   4.2 การจัดการแหลงทรัพยากร (resource management)          เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม
                      แหลงทรัพยากร ที่ชวยระบบและการบริการ

                   4.3 การจัดการระบบสงถาย (delivery system management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม
                      วิธีการซึ่งแพรกระจายสื่อการสอนในองคการ รวมถึงสื่อ และวิธีการใชที่จะนําเสนอสารไปยัง
                      ผูเรียน

                   4.4 การจัดการสารสนเทศ (information management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม การ
                      เก็บ การสงถาย หรือกระบวนการของขอมูลสารเพื่อสนับสนุนแหลงทรัพยากรการเรียน

                                              AECT
แนวคิดของสมาคมสือสารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา
                    ่
      (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994)

•   Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน   5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดังนี้




                               5.1 การวิเคราะหปญหา (problem analysis) เปนการทําใหปญหาสิ้นสุด โดยการใช
                                    ขอมูลตางๆ และวิธีการที่จะชวยตัดสินใจ

                               5.2 เกณฑการประเมิน (criterion – reference measurement) เทคนิคการ
                                  ใช เ กณฑ เ พื่ อ การประเมิ น การสอน หรื อ ประเมิ น โครงการเทคโนโลยี แ ละสื่ อ สาร
                                               AECT
                                    การศึกษา

                               5.3 การประเมินความกาวหนา (formative evaluation) มีการใชขอมูลอยางเหมาะสม
                                    จากการประเมินความกาวหนาเพื่อเปนฐานในการพัฒนาตอไป

                               5.4 การประเมินผลสรุป (summative evaluation) มีการใชขอมูลอยางเหมาะสมที่จะ
                                    ตัดสินใจกับการดําเนินงานโปรแกรม หรือโครงการ
แนวคิดนักการศึกษา (ไทย)
• ศ.ดร.ชัยยงค พรหมวงศ
งานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ
• การพัฒนามาตรฐานงานเทคโนโลยีการศึกษา
  ในสถาบันอุดมศึกษา
 (ผศ.ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ม.ศิลปากร)



• การพัฒนามาตรฐานแหงชาติทางเทคโนโลยี
  การศึกษาสําหรับสถาบันผลิตบัณฑิตทาง
  การศึกษา (วสันต อติศพท และคณะ)
                       ั
งานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ
• การพัฒนามาตรฐานงานเทคโนโลยีการศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
  (ผศ.ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ม.ศิลปากร)
งานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ
• การพัฒนามาตรฐานงานเทคโนโลยีการศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
  (ผศ.ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ม.ศิลปากร)


ตัวอยาง
งานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ
• การพัฒนามาตรฐานแหงชาติทางเทคโนโลยีการศึกษาสําหรับ
  สถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (วสันต อติศัพท และคณะ)
บทคัดยอ

