SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 44
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
56เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
57เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
คานา
หนังสือคู่มือสอบครูผู้ช่วย 2557 ตามแบบฉบับติวอินดี้ ง่ายโคตร/Facebook ฉีกกฎการอ่าน
หนังสือสอบ 57 เล่มนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นการแบ่งปันเคล็ดลับการจาแบบกวนๆไม่มีใครเหมือนและไม่
เหมือนใครแต่นาไปใช้ได้ผลดีเป็นที่สุด ในกลุ่มของพวกเราชาว ติวอินดี้ ง่ายโคตร/Facebook เท่านั้น
หากหนังสือเล่มนี้ ผิดพลาดประการใด ครูอินดี้ กราบขออภัยจากใจจริงครับ และหากมีปัญหา ข้อ
สงสัย เหมือนเดิมครับ ติวอินดี้ ง่ายโคตร facebook ช่องทางนี้ดีที่สุดครับผม
ติวอินดี้ ง่ายโคตร facebook
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
58เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
สารบัญ
หน้า
หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร 1
จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว 56
หลักการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 96
การพัฒนาผู้เรียน 115
การบริหารจัดการชั้นเรียน 131
สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 143
การวิจัยทางการศึกษา 156
การวัดผลและประเมินผลการศึกษา 176
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
59เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
คาศัพท์ที่ออกข้อสอบบ่อยๆ
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
1 จิตวิทยา ตรงกับคาในภาษาอังกฤษ ว่า Psychology
2 Psychology
มาจากรากศัพท์ภาษากรีก 2 คา
-Psyche + Logos
3 Psyche หมายถึง - วิญญาณ (Soul)
4 Logos หมายถึง - วิทยาการหรือการศึกษา
5 Psychology
ความหมายดั้งเดิม หมายถึง
- การศึกษาเกี่ยวกับจิตหรือวิญญาณ
( Study of mind หรือ Study of soul )
6 Psychology
ปัจจุบัน หมายถึง
- การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม(Behavior)
ของมนุษย์ (Psychology is the science of behavior)
7 พฤติกรรม ตรงกับคาในภาษาอังกฤษ คือ - Behavior
8 พฤติกรรม (Behavior )
หมายถึง
- กริยาอาการที่แสดงออกหรือปฏิกิริยาโต้ตอบเมื่อเผชิญ
กับสิ่งเร้า (Stimulus) หรือสถานการณ์ต่าง ๆ
- อาการแสดงออก เช่น การเดิน การพูด การเขียน การ
คิด การเต้นของหัวใจ เป็นต้น
- ส่วนสิ่งเร้าที่มากระทบแล้วก่อให้เกิดพฤติกรรมก็อาจจะ
เป็นสิ่งเร้าภายใน และสิ่งเร้าภายนอก
9 สิ่งเร้า (Stimulus )หมายถึง - คือ สัญญาณหรือการเปลี่ยนแปลงซึ่งมีผลต่อ
กิจกรรมของสิ่งมีชีวิต
10 สิ่งเร้า (Stimulus ) แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ - สิ่งเร้าภายใน (Internal Stimulus)
- สิ่งเร้าภายนอก(External Stimulus)
11 สิ่งเร้าภายใน (Internal Stimulus) ได้แก่ - ฮอร์โมน เอนไซม์ ความหิว ความเครียด ความ
ต้องการทางเพศ เป็นต้น
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
60เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
12 สิ่งเร้าภายนอก(External Stimulus)
ได้แก่
- แสง เสียง อุณหภูมิ อาหาร น้า การสัมผัส
สารเคมี เป็นต้น
13 พฤติกรม (Behavior) แบ่งกี่ประเภท - 2 ประเภท
14 พฤติกรม(Behavior)
มี 2 ประเภทคือ
1. พฤติกรรมภายใน (Invert Behaviors)
2. พฤติกรรมภายนอก(Overt Behaviors)
15 พฤติกรรมภายใน (InvertBehaviors)
หมายถึง
- ความคิด ความรู้สึก จินตนาการ อื่นๆ
- ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า
- ไม่สามารถสังเกตได้ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
16 พฤติกรรมภายนอก (Overt Behaviors)
หมายถึง
- การกระทาหรือการแสดงออกด้านกิริยาท่าทางต่างๆ
ของมนุษย์ เช่น การเดิน การพูด การเล่น การแสดงสี
หน้า และกิจกรรมอื่นๆ
- พฤติกรรมหรือการกระทาที่ปรากฏออกมาให้
สังเกตเห็นได้ รับรู้ได้ ใช้เครื่องมือตรวจสอบได้
17 พฤติกรรมภายนอก (Overt Behaviors)
แบ่งออกเป็น
- 2 ประเภท
18 พฤติกรรมภายนอก (Overt Behaviors)
แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
1) แบบโมลาร์ (molar)
2) แบบโมเลคิวลาร์ (molecular)
19 แบบโมลาร์ (molar) - เป็นพฤติกรรมภายนอก
- ที่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า
- เช่น การยืน การเดิน การนั่ง การนอน ฯลฯ
20 แบบโมเลคิวลาร์ (molecular) - เป็นพฤติกรรมภายนอกที่จะรับรู้ได้
- โดยอาศัยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ตรวจสอบ เช่น
ความดันเลือด คลื่นสมอง คลื่นหัวใจ การเต้นชีพจร
เป็นต้น
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
61เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
แนวคิดนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
แนวคิดนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ
1. กลุ่มโครงสร้างแห่งจิต (Structuralism)
2. กลุ่มหน้าที่ของจิต (Functionalism)
3. กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis)
4. กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
5. กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism)
6. กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology))
ที่ แนวคิดนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ นักจิตวิทยาที่สาคัญ
1 กลุ่มโครงสร้างทางจิต
(Structuralism)
- วุ้นด์ (Wilhelm max Wundt)
- ทิชเชนเนอร์ (Titchener)
- เฟชเนอร์ ( Fechner)
2 กลุ่มหน้าที่ของจิต
(Functionalism)
- จอน์ ดิวอี้ (John Dewey)
- วิลเลียม เจมส์ (Williaam James)
- วู้ดเวิร์ธ ( R.S.wOODWORTH)
3 กลุ่มจิตวิเคราะห์
(Psychoanalysis)
- ฟรอยด์ (Sigmund Freud)
- แอดเลอร์ (Alfred Adler)
- จุง (Carl G.Jung)
4 กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism)
- วัตสัน (John B.Watson)
- พาฟลอฟ (Ivan P.Pavlov)
- ธอร์นไดค์ (Edward L.Thorndike)
- ฮัล (Clark L.Hull)
-
5 กลุ่มมนุษยนิยม
(Humanism)
- คาร์ล โรเจอร์ (Carl R.Rogers)
- มาสโลว์ (Abrahaham H. Maslow)
6 กลุ่มเกสตัลท์
(Gestalt Psychology)
- เวอร์ไธเมอร์ (Max Wertheimer)
- คอฟกา (Kurt Kofga)
- เลอวิน (Kurt Lewin)
- โคเลอร์ (Wolfgang Kohler)
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
1เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
-
-
นักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ
กลุ่มโครงสร้างทางจิต
(Structuralism)
กลุ่มหน้าที่ของจิต
(Functionalism)
กลุ่มจิตวิเคราะห์
(Psychoanalysis)
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism)
กลุ่มมนุษยนิยม
(Humanism)
กลุ่มเกสตัลท์
(Gestalt Psychology)
- วุ้นด์ (Wilhelm max Wundt)
- ทิชเชนเนอร์ (Titchener)
- เฟชเนอร์ ( Fechner)
จอน์ ดิวอี้ (John Dewey)
วิลเลียม เจมส์ (Williaam
James)
วู้ดเวิร์ธ ( R.S.wOODWORTH)
- ฟรอยด์ (Sigmund
Freud)
- แอดเลอร์ (Alfred
Adler)
- จุง (Carl G.Jung)
- วัตสัน (John
B.Watson)
- พาฟลอฟ (Ivan
P.Pavlov)
- ธอร์นไดค์
(Edward L.Thorndike)
- ฮัล (Clark L.Hull)
- คาร์ล โรเจอร์ (Carl
R.Rogers)
- มาสโลว์
(Abrahaham H.
Maslow)
เวอร์ไธเมอร์ (Max
Wertheimer)
- คอฟกา (Kurt Kofga)
- โคเลอร์ (Wolfgang Kohler
- เลอวิน (Kurt Lewin))
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
60เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
กลุ่มโครงสร้างทางจิต
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
21 กลุ่มโครงสร้างทางจิต
ตรงกับภาษาอังกฤษ ว่า
(Structuralism)
22 ผู้ก่อตั้ง คือ - วิลเฮล์ม วุนต์ (Wilhelm Woundt)
วิลเฮล์ม วุนต์
(Wilhelm Woundt)
- บิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง
23 กลุ่มโครงสร้างของจิตเชื่อว่า - โครงสร้างของจิตประกอบด้วยจิตธาตุ
(Mental Elements)
24 จิตธาตุ ประกอบด้วย - ธาตุ 3 ชนิด
25 ธาตุ 3 ชนิด มีอะไรบ้าง 1. การรับสัมผัส (Sensation)
2. ความรู้สึก (Feeling)
3. จินตนาการหรือมโนภาพ (Image)
26 1. การสัมผัส (Sensation) คือการทางานของอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่
หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง
โดยการตอบ สนองต่อสิ่งเร้านั้น ๆ เช่น ตามองเห็น จมูกได้
กลิ่น ฯลฯ
27 2. การรู้สึก (Feeling) คือการตีความหรือแปลความหมายของการสัมผัส
เช่น การมองเห็นสิ่งเร้า ก็ตีความหมายว่า สวย ไม่สวย
หูได้ยินก็ตีความหมายว่า ไพเราะ เป็นต้น
28 3. มโนภาพ (Image) คือการคิดและการวิเคราะห์
ตลอดจนการจดจาประสบการณ์ต่างๆ
ที่ได้รับจากการสัมผัสและ รู้สึก
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
61เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
กลุ่มหน้าที่ของจิต
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
21 กลุ่มหน้าที่ทางจิต ตรงกับภาษาอังกฤษว่า (Functionalism)
22 ผู้ก่อตั้ง คือ - จอน์ ดิวอี้ (John Dewey)
- วิลเลียม เจมส์ (Williaam James)
จอน์ ดิวอี้ (John Dewey)
มีความเชื่อว่า
- การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากการกระทา
(Learning by doing)
ประสบการณ์เป็นสิ่งสาคัญในการปรับตัวของมนุษย์
23 วิลเลียม เจมส์ (Williaam James) - สัญชาตญาณเป็นส่วนที่ทาให้เราปรับตัวเข้ากับ
สิ่งแวดล้อม
24 แนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการศึกษา วิธีการ
เรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์
มากที่สุด
- วิธีการเรียนการสอนแบบแก้ปัญหา
25 แนวคิดกลุ่มนี้สรุปได้ว่า จิตมีหน้าที่ควบคุมกระบวนการทุกอย่างในร่างกายทาให้
ปรับเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
62เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
กลุ่มกลุ่มจิตวิเคราะห์
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
26 กลุ่มจิตวิเคราะห์ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า - Psychoanalysis
27 ผู้ก่อตั้ง คือ - ฟรอยด์ (Sigmund Freud)
28 นักจิตวิทยาที่สาคัญในกลุ่มนี้ คือ - ฟรอยด์ (Sigmund Freud)
- แอดเลอร์ (Alfred Adler)
- จุง (Carl G.Jung)
29 แนวคิดสาคัญในกลุ่มนี้ เชื่อว่า - พฤติกรรมส่วนใหญ่ของมนุษย์ มีแรงจูงใจมาจากจิตไร้
สานึก
- เกิดจากแรงขับทางเพศ
30 ผู้นาคนสาคัญ คือ - ฟรอยด์ (Sigmund Freud)
31 (Sigmund Freud)
แบ่งลักษณะจิตเป็น กี่ส่วน
- 3 ส่วน
32 (Sigmund Freud)
แบ่งจิตเป็น 3 ส่วน อะไรบ้าง
1. จิตสานึก (Conscious) แสดงความรู้ตังตลอดเวลา
2. จิตใต้สานึก (Subconscious) รู้ตัวตลอดเวลาแต่
ไม่แสดงออกในขณะนั้น
3. จิตไร้สานึก (Unconscious)
33 ฟรอยด์เน้นความสาคัญเรื่อง จิตใต้สานึก (Subconsious)
34 จิตใต้สานึก Subconsious
แยกเป็น กี่ลักษณะ
3 ลักษณะ
35 จิตใต้สานึก Subconsious มี 3 ลักษณะ
อะไรบ้าง
1. Id
2. Superego
3. ego
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
63เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
36 (Id) - ส่วนที่ยังไม่ได้ขัดเลา
- จะทาอย่างเดียวไม่สนเหตุผล ถูกผิด
- ทาเพื่อตอบสนองความรู้สึกพึงพอใจตัวเอง
37 (Superego) - ส่วนที่ได้มาจากการเรียนรู้เป็นส่วนที่คิดถึงผิดชอบชั่วดี
- คิดถึงคนอื่นก่อนตัดสินใจอะไรลงไป
- จะทาอะไรตามความเป็นจริง มีความสมเหตุสมผล
38 (ego) - ส่วนที่เป็นตัวตัดสินใจโดยคานึงถึงสภาพความเป็นจริงใน
สภาพการณ์นั้น ๆ
- ทาความประนีประนอมระหว่างส่วนที่ยึดความสุขส่วนตัว
กับส่วนที่รู้จักผิดชอบชั่วดี
- จะทาอะไร ต้องอยู่ภายใต้ประสบกาณ์ที่ถูกอบรมสั่ง
สอนมา ทาอะไรต้องรู้จักผิด ถูก มีศิลธรรม
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
64เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
39 กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ตรงกับภาษาอังกฤษว่า
- Behavior
40 นักจิตวิทยาที่สาคัญในกลุ่มนี้ คือ - วัตสัน (John B.Watson)
- พาฟลอฟ (Ivan P.Pavlov)
- ธอร์นไดค์ (Edward L.Thorndike)
- ฮัล (Clark L.Hull)
- โทลแมน (Edward C.Tolman)
41 ผู้นาคนสาคัญ คือ - วัตสัน (John B.Watson)
- พาฟลอฟ (Ivan P.Pavlov)
42 นักจิตวิทยากลุ่มนี้ เชื่อว่า - พฤติกรรมทุกอย่างต้องมีสาเหตุ สาเหตุมาจาก
สิ่งเร้า (Stimulus)
- จะมีพฤติกรรมแสดงออกมา เรียกว่า
การตอบสนอง(Respones)
43 วัตสัน (John B.Watson) - การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
- หนูสีขาว + เด็กชายชื่อ อัลเบิร์ต (Albert)
44 - พาฟลอฟ (Ivan P.Pavlov) - ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
- (Classical Conditioning)
- ทดลองกับสุนัข + กระดิ่ง
45 ธอร์นไดค์ (Edward L.Thorndike)
- การลองผิดลองถูก ( Trial and Error )
- ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theory)
- ทดลองกับ แมว + แตะคานเปิดกรง
ธอร์นไดค์ได้เสนอกฎการเรียนรู้ 3 กฎ ได้แก่
1 กฎแห่งการฝึกหัดหรือการกระทาซ้า (The Law of Exercise or Repetition)
2 กฎแห่งผล (The Law of Effect) คือรางวัลหรือความสมหวัง จะช่วยส่งเสริมการแสดงพฤติกรรม
นั้น มากขึ้น แต่การทาโทษหรือความผิดหวังจะลดอาการแสดงพฤติกรรมนั้นลง
3 กฎแห่งความพร้อม (The Law of Readiness) ความพร้อมของร่างกาย ในอันที่จะแสดง
พฤติกรรมใด ๆ ออกมา
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
65เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
กลุ่มมนุษย์นิยม (Humanism)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
46 กลุ่มมนุษย์นิยม ตรงกับภาษาอังกฤษว่า (Humanism)
47 นักจิตวิทยาที่สาคัญในกลุ่มนี้ คือ - คาร์ล โรเจอร์ (Carl R.Rogers)
- มาสโลว์ (Abrahaham H. Maslow)
48 ผู้นาคนสาคัญ คือ - มาสโลว์ (Abrahaham H. Maslow)
49 ทฤษฏีของ Maslow จะอยู่บนพื้นฐาน
ของสมมติฐาน กี่ข้อ
3 ข้อ
50 ทฤษฏีของ Maslow จะอยู่บนพื้นฐาน
ของสมมติฐาน 3 ข้อ คือ
1. มนุษย์มีความต้องการอยู่เสมอและไม่มีที่สิ้นสุด
2. ความต้องการของบุคคลจะถูกเรียงลาดับตาม
ความสาคัญ หรือเป็นลาดับขั้นความต้องการพื้นฐาน
3. ความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้ว จะไม่เป็น
สิ่งจูงใจของพฤติกรรมนั้นๆ ต่อไป
51 มาสโลว์ (Abrahaham H. Maslow)
เสนอทฤษฎี ที่สาคัญคือ
ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