   การวิจัยนี้มีเปาหมายเพื่อพัฒนามาตรฐานแหงชาติทางเทคโนโลยีการศึกษาสําหรับสถาบันผลิต
บัณฑิตทางการศึกษา โดยมีขั้นตอนการวิจัย 5 ขั้นตอนคือ (1) การกําหนดกรอบสําหรับการพัฒนา
มาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษา (2)                 การพัฒนารางมาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษา (3)
การศึกษาความคิดเห็นผูบริหารสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (4) การวิพากษมาตรฐานทาง
เทคโนโลยีการศึกษา และ (5) การรับรองมาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษาโดยสภาคณบดีคณะครุ
ศาสตร ศึ ก ษาศาสตร แ ห ง ประเทศไทย ผลการวิ จั ย ได เ สนอมาตรฐานแห ง ชาติ ท างเทคโนโลยี
การศึกษาสําหรับสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา 9 มาตรฐาน 34 ตัวบงชี้ คือ (1) มาตรฐานดาน
ภาวะผูนําทางเทคโนโลยีการศึกษาของสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (2)                         มาตรฐานดาน
โครงสรางของหลักสูตรการผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (3) มาตรฐานดานโครงสรางพื้นฐานทาง
เทคโนโลยีก ารศึกษา (4)             มาตรฐานดานเทคโนโลยีรว มสมัยสนับสนุนการเรียนการสอน (5)
มาตรฐานดานบุคลากรทางเทคโนโลยีการศึกษา (6)                        มาตรฐานดานสมรรถนะทางเทคโนโลยี
การศึกษาของอาจารย (7) มาตรฐานดานรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เอื้อและสงเสริมการ
พัฒนาสมรรถนะทางการใชเทคโนโลยีการศึกษาแกนิสิต นักศึกษาครู (8) มาตรฐานดานการฝก
ประสบการณวิชาชีพ และ(9)            มาตรฐานดานสมรรถนะทางเทคโนโลยีการศึกษาของบัณฑิตทาง
การศึ ก ษา คณะผู วิ จั ย จะนํ า เสนอผลการวิ จั ย แก คุ รุ ส ภา และสํ า นั ก มาตรฐานและประกั น คุ ณ ภาพ
การศึ ก ษาเพื่ อ พิ จ ารณาเป น กรอบในการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของสถาบั น ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ทาง
การศึกษาตอไป
จากแนวคิด สู ...การวิจัย
.....ท า น ผู ส น ใ จ ศึ ก ษ า ป ร ะ เ ด็ น ก า ร ทํ า
Dissertation                   (ป.โท เรี ย ก Thesis)
ด า น เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ สื่ อ ส า ร ก า ร ศึ ก ษ า
ควรศึกษาขอบขายที่เกี่ยวของ เชน Textbook
ของ AECT โดย DAVID H. JONASSEN ชื่อ
Handbook of Research on Educational
Communications and Technology : A
Project of the Association for Educational
Communications                and        Technology
มี ก รอบการพิ จ ารณา 7 ด า น 42 หั ว ข อ ย อ ย

( คลิกที่ http://thailearn4change.ning.com )

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่snxnuux
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติTee Lek
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษาTupPee Zhouyongfang
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาAlice Misty
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3Bell Bella
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Aon Onuma
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาsinarack
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาpohn
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาB'nust Thaporn
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 

Was ist angesagt? (20)

เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
เทคโนโลนีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาใหม่
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอนบทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Mindmap1
Mindmap1Mindmap1
Mindmap1
 

Andere mochten auch

บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..Wiwat Ch
 
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพMaprang-jaa
 
สัมมนาเปลี่ยนความรู้เป็นเงินด้วย iphone
สัมมนาเปลี่ยนความรู้เป็นเงินด้วย iphoneสัมมนาเปลี่ยนความรู้เป็นเงินด้วย iphone
สัมมนาเปลี่ยนความรู้เป็นเงินด้วย iphoneasiamediasoft
 
คู่มือกระเป๋าผ้า
คู่มือกระเป๋าผ้าคู่มือกระเป๋าผ้า
คู่มือกระเป๋าผ้าkanyarat saraboon
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02Art Nan
 
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศwatcharawittaya school
 
การเย็บผ้าด้วยมือ
การเย็บผ้าด้วยมือการเย็บผ้าด้วยมือ
การเย็บผ้าด้วยมือdesignG11
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ32040954
 
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจคู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจSompop Petkleang
 
หนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐาน
หนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐานหนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐาน
หนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐานManop Kongoon
 
โครงการณ์คอมพิวเตอร์พอเพียง สำหรับโรงเรียนชุมชน
โครงการณ์คอมพิวเตอร์พอเพียง สำหรับโรงเรียนชุมชนโครงการณ์คอมพิวเตอร์พอเพียง สำหรับโรงเรียนชุมชน
โครงการณ์คอมพิวเตอร์พอเพียง สำหรับโรงเรียนชุมชนธรรมนุวัฒน์ วาลีประโคน
 
สร้าง Style ด้วย css 3
สร้าง Style ด้วย css 3สร้าง Style ด้วย css 3
สร้าง Style ด้วย css 3Samart Phetdee
 
การสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tube
การสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tubeการสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tube
การสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tubeApisit Chayapat
 

Andere mochten auch (20)

ของขวัญวันเกิดทำด้วยตัวเอง
ของขวัญวันเกิดทำด้วยตัวเองของขวัญวันเกิดทำด้วยตัวเอง
ของขวัญวันเกิดทำด้วยตัวเอง
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
ก้าสู่ความเป็นครูวิชาชีพ
 
Handbook of service minds
Handbook of service mindsHandbook of service minds
Handbook of service minds
 
สัมมนาเปลี่ยนความรู้เป็นเงินด้วย iphone
สัมมนาเปลี่ยนความรู้เป็นเงินด้วย iphoneสัมมนาเปลี่ยนความรู้เป็นเงินด้วย iphone
สัมมนาเปลี่ยนความรู้เป็นเงินด้วย iphone
 
คู่มือกระเป๋าผ้า
คู่มือกระเป๋าผ้าคู่มือกระเป๋าผ้า
คู่มือกระเป๋าผ้า
 
เอกสารประกอบแผนการเรียนรู้ที่ 5
เอกสารประกอบแผนการเรียนรู้ที่ 5เอกสารประกอบแผนการเรียนรู้ที่ 5
เอกสารประกอบแผนการเรียนรู้ที่ 5
 
นางขวัญฤดี กันทเสน02
นางขวัญฤดี  กันทเสน02นางขวัญฤดี  กันทเสน02
นางขวัญฤดี กันทเสน02
 
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
การเย็บผ้าด้วยมือ
การเย็บผ้าด้วยมือการเย็บผ้าด้วยมือ
การเย็บผ้าด้วยมือ
 
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Codeigniter Framework
Codeigniter FrameworkCodeigniter Framework
Codeigniter Framework
 
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจคู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
 
P ort80 bkk-codeigniter
P ort80 bkk-codeigniterP ort80 bkk-codeigniter
P ort80 bkk-codeigniter
 
หนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐาน
หนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐานหนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐาน
หนังสือ Yii framework 2 Web Application Basic ฉบับพื้นฐาน
 
AECT W1 704
AECT W1 704AECT W1 704
AECT W1 704
 
โครงการณ์คอมพิวเตอร์พอเพียง สำหรับโรงเรียนชุมชน
โครงการณ์คอมพิวเตอร์พอเพียง สำหรับโรงเรียนชุมชนโครงการณ์คอมพิวเตอร์พอเพียง สำหรับโรงเรียนชุมชน
โครงการณ์คอมพิวเตอร์พอเพียง สำหรับโรงเรียนชุมชน
 
สร้าง Style ด้วย css 3
สร้าง Style ด้วย css 3สร้าง Style ด้วย css 3
สร้าง Style ด้วย css 3
 
การสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tube
การสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tubeการสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tube
การสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tube
 

Ähnlich wie "aect ecucational technology"

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยีimmyberry
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาJune Nitipan
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)siri123001
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 

Ähnlich wie "aect ecucational technology" (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
201701 ความหมาย ขอบข่าย และพัฒนาการของเทคโนโลยี
 
Pu
PuPu
Pu
 
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
ความหมาย ขอบข่ายและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา..Week 1
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
E4
E4E4
E4
 
Chapter15630505256
Chapter15630505256Chapter15630505256
Chapter15630505256
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
งาน
งานงาน
งาน
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
เทคโนโลย นว ตกรรม และส__อการศ_กษา (1)
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

Mehr von Wichit Chawaha

Lms trends 9 march 2012
Lms trends   9 march 2012Lms trends   9 march 2012
Lms trends 9 march 2012Wichit Chawaha
 
Lms trends 9 march 2012
Lms trends   9 march 2012Lms trends   9 march 2012
Lms trends 9 march 2012Wichit Chawaha
 