52 ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการพื้นฐานของ
มนุษย์ มีกี่ขั้น
5 ขั้น
53 ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการพื้นฐานของ
มนุษย์ 5 ขั้น มีอะไรบ้าง
1 ความต้องการทางร่างกาย (Physiological Needs)
2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs)
3 ความต้องการทางสังคม (Social Needs)
4 ความต้องการเกียรติยศชื่อเสียง (Esteem Needs)
5 ความต้องการเติมความสมบูรณ์ให้ชีวิต (Self-
actualization Needs)
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
66เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
54
สูตร ติวอินดี้ ง่ายโคตรๆๆ
ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ มีอะไรบ้าง
ท่องว่า กอ สอ / กอ ชอ
1 ความต้องการทางร่างกาย (Physiological Needs) ก
2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) ( ภ )
3 ความต้องการทางสังคม (Social Needs) ส
4 ความต้องการเกียรติยศชื่อเสียง (Esteem Needs) ก
5 ความต้องการเติมความสมบูรณ์ให้ชีวิต (Self-actualization Needs) ช
หมายเหตุ..... ภ ( ภอ สาเภา) เขียนเหมือน ก ( กอไก่) แค่ เพิ่ม หัว มาเป็น ภ เฉยๆ)
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
67เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
กลุ่มเกสตัลท์
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
55 กลุ่มเกสตัลท์ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า (Gestalt Psychology)
56 นักจิตวิทยาที่สาคัญในกลุ่มนี้ คือ - เวอร์ไธเมอร์ (Max Wertheimer)
- โคเลอร์ (Wolfgang Kohler)
- คอฟกา (Kurt Kofga)
- เลอวิน (Kurt Lewin)
57 นักจิตวิทยาในกลุ่มกลุ่มเกสตัลท์
มีความเชื่อว่า
- การเรียนรู้เกิดจากส่วนรวม ไปหา ส่วนย่อย
- การเรียนรู้ คือ การแก้ปัญหา
- การเรียนรู้เกิดจากการ 2 ลักษณะ
การรับรู้ (Perception)
หยั่งเห็น (Insight)
58 เวอร์ไธเมอร์ (Max Wertheimer)
คอฟกา (Kurt Kofga)
 กฎแห่งความคล้ายคลึง (The Law of Similarity)“
สิ่งเร้าใด ๆ ก็ตาม ที่มีรูปร่าง ขนาด หรือสี ที่
คล้ายกัน คนเราจะรับรู้ว่า เป็นสิ่งเดียวกัน หรือพวก
เดียวกัน ”
 กฎแห่งความใกล้ชิด (The Law of Proximity)“
สิ่งเร้าใดๆ ที่อยู่ใกล้ชิดกัน มนุษย์มีแนวโน้มที่จะรับรู้
สิ่งต่างๆ ที่อยู่ใกล้ชิดกันเป็นพวกเดียวกัน หมวดหมู่
เดียวกัน ”
 กฎแห่งความสมบูรณ์ (The Law of Closure)“
สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียนสามารถรับรู้ให้เป็นภาพ
สมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม”
 กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Continuity)
“สิ่งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้
ว่าเป็นพวกเดียวกัน”
59 - โคเลอร์ (Wolfgang Kohler) การหยั่งเห็น(Insight)
ทดลอง ลิงชิมแพนซี + ไม้สอยกล้วยที่แขวนอยู่
60 - เลอวิน (Kurt Lewin)
จาไว้ว่า.......
( สนาม ฝนตก นาท่วน จน เลอ... เลอ
วิน))
- ทฤษฎีสนาม (Field Theory)
การเรียนรู้เกิดจากการสร้างแรงขับ ชักนาพฤติกรรม
การเรียนรู้ไปจุดหมายปลายทาง (goal) เพื่อ
ตอบสนองแรงขับที่เกิดขึ้น
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
68เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
จิตวิทยาการเรียนรู้
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
61 การเรียนรู้ คือ - การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมเป็นพฤติกรรมใหม่ที่
ค่อนข้างถาวร
- อันเป็นผลมาจากประสบการณ์
62 จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ บลูม และคณะ (Bloom and Others ) มุ่งพัฒนา
ผู้เรียนใน ๓ ด้าน ดังนี้
๑. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain
๒. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain )
๓. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
63 ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain - ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทางสมอง
ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท
- ความจา
- ความเข้าใจ
- การนาไปใช้
- การวิเคราะห์
- การสังเคราะห์
- และประเมินผล
ภ
ฉ
ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) - ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก
ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท
- ความรู้สึก
- ความสนใจ
- ทัศนคติ
- การประเมินค่า
- และค่านิยม
64 ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถด้านการปฏิบัติ
ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท
- การเคลื่อนไหว
- การกระทา
- การปฏิบัติงาน
- การมีทักษะ
- และความชานาญ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
69เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
65 องค์ประกอบที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้
ประกอบด้วย
1. วุฒิภาวะ (Maturity)
2. ความพร้อม (Readiness)
3. แรงจูงใจ (Motivation)
4. การเสริมแรง (Reinforcement)
5. การถ่ายโยงการเรียนรู้ (Transfer of Learning)
66 วุฒิภาวะ (Maturity) หมายถึง - ลาดับขั้นของความเจริญงอกงาม หรือพัฒนาการของ
บุคคลที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
- โดยไม่ต้องอาศัยสิ่งเร้า หรือการฝึกฝนใดๆ วุฒิภาวะ
ของแต่ละบุคคลจะพัฒนาไปตามลาดับวัย ทั้งทางร่างกาย
สติปัญญา อารมณ์ และสังคม
- เป็นภาวะของการบรรลุถึงขั้นสุดยอดของการ
เจริญเติบโตเต็มที่ในระยะใดระยะหนึ่ง
- และพร้อมที่จะประกอบ กิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งได้
เหมาะสมกับวัย
67 ความพร้อม (Readiness) หมายถึง - สภาวะที่จะเรียนรู้อย่างบังเกิดผล
- ความพร้อมขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ ทั้งด้านร่างกาย
จิตใจ สังคม อารมณ์
68 แรงจูงใจ (Motivation) หมายถึง - เป็นกระบวนการที่บุคคลถูก กระตุ้นจากสิ่งเร้า
- โดยจงใจ ให้กระทาหรือดิ้นรนเพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์บางอย่าง
69 การเสริมแรง (Reinforcement) - เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับ
ปฏิกิริยาตอบสนอง
- ให้แสดงพฤตินั้นบ่อยขึ้น
70 การถ่ายโยงการเรียนรู้
(Transfer of Learning)
- การเรียนรู้สิ่งใหม่ โดยอาศัยประสบการณ์เดิมเป็น
พื้นฐาน
- จะช่วยให้การเรียนรู้สิ่งใหม่นั้นดีขึ้น
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
70เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
อิวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
71 อิวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov)
ทดลองกับสัตว์ชนิดใด
สุนัข ( กระดิ่ง น้าลายไหล)
72 Ivan Pavlov
ทฤษฎีของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
(Classical Conditioning Theories)
73 การทดลอง คือ - สุนัขหลั่งน้าลายเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง
- โดย สุนัข เกิดการเชื่อมโยงสิ่งเร้า 2 สิ่ง
คือ เสียงกระดิ่ง
ผงเนื้อ
-จนเกิดการตอบสนองโดยน้าลายไหล เมื่อได้ยิน
เสียงกระดิ่ง
74 ก่อนวางเงือนไข
75 ขณะวางเงื่อนไข
76 หลังจากวางเงื่อนไข
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
71เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
77
78 ทาความเข้าใจกับคาศัพท์การทดลอง
UCS = สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข (Unconditioned Stimulus)
เป็นสิ่งเร้าที่ทาให้เกิดกิริยาสะท้อนหนึ่งๆอย่างอัตโนมัติ เช่น ผงเนื้อ (ทาให้น้าลายไหล)
UCR = (Unconditioned Response)
เป็นการตอบสนองต่อ UCS อย่างอัตโนมัติ เช่นการหลั่งน้าลาย (เมื่อถูกกระตุ้นด้วยผงเนื้อ)
CS = สิ่งเร้าเงื่อนไข (Conditioned Stimulus) เป็นสิ่งเร้าเป็นกลางที่นามาคู่กับ UCS ( กระดิ่ง)
CR = การตอบสนองตามเงื่อนไข (Conditioned Response) เป็นการตอบสนองต่อ CS (น้าลายไหล)
79 ผลจากการทดลอง Pavlov สรุปหลักเกณฑ์ของการเรียนรู้ได้ 4 ประการ คือ
1. การดับสูญหรือการลดภาวะ (Extinction)
เมื่อให้ CR นานๆ โดยไม่ให้ UCS เลย การตอบสนองที่มีเงื่อนไข (CR) จะค่อยๆ ลดลงและหมดไป
2. การฟื้นกลับหรือการคืนสภาพ ( Spontaneous Recovery )
เมื่อเกิดการดับสูญของการตอบสนอง (Extinction) แล้วเว้นระยะการวางเงื่อนไขไปสักระยะหนึ่ง
เมื่อให้ CS จะเกิด CR โดยอัตโนมัติ
3. การแผ่ขยาย หรือ การสรุปความ (Generalization)
หลังจากเกิดการตอบสนองที่มีเงื่อนไข ( CR ) แล้ว เมื่อให้สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) ที่คล้ายคลึงกัน
จะเกิดการตอบสนองแบบเดียวกัน
4. การจาแนกความแตกต่าง (Discrimination)
เมื่อให้สิ่งเร้าใหม่ที่แตกต่างจากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข จะมีการจาแนกความแตกต่างของสิ่งเร้า และมี
การตอบสนองที่แตกต่างกันด้วย
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
72เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
จอห์น บี วัตสัน (John B. Watson)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
80 John B. Watson ทดลองกับอะไร หนูขาว
เด็กชายอัลเบิร์ต
81 John B. Watson
ทดลองโดยเป็นการวางเงือนไขแบบใด
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
(Classical Conditioning Theories)
82 การทดลอง คือ - หนูขาว
- เด็กชายอัลเบิร์ต (Albert) ไม่กลัว
- แต่ขณะที่หนูน้อยยื่นมือไปจับเสียงแผ่นเหล็กก็ดัง
- ทาให้เด็กชายอัลเบิร์ต (Albert) กลัว
- ทาคู่กันเช่นนี้เพียงเจ็ดครั้ง
- ปรากฏว่าตอนหลังหนูน้อยเห็นแต่เพียงหนูขาวก็
แสดงความกลัวทันที
83
ทาความเข้าใจกับคาศัพท์การทดลอง
UCS = สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข (Unconditioned Stimulus)
เป็นสิ่งเร้าที่ทาให้เกิดกิริยาสะท้อนหนึ่งๆอย่างอัตโนมัติ เช่น หนูขาว (อัลเบิร์ตไม่กลัว กล้าจับต้อง)
UCR = (Unconditioned Response)
เป็นการตอบสนองต่อ UCS อย่างอัตโนมัติ เช่น อัลเบิร์ตไม่กล้ว (เมื่อถูกกระตุ้นหนูขาว)
CS = สิ่งเร้าเงื่อนไข (Conditioned Stimulus) เป็นสิ่งเร้าเป็นกลางที่นามาคู่กับ UCS ( เสียงดัง)
CR = การตอบสนองตามเงื่อนไข (Conditioned Response) เป็นการตอบสนองต่อ CS ( กลัว)
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
73เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
84 ขั้นตอนการทดลอง
ก่อนวางเงื่อนไข
หนูขาว(UCS) -------------- อัลเบิร์ตกล้าจับต้อง ไม่กลัว (UCR)
เสียงดัง (UCS) -------------- กลัว (UCR)
ระหว่างวางเงื่อนไข
หนูขาว(UCS) + เสียงดัง(CS) -------------- กลัว (UCR)
หลังการวางเงื่อนไข
หนูขาว (CS) -------------- กลัว (CR) ( เห็นแค่หนูขาว ก็กลัวแล้ว)
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
74เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์ (Edward Lee Thomdike)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
85 เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์
ทดลองกับอะไร
แมว
กรงปริศนา กดคานเปิดประตู
86 (Edward Lee Thomdike)
ทฤษฏีของธอร์นไดค์ เรียกว่า
- ทฤษฏีการเชื่อมโยง (Connetionism Theory)
87 การเชื่องโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
โดยการลองถูกลองผิด คือ
- การลองถูกลองผิด (Trialand error)
88 การทดลอง คือ
- จับแมวใส่กรง แมวจะแสดงพฤติกรรมเดาสุ่มเพื่อจะออกมาจากกรงมากินอาหารให้ได้
- ความสาเร็จในครั้งแรก เกิดขึ้นโดยบังเอิญ โดยที่เท้าของแมวบังเอิญไปแตะเข้าที่คานทาให้ประตู
เปิดออก แมวจะวิ่งออกไปทางประตูเพื่อกินอาหาร
- พบว่ายิ่งทดลองซ้ามากเท่าใดพฤติกรรมเดาสุ่มของแมวจะลดลง จนในที่สุดแมวเกิดการเรียนรู้
ความสัมพันธ์ระหว่างคานกับประตูกรงได้
- หลังจากการทดลองครบ 100 ครั้ง ทิ้งระยะเวลานานประมาณ 1 สัปดาห์ แล้วทดสอบ โดยจับ
แมวตัวนั้นมาทาให้หิวแล้วจับใส่กรงปริศนาใหม่ แมวจะใช้อุ้งเท้ากดคานออกมากินอาหารทางประตู
ที่เปิดออกได้ทันที
89 กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดน์ มีอะไรบ้าง 1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law o f Exercise)
3. กฎแห่งความพอใจ (Law of Effect)
90 กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
หมายถึง
สภาพความพร้อมหรือวุฒิภาวะของผู้เรียนทั้งทางร่างกาย
อวัยวะต่างๆ ในการเรียนรู้และจิตใจ รวมทั้งพื้นฐานและ
ประสบการณ์เดิม
91 กฎแห่งการฝึกหัด(Law o f Exercise)
หมายถึง
- การที่ผู้เรียนได้ฝึกหัดหรือกระทาซ้าๆบ่อยๆ ย่อมจะ
ทาให้เกิดความสมบูรณ์ถูกต้อง
92 กฎแห่งความพอใจ(Law of Effect)
หมายความว่า
เมื่ออินทรีย์ได้รับความพอใจ จะทาให้หรือสิ่งเชื่อมโยงแข็ง
มั่นคง ได้รับความพอใจจากผลการทากิจกรรม ก็จะเกิด
ผลดีกับการเรียนรู้ทาให้อินทรีย์อยากเรียนรุ้เพิ่มมากขึ้นอีก
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
75เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
สกินเนอร์( B.F. Skinner )
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
93 สกินเนอร์( B.F. Skinner )
ทดลองกับอะไร
หนู
กล่องสกินเนอร์
94 ( B.F. Skinner )
ทฤษฏี( B.F. Skinner ) คือ
- ทฤษฎีการวางเขื่อนไขแบบการกระทา
(Operant Conditioning Theory)
95 ผลงานของสกินเนอร์ ที่ได้รับการยอมรับ - บทเรียนสาเร็จรูป หรือการสอนแบบโปรแกรม
(Program Instruction or Program Learning)
- และเครื่องมือช่วยในการสอน
(Teaching Machine)
96 การทดลอง คือ
ขั้นที่ 1 เตรียมการทดลอง
ทาให้หนูหิวมาก ๆ เพื่อสร้างแรงขับ (Drive) ทาให้เกิดขึ้น ซึ่งจะเป็นแนวทางที่จะผลักดันให้แสดง
พฤติกรรมการเรียนรู้ได้เร็วขึ้น
ขั้นที่ 2 ขั้นการทดลอง
เมื่อหนูหิวมาก ๆ สกินเนอร์ปล่อยหนูเข้าไปในกล่องสกินเนอร์ หนูจะวิ่งเปะปะและแสดงอาการ
ต่าง ๆ เช่น การวิ่งไปรอบ ๆ กล่อง การกัดแทะสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในกล่องซึ่งหนูอาจจะไปแตะลงบนคานที่มี
อาหารซ่อนไว้ หนูก็จะได้อาหารกินจนอิ่มและสกินเนอร์สังเกตเห็นว่า ทุกครั้งที่หนูหิวจะใช้เท้าหน้ากดลงไป
บนคานเสมอ
ขั้นที่ 3 ขั้นทดสอบการเรียนรู้
สกินเนอร์จะจับหนูเข้าไปในกล่องอีก หนูจะกดคานทันที แสดงว่า หนูเกิดการเรียนรู้แล้วว่า การ
กดคานจะทาให้ได้กินอาหาร
97 การทดลองนี้ สรุปได้ว่า การเรียนรู้ที่ดีจะต้องมีการเสริมแรง
98 การเสริมแรง ตรงกับภาษาอังกฤษ ว่า - Reinforcement