Power point template_create-andwebsocialnetworkpresent
Power point template_create-andwebsocialnetworkpresentPower point template_create-andwebsocialnetworkpresent
Power point template_create-andwebsocialnetworkpresentWichit Chawaha
 
Power point template_create-homework-1
Power point template_create-homework-1Power point template_create-homework-1
Power point template_create-homework-1Wichit Chawaha
 
Power point template_create-homework-1
Power point template_create-homework-1Power point template_create-homework-1
Power point template_create-homework-1Wichit Chawaha
 
การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอWichit Chawaha
 
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power point
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power pointแบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power point
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power pointWichit Chawaha
 
แผ่นรายการการนำเสนอที่สมบูรณ์
แผ่นรายการการนำเสนอที่สมบูรณ์แผ่นรายการการนำเสนอที่สมบูรณ์
แผ่นรายการการนำเสนอที่สมบูรณ์Wichit Chawaha
 
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPoint
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPointแบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPoint
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPointWichit Chawaha
 
แผ่นรายการนำเสนอ
แผ่นรายการนำเสนอแผ่นรายการนำเสนอ
แผ่นรายการนำเสนอWichit Chawaha
 
Computer & presentation thinking to-talking
Computer & presentation thinking to-talkingComputer & presentation thinking to-talking
Computer & presentation thinking to-talkingWichit Chawaha
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ppt
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\PptC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ppt
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\PptWichit Chawaha
 
Ppt A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In ...
Ppt A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In ...Ppt A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In ...
Ppt A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In ...Wichit Chawaha
 
A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In Chem...
A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In Chem...A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In Chem...
A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In Chem...Wichit Chawaha
 

Mehr von Wichit Chawaha (20)

Ppt0000000
Ppt0000000Ppt0000000
Ppt0000000
 
Lms trends 9 march 2012
Lms trends   9 march 2012Lms trends   9 march 2012
Lms trends 9 march 2012
 
Lms trends 9 march 2012
Lms trends   9 march 2012Lms trends   9 march 2012
Lms trends 9 march 2012
 
Sopa feedback-web
Sopa feedback-webSopa feedback-web
Sopa feedback-web
 
Power point template_create-andwebsocialnetworkpresent
Power point template_create-andwebsocialnetworkpresentPower point template_create-andwebsocialnetworkpresent
Power point template_create-andwebsocialnetworkpresent
 
Power point template_create-homework-1
Power point template_create-homework-1Power point template_create-homework-1
Power point template_create-homework-1
 
Power point template_create-homework-1
Power point template_create-homework-1Power point template_create-homework-1
Power point template_create-homework-1
 
Slide to slideshare
Slide to slideshareSlide to slideshare
Slide to slideshare
 
การออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอการออกแบบและการนำเสนอ
การออกแบบและการนำเสนอ
 
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power point
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power pointแบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power point
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญในการใช้ Power point
 
แผ่นรายการการนำเสนอที่สมบูรณ์
แผ่นรายการการนำเสนอที่สมบูรณ์แผ่นรายการการนำเสนอที่สมบูรณ์
แผ่นรายการการนำเสนอที่สมบูรณ์
 
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPoint
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPointแบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPoint
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPoint
 
แผ่นรายการนำเสนอ
แผ่นรายการนำเสนอแผ่นรายการนำเสนอ
แผ่นรายการนำเสนอ
 
Slide to slideshare
Slide to slideshareSlide to slideshare
Slide to slideshare
 
Computer & presentation thinking to-talking
Computer & presentation thinking to-talkingComputer & presentation thinking to-talking
Computer & presentation thinking to-talking
 
Test
TestTest
Test
 
Blogger gadget
Blogger gadgetBlogger gadget
Blogger gadget
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ppt
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\PptC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ppt
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ppt
 
Ppt A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In ...
Ppt A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In ...Ppt A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In ...
Ppt A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In ...
 