99 การเสริมแรง (Reinforcement) หมายถึง - สิ่งเร้าที่ทาให้พฤติกรรมการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น มี
ความคงทนถาวร
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
76เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
100 การเสริมแรง (Reinforcement )
มีกี่ลักษณะ
- 2 ลักษณะ
101 การเสริมแรง (Reinforcement)
มี 2 ลักษณะ คือ
การเสริมแรงชนิดบวก (Position Reinforcement)
การเสริมแรงชนิดลบ (Negative Reinforcement)
102 การเสริมแรงชนิดบวก
(Position Reinforcement) คือ
- เป็นการให้สิ่งเสริมแรงที่บุคคลพึงพอใจ มีผลทาให้
บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น เช่น คาชมเชย รางวัล
เป็นต้น
103 การเสริมแรงชนิดลบ
(Negative Reinforcement) คือ
- เป็นการนาเอาสิ่งที่บุคคลไม่พึงพอใจออกไป มีผลทา
ให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น เช่น คาตาหนิ เสียง
ดัง เป็นต้น
104 การลงโทษ (Punishment) - การลงโทษจะให้ผลตรงกันข้ามกับการเสริมแรง
กล่าวคือ
การเสริมแรงเป็นการทาให้การตอบสนองเพิ่มมาก
ขึ้น
การลงโทษเป็นการทาให้การตอบสนองลด
น้อยลง
- การลงโทษทาโดยการให้สิ่งเร้าที่ไม่พึงประสงค์หรือ
สิ่งเร้าที่เป็นภัย ในทันทีทันใดหลังจากการแสดง
พฤติกรรมที่ไม่ดีหรือไม่ต้องการออกมา
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
77เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt ‘s Theory)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
105 กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt ‘s Theory)
ประกอบด้วย
เวอร์ไธเมอร์ (Wertheimer)
โคห์เลอร์ (Kohler)
คอฟฟ์กา (Koffka)
และเลวิน (Lewin)
106 หลักการเรียนรู้กลุ่มเกสตัส เน้น การเรียนรู้ที่ส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย
107 การเรียนรู้ที่ส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย ซึ่งจะ
เกิดขึ้นจากประสบการณ์และการเรียนรู้เกิดขึ้น
จาก 2 ลักษณะ คืออะไร
1. การรับรู้ (Perception)
2. การหยั่งเห็น (Insight)
108 การรับรู้ (Perception) เป็นการแปรความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะ
สัมผัสทั้ง 5 ส่วนคือ หู ตา จมูก ลิ้นและผิวหนัง
109 เกสตัลท์จึงจัดระเบียบการรับรู้โดยแบ่งเป็นกฎ
4 ข้อ เรียกว่า
กฎแห่งการจัดระเบียบ
110 กฎแห่งการจัดระเบียบ 4 ข้อ มีอะไรบ้าง
.1 กฎแห่งความชัดเจน (Clearness) การเรียนรู้ที่ดีต้องมีความชัดเจนและแน่นอน เพราะผู้เรียนมี
ประสบการณ์เดิมแตกต่างกัน
1.2 กฎแห่งความคล้ายคลึง (Law of Similarity) เป็นการวางหลักการรับรู้ในสิ่งที่คล้ายคลึงกันเพื่อจะ
ได้รู้ว่าสามารถจัดเข้ากลุ่มเดียวกัน
1.3 กฎแห่งความใกล้ชิด (Law of Proximity) เป็นการกล่างถึงว่าถ้าสิ่งใดหรือสถานการณ์ใดที่มีความ
ใกล้ชิดกัน ผู้เรียนมีแนวโน้มที่จะรับรู้สิ่งนั้นไว้แบบเดียวกัน
1.4 กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Continuity) สิ่งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้ว่า
เป็นพวกเดียวกัน
1.5 กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of Closer) สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียนสามารถรับรู้ให้เป็นภาพ
สมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม
111 การหยั่งเห็น (Insight) หมายถึง
การเกิดความคิดแวบขึ้นมาทันทีทันใด ในขณะที่ประสบปัญหาโดยมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหา
ตั้งแต่เริ่มแรกเป็นขั้นตอนจนสามารถแก้ปัญหาได้
เป็นการมองเห็นสถานการณ์ในแนวทางใหม่ ๆ ขึ้น โดยเกิดจากความเข้าใจและความรู้สึกที่มีต่อ
สถานการณ์ว่า ได้ยินได้ค้นพบแล้ว ผู้เรียนจะมองเห็นช่องทางการแก้ปัญหาขึ้นได้ในทันทีทันใด
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
78เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
112 โคห์เลอร์ (Wolfgang Kohler )
ทดลองกับสัตว์ชนิดใด
ลิงซิมแปนซี ชื่อ สุลตาน
กล่องไม้ 2 กล่อง
กล้วยผูกด้วยเชือกแขวนอยู่ด้านบนของกรง
113 โคห์เลอร์ เกี่ยวกับ ทฤษฎีใด การหยั่งเห็น (Insight)
114 การทดลอง คือ
1 การนาลิงใส่ไว้ในกรงที่มีกล่องไม้ 2 กล่องวางอยู่บนพื้นกรง
2 และมีกล้วยผูกด้วยเชือกแขวนอยู่ด้านบนของกรงในระยะที่ลิงไม่อาจเอื้อมถึงได้
3ลิงเอากล่อง 2 กล่องมาวางซ้อนกันแล้วปีนขึ้นไปบนกล่องไม้เอื้อมมือไปหยิบกล้วยมากินได้
115 สรุปได้ว่า การเรียนรู้เกิดจาก การหยั่งเห็น (Insight)
โดยอาศัยประสบการณ์เดิม ที่คล้ายคลึงกันมาแก้ปัญหา
ใหม่ที่ประสบ”
ทฤษฎีสนามของเลวิน (Lewin's Field Theory)
116 เลวิน (Kurt Lewin) เกี่ยวกับทฤษฎีใด ทฤษฎีสนามของเลวิน
(Lewin's Field Theory)
117 เลวิน (Kurt Lewin) มีความเชื่อว่า - พฤติกรรมมนุษย์แสดงออกมาอย่างมีพลังและ
ทิศทาง (Field of Force)
118 สิ่งที่อยู่ในความสนใจและต้องการ จะมีพลังเป็นบวก ซึ่งเขาเรียกว่า Life space
119 สิ่งใดที่อยู่นอกเหนือความสนใจ จะมีพลังเป็นลบ
120 Lewin กาหนดว่า สิ่งแวดล้อมรอบตัว
มนุษย์ จะมีกี่ ชนิด
- 2 ชนิด
121 สิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์ จะมี 2 ชนิด ตือ - สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment)
- สิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา
(Psychological environment)
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
79เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
จิตวิทยาพัฒนาการ
(development psychology)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
122 พัฒนาการ ตรงกับคาในภาษาอังกฤษ ว่า Development
123 พัฒนาการ (Development)
หมายความว่า
- การเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ทั้งในด้าน
โครงร่าง (Structure)
และแบบแผน (Pattern) ของร่างกายทุกส่วน
- อย่างมีขั้นตอนและเป็นระเบียบแบบแผน
- นับแต่เริ่มปฏิสนธิจนกระทั่งเสียชีวิต
- ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในเชิง คุณภาพ (Quality)
- เพื่อให้บุคคลนั้นพร้อมจะแสดงความสามารถในการ
กระทากิจกรรมใหม่ ๆ ที่เหมาะสมกับวัย
-
124 การเจริญเติบโต ตรงกับคาภาษาอังกฤษ ว่า (Growth)
125 การเจริญเติบโต หมายถึง - การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางร่างกายที่มีความ
เกี่ยวข้องกับ ขนาด น้าหนัก ส่วนสูง กระดูก
กล้ามเนื้อ รูปร่าง
- ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในเชิงของปริมาณ เช่น
ส่วนสูงที่เพิ่มขึ้น การปรากฏสัดส่วนวัยสาวของ
เด็กหญิง
126 ลักษณะเฉพาะของการพัฒนา มีกี่ข้อ 4 ข้อ
127 ลักษณะเฉพาะของการพัฒนา มี 4 ข้อ อะไรบ้าง ( เคยออกข้อสอบ)
1 พัฒนาการจะเกิดขึ้นในลักษณะที่ต่อเนื่อง (Continuety)
2 พัฒนาการจะเป็นไปตามแบบฉบับของตัวมันเอง (Sequence)
3 พัฒนาการจะเกิดขึ้นในอัตราส่วนที่ไม่เท่ากัน (Ratio)
4 พัฒนาการจะเกิดขึ้นเป็นทิศทางเฉพาะ (Development Direction)
128 องค์ประกอบของการพัฒนา มีอะไรบ้าง วุฒิภาวะ (Maturity)
ความเจริญเติบโตทั้งร่างกายและจิตใจ พร้อมที่จา
ทางานตามหน้าที่
การเรียนรู้(Learning)
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจาก
ประสบการณ์หรือการฝึกหัด
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
80เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ทฤษฎีพัฒนาการ
ทฤษฎีการพัฒนาการของ Freud (Psychosexual developmental stage)
129 ฟรอยด์ (Sigmund Freud)
เสนอแนวคิดทฤษฎีทางพัฒนาการไว้ว่า
- พัฒนาการความต้องการทางเพศและบุคลิกภาพของ
บุคคล
- ต้องอาศัยการพัฒนาที่ต่อเนื่องอย่างเป็นลาดับขั้นจน
กลายเป็นบุคลิกภาพที่ถาวรในที่สุด
130 ฟรอยด์ได้ให้ความสาคัญกับ ช่วง - ระยะวิกฤติ (Crisis Period)
131 ระยะวิกฤติ (Crisis Period) - ช่วงระยะแรกเกิดถึงห้าปี
132 ฟรอยด์เชื่อว่า เด็กทุกคนเกิดมาพร้อมความ
ต้องการในการแสวงหา สิ่งใด
- ความสุขและความพึงพอใจ (Pleasure Principle)
ให้กับตนเอง
133 ฟรอยด์ได้เสนอแนวคิดว่าคนเราจะมีบริเวณที่
ต้องการให้สนองตอบที่เรียกว่า
- อีโรจีเนียส (Erogenous zone)
134 ฟรอยด์ได้กาหนดบริเวณที่อีโรจีเนียส
เคลื่อนที่ไปตามอายุ ไว้
- 5 ระยะ
135 ถ้าบริเวณอีโรจีเนียสไปหยุดอยู่ตรงที่ใดแล้ว
ไม่ได้รับการสนองตอบที่พึงพอใจ
- จะเกิดการติดตรึงหรือชะงักงัน (Fixation)
136 ฟรอยด์ (Sigmund Freud)
แบ่งการพัฒนาบุคลิกภาพออกเป็น
- 5 ขั้น
137 ฟรอยด์ (Sigmund Freud)
แบ่งการพัฒนาบุคลิกภาพออกเป็น 5 ขั้น คือ
1. ขั้นปาก (Oral Stage)
2. ขั้นทวารหรือขั้นอวัยวะขับถ่าย (Anal Stage)
3. ขั้นอวัยวะเพศตอนต้น (Phallic Stage)
4. ขั้นแฝง (Latency Stage)
5. ขั้นสืบพันธุ์ (Genital Stage)
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
81เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ฟรอยด์ (Sigmund Freud) แบ่งการพัฒนาบุคลิกภาพออกเป็น 5 ขั้น คือ
ระยะ อายุ ความต้องการ
1. ขั้นปาก
(Oral Stage)
อายุระหว่าง 0-18
เดือน
เป็นขั้นปากเพราะความพึงพอใจอยู่ที่ช่องปาก เป็น
วัยที่ความพึงพอใจ เกิดจากการดูดนมแม่ นมขวด
และดูดนิ้ว
2. ขั้นทวารหรือขั้นอวัยวะขับถ่าย
(Anal Stage)
2-3 ปี เด็กวัยนี้ได้รับความพึงพอใจทางทวารหนัก มี
ความสุขกับการขับถ่าย
3. ขั้นอวัยวะเพศตอนต้น
(Phallic Stage)
อายุ 3-5 ปี ความพึงพอใจของเด็กวัยนี้อยู่อวัยวะสืบพันธุ์ เด็ก
มักจะจับต้องลูกคลาอวัยวะเพศ
เด็กผู้ชายหวงแม่ (Oedipus Complex)
เด็กหญิงหวงพ่อ (Electra Complex)
4. ขั้นแฝง
(Latency Stage)
อายุ 6-12 ปี สนุกสนานกับสิ่งรอบตัว
5 ขั้นสืบพันธุ์
(Genital Stage)
อายุ 12 ปี - วัย
ผู้ใหญ่
วัยนี้เป็นวัยรุ่นเริ่มตั้งแต่อายุ 12 ปีขึ้นไป
จะมีความต้องการทางเพศ วัยนี้จะมีความสนใจใน
เพศตรงข้าม ซึ่งเป็นระยะเริ่มต้นของวัยผู้ใหญ่
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
82เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ทฤษฎีพัฒนาการ
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
138 เพียเจต์ (Piaget)
ศึกษาเกี่ยวกับอะไร
- พัฒนาการทางด้านความคิดของเด็ก
- ว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการอย่างไร
139 เพียเจต์ (Piaget)
เสนอแนวคิดทฤษฎีตั้งอยู่บนรากฐาน
องค์ประกอบ อะไร
- พันธุกรรม
- และสิ่งแวดล้อม
140 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
ของเพียเจต์ มีกี่ขั้น
- 4 ขั้นตอน
141 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา 4 ขั้นตอน
มีอะไรบ้าง
1.1) ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว
(Sensori-Motorb Stage)
1.2) ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด(Preoperational Stage)
1.3 ) ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม
(Concrete Operation Stage)
1.4 ) ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม
(Formal Operational Stage)
142
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา 4 ขั้นตอน
1.1) ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว(Sensori-Motorb Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี
1.2) ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2
ขั้น
· ขั้นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) เด็กอายุ 2-4 ปี
· ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้ (Intuitive Thought) เด็ก อายุ 4-7 ปี
1.3 ) ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี
1.4 ) ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) จะเริ่มจากอายุ 11-15 ปี
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
83เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ทฤษฎีพัฒนาการ
ทฤษฎีพัฒนาการทางจิตสังคมของอิริคสัน
143 อีริคสัน
แบ่งพัฒนาการทางบุคลิกภาพ เป็นกี่ขั้น
- ออกเป็น 8 ขั้น
144 พัฒนาการทางบุคลิกภาพ 8 ขั้น มีอะไรบ้าง
ขั้นที่ 1 ความไว้วางใจ – ความไม่ไว้วางใจ (Trust vs Mistrust)
ซึ่งเป็นขั้นในวัยทารก อีริควันถือว่าเป็นรากฐานที่สาคัญของพัฒนาการในวัยต่อไป
ขั้นที่ 2 ความเป็นตัวของตัวเองอย่างอิสระ – ความสงสัยไม่แน่ใจตัวเอง (Autonomous vs Shame
and Doubt)
อยู่ในวัยอายุ 2-3 ปี วัยนี้เป็นวัยที่เริ่มเดินได้ สามารถที่จะพูดได้และความเจริญเติบโตของร่ายการ
ช่วยให้เด็กมีความอิสระ พึ่งตัวเองได้
ขั้นที่ 3 การเป็นผู้คิดริเริ่ม – การรู้สึกผิด (Initiative vs Guilt)
วัยเด็กอายุประมาณ 3-5 ปี อีริคสันเรียกวัยนี้ว่าเป็นวัยที่เด็กมีความคิดริเริ่มอยากจะทาอะไรด้วย
ตนเอง วัยนี้เรียกว่า วัยซุกซน (play age)
ขั้นที่ 4 ความต้องการที่จะทากิจกรรมอยู่เสมอ – ความรู้สึกด้อย (Industry vs Inferiority)
อีริคสันใช้คาว่า Industry กับเด็กอายุประมาณ 6-12 ปี วัยนี้เรียกว่า วัยเข้าเรียน (school age)
ขั้นที่ 5 อัตภาพหรือการรู้จักว่าตนเองเป็นเอกลักษณ์ – การไม่รู้จักตนเองหรือสับสนในบทบาทในสังคม
(Ego Identity vs Role Confusion)
เด็กในวัยนี้ที่มีอายุระหว่าง 12-18 ปี จะรู้สึกตนเองว่า มีความเจริญเติบโต โดยเฉพาะทางด้าน
ร่างกายเหมือนกับผู้ใหญ่ทุกอย่าง เริมใช้ชีวิตเหมือนวัยผู้ใหญ่
ขั้นที่ 6 ความใกล้ชิดผูกพัน – ความอ้างว้างตัวคนเดียว (Intimacy vs Isolation) วัยนี้เป็นวัยผู้ใหญ่
ระยะต้น (Young Adulthood)
เป็นวัยที่ทั้งชายและหญิงเริ่มที่จะรู้จักตนเองว่ามีจุดมุ่งหมายในชีวิตอย่างไร เป็นวัยที่พร้อมที่จะมี
ความสัมพันธ์กับเพื่อนต่างเพศในฐานะเพื่อนสนิทที่จะเสียสละให้กันและกัน
ขั้นที่ 7 ความเป็นห่วงชนรุ่นหลัง – ความคิดถึงแต่ตนเอง (Generativity vs Stagnation)
Generativity ว่าเป็นวัยที่เป็นห่วงเพื่อนร่วมโลกโดยทั่วไป หรือเป็นห่วงเยาวชนรุ่นหลัง อยากจะ
ให้ความรู้ สั่งสอนคนรุ่นหลังต่อไป
ขั้นที่ 8 ความพอใจในตนเอง – ความสิ้นหวังและความไม่พอใจในตนเอง (Ego Integrity vs
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
84เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
Despair) วัยนี้เป็นระยะบั้นปลายของชีวิต เรียกว่า วัยชรา
จิตวิทยาบุคลิกภาพ
(Personality Psychology)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
145 บุคลิกภาพ" ตรงกับคาในภาษาอังกฤษ ว่า (personality)
146 (personality) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า “Persona”
Persona (Per + Sonar) ซึ่งหมายถึง Mask
147 Persona (Per + Sonar) ซึ่งหมายถึง Mask
แปลว่า