A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In Chem...
A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In Chem...A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In Chem...
A Study Of Comparing The Use Of Augmented Reality And Physical Models In Chem...
 

"aect ecucational technology"

  • 2. มาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือสารการศึกษา ่ Topics ความหมายและแนวคิด ขอบขาย / มาตรฐาน งานวิจยเกียวของ ั ่
  • 3. มาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือสารการศึกษา ่ ความหมาย • เทคโนโลยี มาจากคํ า ภาษาลาติ น ว า “Techno+Logos” หมายถึ ง ศาสตร ที่ ว า ด ว ย วิธีก ารหรื อ การศึก ษาเกี่ ย วกั บวิ ธีก าร เทคโนโลยีก ารศึ กษาจึ ง เปน เรื่ อ งของ ระบบและวิธีการไมวาจะมีวัสดุและเครื่องมืออุปกรณมาเกี่ยวของหรือไมก็ตาม • ชัยยงค พรหมวงศ (2545) : เทคโนโลยีการศึกษามีลักษณะที่แตกตางไปจาก วิทยาการ (Discipline) หรือวิชาแขนงอื่นอยูบาง กลาวคือ วิทยาการทั้งหลายนั้น หมายถึง องคแหงความรูที่สามารถตรวจสอบและเปลี่ยนแปลงไดดวยการวิจัย และส ว นใหญ จ ะเป น วิ ท ยาการทางวิ ท ยาศาสตร ส ว นคํ า ว า สาขาวิ ช า (Field) มักจะหมายถึง การศึกษาประยุกต (Applied study) ที่เนนเรื่องวิชาชีพ สาขาวิชาจะ ขึ้นอยูกับวิทยาการ เชน วิชาชีพวิศวกรรมศาสตรก็จะขึ้นอยูกับวิชาฟสิกสและ คณิตศาสตร วิชาชีพทางแพทยจะขึ้นอยูกับวิชาชีววิทยาและวิชาเคมี เปนตน สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ตองอาศัย ความรู จ ากวิ ท ยาการแขนงอื่ น หลายด า น ดังนั้น เทคโนโลยีการศึกษาจึงเปน สห วิทยาการ (Interdiscipline)
  • 4. มาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือสารการศึกษา ่ แนวคิด ...เทคโนโลยีการศึกษามีวิวัฒนาการมาจาก 2 แนวคิด ไดแก • แนวคิดแรก เปนแนวคิดทางวิทยาศาสตรกายภาพ ( Physical Science Concept) ซึงเปนระบบ ่ การนําผลิตผลทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรมมาใชในดานการศึกษา โดยรูจักกันดีใน รูปของวัสดุที่เปนสิ่ง สิ้นเปลือง (Software) และอุปกรณทเี่ ปนสิ่งที่คงทนถาวร (Hardware) ทั้งสองประเภทนี้มักใชควบคู กัน คือ เมือมีวัสดุแลว มักจะตองใชควบคูกับอุปกรณเสมอ เชน เครื่องฉายและเครื่องเสียง เปนตน แนวคิดนี้ได ่ พัฒนามาจาก “ โสตทัศนศึกษา” (Audiovisual Education) ซึงเปนการเรียนรูจากการรับฟงดวยหู ่ และรับชมดวยตานั่นเอง เทคโนโลยีการศึกษาตามแนวคิดนี้จึงเนนหนักที่ “ สื่อสิงของ” ไดแก วัสดุ อุปกรณ ่ • แนวคิดที่สอง เปนแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร ( Behavioral Science) ซึ่งเปนการ ประยุกต หลักการทางจิตวิทยา สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา ผสมผสานกับผลผลิตทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรม เพื่อชวย ให ก ารเปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมการเรี ย นรู ข องผู เ รี ย นอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยเน น “ วิ ธี ก ารจั ด ระบบ” (System Approach) ที่มีการกําหนดขั้นตอนอยางเดนชัด เชน ตองมีการวิเคราะหเนื้อหาสาระ วิเคราะหผูเรียน กําหนดวิธีการและสื่อการสอนและกําหนดแนวทางการประเมินผล เปนตน เทคโนโลยีการศึกษา ตามแนวคิดนี้จึงเปนแนวคิดที่ยอมรับกันมาก เพราะมิไดเนนสื่อสิ่งของแตเนนสื่อประเภทวิธีการ รวมเปน “ วัสดุ อุปกรณ และวิธีการ”
  • 5. แนวคิดของสมาคมสือสารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา ่ (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) AECT • Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน 5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดังนี้ AECT
  • 6. แนวคิดของสมาคมสือสารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา ่ (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) • Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน 5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดังนี้ 1.1 การออกแบบระบบการสอน (instructional systems design) เปนวิธีการจัดการที่รวมขั้นตอนของการ สอนประกอบดวย การวิเคราะห (analysis) คือ กระบวนการที่กําหนดวาตองการใหผูเรียนไดรับอะไร เรียน ในเนื้อหาอะไร การออกแบบ (design) กระบวนการที่จะตองระบุวาใหผูเรียนเรียนอยางไร การพัฒนา (development) คือ กระบวนการสรางผลิตสื่อวัสดุการสอน การนําไปใช (implementation) คือ การใช วัสดุและยุทธศาสตรตางๆ ในการสอน และ การประเมิน (evaluation) คือ กระบวนการในการประเมินการ ส อ น 1.2 ออกแบบสาร (message design) เปนการวางแผน เปลี่ยนแปลงสารเนนทฤษฎีการเรียนที่ประยุกตความรู AECT บนพื้ น ฐานของความสนใจ การรับ รู ความจํ า การออกแบบสารมี จุด ประสงค เพื่ อ การสื่ อ ความหมายกั บ ผู เ รี ย น 1.3 กลยุทธการสอน (instructional strategies) เนนที่การเลือก ลําดับเหตุการณ และกิจกรรมในบทเรียน ในทางปฏิบัติกลยุทธการสอนมีความสัมพันธกับสถานการณการเรียน ผลของปฏิสัมพันธนี้สามารถอธิบาย ไดโดยโมเดลการสอน การเลือกยุทธศาสตรการสอนและโมเดลการสอนตองขึ้นอยูกับสถานการณการ เรียน รวมถึงลักษณะผูเรียน ธรรมชาติของเนื้อหาวิชา และจุดประสงคของผูเรียน 1.4 ลักษณะผูเรียน (learner characteristics) คือลักษณะและประสบการณเดิมของผูเรียนที่จะมีผลตอ กระบวนการเรียน การสอน การเลือก และการใชยุทธศาสตรการสอน
  • 7. แนวคิดของสมาคมสือสารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา ่ (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) • Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน 5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดังนี้ 2.1 เทคโนโลยีสิ่งพิมพ (print technologies) เปนการผลิต หรือสงสาร สื่อด า นวัส ดุ เชน หนัง สือ โสตทั ศ นวัส ดุ พื้น ฐานประเภทภาพนิ่ง ภาพถา ย รว มถึ งสื่ อข อ ค ว า ม ก รา ฟ ก วั ส ดุ ภ า พ สิ่ งพิ ม พ ทั ศ นวั ส ดุ สิ่ ง เ ห ล า นี้ เปนพื้นฐานของการพัฒนา การใชสื่อวัสดุการสอนอื่นๆ 2.2 เทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ (audiovisual technologies) เปนวิธีการ ในการจั ด หา หรื อ ส ง ถ า ยสาร โดยใช เ ครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ หรื อ เครื่ อ งมื อ อิเล็ กทรอนิ กส เพื่อ นํา เสนอสารตา งๆ ดวยเสี ย ง และภาพ โสตทัศ นูป กรณ จะช ว ยแสดงสิ่ ง ที่ เ ป น ธรรมชาติ จ ริ ง ความคิ ด ที่ เ ป น นามธรรม เพื่ อ ผู ส อน นําไปใชใหมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน 2.3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร (computer – based technologies) เปนวิธีการ AECT ในการจัดหา หรือสงถายสารโดยการใชไมโครโพรเซสเซอร เพื่อรับและสง ข อ มู ล แบบดิ จิ ต อล ประกอบด ว ย คอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน คอมพิ ว เตอร จั ด การสอน โทรคมนาคม การสื่ อ สารทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส การเข า ถึ ง และ ใชแหลงขอมูลในเครือขาย 2.4 เทคโนโลยีบูรณาการ (integrated technologies) เปนวิธีการในการจัดหา หรือสงถายขอมูลกับสื่อหลาย ๆ รูปแบบภายใตการควบคุมของคอมพิวเตอร
  • 8. แนวคิดของสมาคมสือสารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา ่ (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) • Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน 5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดังนี้ 3.1 การใชสื่อ (media utilization) เปนระบบของการใชสื่อ แหลงทรัพ ยากร เพื่อ การเรียน โดยใชกระบวนการตามที่ผานการออกแบบการสอน 3.2 การแพรกระจายนวัตกรรม (diffusion of innovations) เปนกระบวนการ สื่ อ ความหมาย รวมถึ ง การวางยุ ท ธศาสตร หรื อ จุ ด ประสงค ใ ห เ กิ ด การยอมรั บ นวัตกรรม 3.3 วิธีการนําไปใช และการจัดการ (implementation and institutionalization) เป น การใช สื่ อการสอนหรื อ ยุท ธศาสตร ใ นสถานการณ จ ริง อยา งตอ เนื่อ งและใช นวัตกรรมการศึกษาเปนประจําในองคการ 3.4 นโยบาย หลักการและกฎระเบียบขอบังคับ (policies and regulations) เป น กฎระเบี ย บ ข อ บั ง คั บ ของสั ง คมที่ ส ง ผลต อ การแพร ก ระจาย และการใช AECT เ ท ค โ น โ ล ยี - การศึกษา
  • 9. แนวคิดของสมาคมสือสารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา ่ (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) • Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน 5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดังนี้ 4.1 การจัดการโครงการ (project management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม การออกแบบ และพัฒนาโครงการสอน 4.2 การจัดการแหลงทรัพยากร (resource management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม แหลงทรัพยากร ที่ชวยระบบและการบริการ 4.3 การจัดการระบบสงถาย (delivery system management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม วิธีการซึ่งแพรกระจายสื่อการสอนในองคการ รวมถึงสื่อ และวิธีการใชที่จะนําเสนอสารไปยัง ผูเรียน 4.4 การจัดการสารสนเทศ (information management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม การ เก็บ การสงถาย หรือกระบวนการของขอมูลสารเพื่อสนับสนุนแหลงทรัพยากรการเรียน AECT
  • 10. แนวคิดของสมาคมสือสารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา ่ (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) • Seels and Richey ศึกษาและแบงไวเปน 5 ขอบขายหลัก 20 ขอบขายยอย ดังนี้ 5.1 การวิเคราะหปญหา (problem analysis) เปนการทําใหปญหาสิ้นสุด โดยการใช ขอมูลตางๆ และวิธีการที่จะชวยตัดสินใจ 5.2 เกณฑการประเมิน (criterion – reference measurement) เทคนิคการ ใช เ กณฑ เ พื่ อ การประเมิ น การสอน หรื อ ประเมิ น โครงการเทคโนโลยี แ ละสื่ อ สาร AECT การศึกษา 5.3 การประเมินความกาวหนา (formative evaluation) มีการใชขอมูลอยางเหมาะสม จากการประเมินความกาวหนาเพื่อเปนฐานในการพัฒนาตอไป 5.4 การประเมินผลสรุป (summative evaluation) มีการใชขอมูลอยางเหมาะสมที่จะ ตัดสินใจกับการดําเนินงานโปรแกรม หรือโครงการ