แปลว่าหน้ากากที่ตัวละครใช้สวมใส่ในการเล่นเป็นบทบาท
แตกต่างกันไปตามได้รับ
148 บุคลิกภาพ” ที่ยอมรับโดยทั่วไป คือ - คุณลักษณะ ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล
แสดงออกโดยพฤติกรรมที่บุคคลนั้นมีต่อสิ่งแวดล้อมที่
ตนกาลังเผชิญอยู่ และพฤติกรรมนี้จะคงเส้นคงวา
พอสมควร
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
85เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
จิตวิทยาบุคลิกภาพ
(Personality Psychology)
ทฤษฎีจิตวิเคราะของฟรอยด์ (Freud’s psychoanalytic theory)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
149 ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เป็นบิดาของกลุ่มทฤษฎีจิตวิเคราะห์
150 ทฤษฎีของฟรอยด์ คือ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เกี่ยวกับบุคลิกภาพ
(psychoanalytic theory of personality
151 ฟรอยด์ ได้อธิบายว่า มนุษย์มีจิตมีกี่ระดับ - 3 ระดับ
152 มนุษย์มีจิตมี 3 ระดับ อะไรบ้าง 1) จิตสานึก (Coscious mind)
2) จิตใต้สานึก (Preconscious or Subconscious
mind)
3) จิตไร้สานึก (Unconscious mind)
เป็นตัวคอยควบคุมกากับพฤติกรรมของมนุษย์ให้
แสดงพฤติกรรมออกมาต่าง
153 พลังผลักดันที่เป็นแรงขับให้มนุษย์แสดง
พฤติกรรมส่วนใหญ่แล้วมาจาก จิตส่วนใด
- จิตไร้สานึก (Unconscious mind)
154 ฟรอยด์ แบ่งโครงสร้างของจิตใจออกตาม
หน้าที่ออกเป็น กี่ ส่วน
3 ส่วน
155 โครงสร้างของจิตใจออกตามหน้าที่ 3 ส่วน คือ 1. Id
2. Ego
3. Superego
156 Id (คนเบื้องต้น) คือ - เป็นส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพที่ติดตัวเรามาตั้งแต่เกิด
- แต่เป็นส่วนที่จิตไร้สานึก
- มีหลักการที่จะสนองความต้องการของตนเองเท่านั้น
- เอาแต่ได้อย่างเดียว
- และจุดเป้าหมายก็คือ หลักความพึงพอใจ
(Pleasure Principle) Id จะผลักดันให้ Ego
ประกอบในสิ่งต่างๆ ตามที่ Id ต้องการ
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
86เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
157 Ego (คนปัจจุบัน) - เป็นส่วนของบุคลิกภาพ ที่พัฒนามาจากการที่ทารกได้
ติดต่อ หรือมีปฎิสัมพันธ์กับโลก ภายนอก
- บุคคลที่มีบุคลิกภาพปกติ คือ บุคคลที่ Ego สามารถ
ที่ปรับตัวให้เกิดสมดุลระหว่างความต้องการของ Id
โลกภายนอก และ Superego
- หลักการที่ Ego ใช้คือหลักแห่งความเป็นจริง
(Reality Principle)
158 Superego ( คนในคุณธรรม) - ส่วนที่ควบคุมให้บุคคลแสดงออกในด้านคุณธรรม
ความดี
159 Superego แบ่งเป็น 2 อย่างคือ 1. "Conscience” ซึ่งคอยบอกให้หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่
ไม่พึงปรารถนา
2. "Ego ideal” ซึ่งสนับสนุนให้มีความประพฤติดี
160 ฟรอยด์และบุตรีแอนนา ฟรอยด์
ได้เสนอ
กลไกในการป้องกันตัว (Defense Mechanism)
161 กลไกในการป้องกันตัว
(Defense Mechanism) มีอะไรบ้าง
1 การเก็บกด (Repression)
2 การป้ายความผิดให้แก่ ผู้อื่น (Projection
3 การ หาเหตุผลเข้าข้างตนเอง (Rationalization)
4 การ ถดถอย (Regression)
5 การหาสิ่งมาแทนที่ (Displacement)
6 การเลียนแบบ (Identification)
7 การแสดงปฏิกิริยาตรงข้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง
(Reaction Formation
8 การสร้างวิมานในอากาศ หรือการฝันกลางวัน
(Fantasy หรือ Day dreaming)
9 การแยกตัว (Isolation)
162 การเก็บกด (Repression) หมายถึง - การเก็บกดความรู้สึกไม่สบายใจ หรือความรู้สึก
ผิดหวัง ความคับข้องใจไว้ในจิตใต้สานึก
จนกระทั่ง ลืมกลไกป้องกันตัวประเภทนี้มีอันตราย
เพราะถ้าเก็บกดความรู้สึกไว้มากจะมีความวิตก
กังวลใจมาก และอาจทาให้เป็นโรคประสาทได้
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
87เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
163 การป้ายความผิดให้แก่ ผู้อื่น (Projection)
หมายถึง
- การลดความวิตกกังวล โดยการป้ายความผิด ให้แก่
ผู้อื่น
- ตัวอย่าง ถ้าตนเองรู้สึกเกลียด หรือไม่ชอบใครที่ตน
ควรจะชอบก็อาจจะบอกว่า คนนั้นไม่ชอบตน เด็ก
บางคนที่โกงในเวลาสอบ ก็อาจจะป้ายความผิด
หรือใส่โทษว่าเพื่อโกง
164 การ หาเหตุผลเข้าข้างตนเอง
(Rationalization) หมายถึง
- องุ่นเปรี้ยว
- มะนาวหวาน
การปรับตัว โดยการหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง โดยให้
คาอธิบายที่เป็นที่ยอมรับสาหรับคนอื่น
"องุ่นเปรี้ยว เป็นวิธีการที่ทาให้ตนเองหรือคนอื่นเข้าใจ
ว่าสิ่งที่ตนอยากได้ แล้วไม่ได้นั้น ไม่ดี เช่น อยากมีรถเก๋งขี่
แต่ไม่มีก็ปลอบใจตนเองว่าไม่มีดีแล้ว มีแล้วรอจ่ายเพิ่ม
หรือเสียค่าดูแลรักษามากขึ้น
มะนาวหวาน ตรงกันข้ามกับองุ่นเปรี้ยว คือการที่บุคคล
พยายามทาให้ผู้อื่นเข้าใจว่าสิ่งที่เราได้นั้นดีเลิศอยู่แล้ว
ทั้งๆ ที่ความจริงตัวอาจจะไม่ต้องการมาก่อน เช่น สอบ
เข้าครูได้ ก็บอกใครๆ ว่าครูนี้สอบเข้ายากนะ เป็นแล้วรู้จัก
คนมาก สังคมยกย่องด้วย เป็นต้น
165 การถดถอย (Regression) หมายถึง - การหนีกลับไปอยู่ในสภาพอดีตที่เคยทาให้ตนมี
ความสุข ตัวอย่างเช่น เด็ก 2-3 ขวบ ที่ช่วยตนเองได้ มี
น้องใหม่ เห็นแม่ให้ความเอาใจใส่กับน้อง มีความรู้สึกว่า
แม่ไม่รัก และไม่สนใจตนเท่าที่เคยได้รับ จะมีพฤติกรรม
ถดถอยไปอยู่ในวัยทารกที่ช่วยตนเองไม่ได้ ต้องให้แม่ทาให้
ทุกอย่าง
166 การหาสิ่งมาแทนที่ (Displacement) เป็นการระบายอารมณ์โกรธ หรือคับข้องใจต่อคน หรือ
สิ่งของ ที่ไม่ได้เป็นต้นเหตุของความคับข้องใจ เป็นต้นว่า
บุคคลที่ถูกนายข่มขู่ หรือทาให้คับข้องใจ เมื่อกลับมาบ้าน
อาจจะใช้ภรรยา หรือลูกๆ เป็นแพะรับบาป เช่น อาจจะมี
พฤติกรรมก้าวร้าวต่อภรรยา และลูก ๆ นักเรียนที่โกรธครู
แต่ทาอะไรครูไม่ได้ ก็อาจจะเลือกสิ่งของ เช่น โต๊ะเก้าอี้
เป็นสิ่งแทนที่ เช่น เตะโต๊ะ เก้าอี้
167 การเลียนแบบ (Identification) หมายถึง การปรับตัวโดยการเลียนแบบบุคคลที่ตนนิยมยกย่อง
ตัวอย่างเช่น เด็กชายจะพยายามทาตัวให้เหมือนพ่อ
เด็กหญิงจะทาตัวให้เหมือนแม่
ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ.......
88เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร)
ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ
168 การชดเชย (compensation) - เป็นการปรับตัวโดยหาจุดเด่นของตนเองมาทดแทน
ความบกพร่องของตน
- เพื่อจะลดความด้อยของตนเอง เช่น หญิงสาวที่
หน้าตาไม่สวยจะพยายามแต่งกายให้เด่น โดยใช้สี
ฉูดฉาด แต่งหน้าเข้ม เป็นต้น
การแสดงปฏิกิริยาตรงข้ามกับความปรารถนาที่
แท้จริง (Reaction Formation
- กลไกป้องกันตน โดยการทุ่มเทในการแสดงพฤติกรรม
ตรงข้ามกับความรู้สึกของตนเอง
- ที่ตนเองคิดว่าเป็นสิ่งที่สังคม อาจจะไม่ยอมรับ
- ตัวอย่างแม่ที่ไม่รักลูกคนใดคนหนึ่ง อาจจะมี
พฤติกรรมตรงข้าม โดยการแสดงความรักมากอย่าง
ผิดปกติ
การสร้างวิมานในอากาศ หรือการฝันกลางวัน
(Fantasy หรือ Day dreaming
- เป็นการสร้างจินตนาการ หรือมโนภาพ
- เกี่ยวกับสิ่งที่ตนมีความต้องการ แต่เป็นไปไม่ได้
การแยกตัว (Isolation) - การแยกตนให้พ้นจากสถานการณ์ที่นาความคับข้องใจ
มาให้
- โดยการแยกตนออกไปอยู่ตามลาพัง
- ตัวอย่างเช่น เด็กที่คิดว่าพ่อแม่ไม่รัก อาจจะแยกตน
ปิดประตูอยู่คนเดียว
การศึกษา
การศึกษา
การศึกษา
การศึกษา
การศึกษา
การศึกษา
การศึกษา
การศึกษา