  • 12. งานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ • การพัฒนามาตรฐานงานเทคโนโลยีการศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา (ผศ.ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ม.ศิลปากร) • การพัฒนามาตรฐานแหงชาติทางเทคโนโลยี การศึกษาสําหรับสถาบันผลิตบัณฑิตทาง การศึกษา (วสันต อติศพท และคณะ) ั
  • 13. งานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ • การพัฒนามาตรฐานงานเทคโนโลยีการศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา (ผศ.ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ม.ศิลปากร)
  • 14. งานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ • การพัฒนามาตรฐานงานเทคโนโลยีการศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา (ผศ.ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ม.ศิลปากร) ตัวอยาง
  • 15. งานวิจัยทีเ่ กี่ยวของ • การพัฒนามาตรฐานแหงชาติทางเทคโนโลยีการศึกษาสําหรับ สถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (วสันต อติศัพท และคณะ) บทคัดยอ การวิจัยนี้มีเปาหมายเพื่อพัฒนามาตรฐานแหงชาติทางเทคโนโลยีการศึกษาสําหรับสถาบันผลิต บัณฑิตทางการศึกษา โดยมีขั้นตอนการวิจัย 5 ขั้นตอนคือ (1) การกําหนดกรอบสําหรับการพัฒนา มาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษา (2) การพัฒนารางมาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษา (3) การศึกษาความคิดเห็นผูบริหารสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (4) การวิพากษมาตรฐานทาง เทคโนโลยีการศึกษา และ (5) การรับรองมาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษาโดยสภาคณบดีคณะครุ ศาสตร ศึ ก ษาศาสตร แ ห ง ประเทศไทย ผลการวิ จั ย ได เ สนอมาตรฐานแห ง ชาติ ท างเทคโนโลยี การศึกษาสําหรับสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา 9 มาตรฐาน 34 ตัวบงชี้ คือ (1) มาตรฐานดาน ภาวะผูนําทางเทคโนโลยีการศึกษาของสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (2) มาตรฐานดาน โครงสรางของหลักสูตรการผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (3) มาตรฐานดานโครงสรางพื้นฐานทาง เทคโนโลยีก ารศึกษา (4) มาตรฐานดานเทคโนโลยีรว มสมัยสนับสนุนการเรียนการสอน (5) มาตรฐานดานบุคลากรทางเทคโนโลยีการศึกษา (6) มาตรฐานดานสมรรถนะทางเทคโนโลยี การศึกษาของอาจารย (7) มาตรฐานดานรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เอื้อและสงเสริมการ พัฒนาสมรรถนะทางการใชเทคโนโลยีการศึกษาแกนิสิต นักศึกษาครู (8) มาตรฐานดานการฝก ประสบการณวิชาชีพ และ(9) มาตรฐานดานสมรรถนะทางเทคโนโลยีการศึกษาของบัณฑิตทาง การศึ ก ษา คณะผู วิ จั ย จะนํ า เสนอผลการวิ จั ย แก คุ รุ ส ภา และสํ า นั ก มาตรฐานและประกั น คุ ณ ภาพ การศึ ก ษาเพื่ อ พิ จ ารณาเป น กรอบในการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของสถาบั น ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ทาง การศึกษาตอไป
  • 16. จากแนวคิด สู ...การวิจัย .....ท า น ผู ส น ใ จ ศึ ก ษ า ป ร ะ เ ด็ น ก า ร ทํ า Dissertation (ป.โท เรี ย ก Thesis) ด า น เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ สื่ อ ส า ร ก า ร ศึ ก ษ า ควรศึกษาขอบขายที่เกี่ยวของ เชน Textbook ของ AECT โดย DAVID H. JONASSEN ชื่อ Handbook of Research on Educational Communications and Technology : A Project of the Association for Educational Communications and Technology มี ก รอบการพิ จ ารณา 7 ด า น 42 หั ว ข อ ย อ ย ( คลิกที่ http://thailearn4change.ning.com )