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์nok_bb
 
คิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาดคิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาดLuckyman Buddhism
 
กำลังใจแห่งชีวิต
กำลังใจแห่งชีวิตกำลังใจแห่งชีวิต
กำลังใจแห่งชีวิตwatthaiparis
 

Was ist angesagt? (7)

ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์
 
จิตวิทยา 6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรมจิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา 6 เฟรม
 
คิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาดคิดอย่างฉลาด
คิดอย่างฉลาด
 
กำลังใจแห่งชีวิต
กำลังใจแห่งชีวิตกำลังใจแห่งชีวิต
กำลังใจแห่งชีวิต
 

Andere mochten auch

หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู
 
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)Watcharapon Donpakdee
 
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตรติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘Watcharapon Donpakdee
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูWatcharapon Donpakdee
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
การเทียบหน่วยกิจ สอบครูผู้ช่วย สำหรับผู้จบไม่ตรงสาย
การเทียบหน่วยกิจ สอบครูผู้ช่วย สำหรับผู้จบไม่ตรงสายการเทียบหน่วยกิจ สอบครูผู้ช่วย สำหรับผู้จบไม่ตรงสาย
การเทียบหน่วยกิจ สอบครูผู้ช่วย สำหรับผู้จบไม่ตรงสายWeerachat Martluplao
 
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ25465.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546กองพัน ตะวันแดง
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔อิ่' เฉิ่ม
 
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงกองพัน ตะวันแดง
 

Andere mochten auch (20)

หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตรหนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
หนังสือสอบ เพื่อนครู2559 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
ขอบคุณครับ ขอบคุณ
ขอบคุณครับ ขอบคุณขอบคุณครับ ขอบคุณ
ขอบคุณครับ ขอบคุณ
 
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวนิยม (Existentialism)
 
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร  ต้นฉบับ
2หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร ต้นฉบับ
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลข่าวสารข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลข่าวสาร
 
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
เล่ม5  ชิวๆขำๆเล่ม5  ชิวๆขำๆ
เล่ม5 ชิวๆขำๆ
 
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพเล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
เล่ม 4 ชิวๆๆ วิชาชีพ
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครู
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วยวิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
วิชาการศึกษา, ข้อสอบครูผู้ช่วย
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
การเทียบหน่วยกิจ สอบครูผู้ช่วย สำหรับผู้จบไม่ตรงสาย
การเทียบหน่วยกิจ สอบครูผู้ช่วย สำหรับผู้จบไม่ตรงสายการเทียบหน่วยกิจ สอบครูผู้ช่วย สำหรับผู้จบไม่ตรงสาย
การเทียบหน่วยกิจ สอบครูผู้ช่วย สำหรับผู้จบไม่ตรงสาย
 
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ25465.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
นโยบาย 4 ใหม่
นโยบาย 4 ใหม่นโยบาย 4 ใหม่
นโยบาย 4 ใหม่
 
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
5.2 พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวง
 

Ähnlich wie การศึกษา

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา PresentKobchai Khamboonruang
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2maymymay
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12PaChArIn27
 
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรวิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1tery10
 
การนำเสนองาน
การนำเสนองานการนำเสนองาน
การนำเสนองานguest0d05a5
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 

Ähnlich wie การศึกษา (20)

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
51105
5110551105
51105
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
โครงงานสติ
โครงงานสติโครงงานสติ
โครงงานสติ
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12
 
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตรวิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
วิชาชีพ ครุผู้ช่วย 57 ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1
 
5 laws for nida
5 laws for nida5 laws for nida
5 laws for nida
 
Train for the new trainer 2014
Train for the new trainer 2014Train for the new trainer 2014
Train for the new trainer 2014
 
การนำเสนองาน
การนำเสนองานการนำเสนองาน
การนำเสนองาน
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
Eq1
Eq1Eq1
Eq1
 
โครงงานสติ
โครงงานสติโครงงานสติ
โครงงานสติ
 

Mehr von ติวอินดี้ ง่ายโคตร

คู่มือสอบ กทม 57 กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
คู่มือสอบ กทม 57  กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่งคู่มือสอบ กทม 57  กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
คู่มือสอบ กทม 57 กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่งติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 

Mehr von ติวอินดี้ ง่ายโคตร (6)

คู่มือสอบ กทม 57 กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
คู่มือสอบ กทม 57  กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่งคู่มือสอบ กทม 57  กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
คู่มือสอบ กทม 57 กฎหมายที่ใช้สอบทุกตำแหน่ง
 
คู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคขคู่มือสอบ กทม ภาคข
คู่มือสอบ กทม ภาคข
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘
 

การศึกษา

  • 2. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 57เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) คานา หนังสือคู่มือสอบครูผู้ช่วย 2557 ตามแบบฉบับติวอินดี้ ง่ายโคตร/Facebook ฉีกกฎการอ่าน หนังสือสอบ 57 เล่มนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นการแบ่งปันเคล็ดลับการจาแบบกวนๆไม่มีใครเหมือนและไม่ เหมือนใครแต่นาไปใช้ได้ผลดีเป็นที่สุด ในกลุ่มของพวกเราชาว ติวอินดี้ ง่ายโคตร/Facebook เท่านั้น หากหนังสือเล่มนี้ ผิดพลาดประการใด ครูอินดี้ กราบขออภัยจากใจจริงครับ และหากมีปัญหา ข้อ สงสัย เหมือนเดิมครับ ติวอินดี้ ง่ายโคตร facebook ช่องทางนี้ดีที่สุดครับผม ติวอินดี้ ง่ายโคตร facebook
  • 3. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 58เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) สารบัญ หน้า หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร 1 จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว 56 หลักการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 96 การพัฒนาผู้เรียน 115 การบริหารจัดการชั้นเรียน 131 สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 143 การวิจัยทางการศึกษา 156 การวัดผลและประเมินผลการศึกษา 176
  • 4. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 59เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คาศัพท์ที่ออกข้อสอบบ่อยๆ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 1 จิตวิทยา ตรงกับคาในภาษาอังกฤษ ว่า Psychology 2 Psychology มาจากรากศัพท์ภาษากรีก 2 คา -Psyche + Logos 3 Psyche หมายถึง - วิญญาณ (Soul) 4 Logos หมายถึง - วิทยาการหรือการศึกษา 5 Psychology ความหมายดั้งเดิม หมายถึง - การศึกษาเกี่ยวกับจิตหรือวิญญาณ ( Study of mind หรือ Study of soul ) 6 Psychology ปัจจุบัน หมายถึง - การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม(Behavior) ของมนุษย์ (Psychology is the science of behavior) 7 พฤติกรรม ตรงกับคาในภาษาอังกฤษ คือ - Behavior 8 พฤติกรรม (Behavior ) หมายถึง - กริยาอาการที่แสดงออกหรือปฏิกิริยาโต้ตอบเมื่อเผชิญ กับสิ่งเร้า (Stimulus) หรือสถานการณ์ต่าง ๆ - อาการแสดงออก เช่น การเดิน การพูด การเขียน การ คิด การเต้นของหัวใจ เป็นต้น - ส่วนสิ่งเร้าที่มากระทบแล้วก่อให้เกิดพฤติกรรมก็อาจจะ เป็นสิ่งเร้าภายใน และสิ่งเร้าภายนอก 9 สิ่งเร้า (Stimulus )หมายถึง - คือ สัญญาณหรือการเปลี่ยนแปลงซึ่งมีผลต่อ กิจกรรมของสิ่งมีชีวิต 10 สิ่งเร้า (Stimulus ) แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ - สิ่งเร้าภายใน (Internal Stimulus) - สิ่งเร้าภายนอก(External Stimulus) 11 สิ่งเร้าภายใน (Internal Stimulus) ได้แก่ - ฮอร์โมน เอนไซม์ ความหิว ความเครียด ความ ต้องการทางเพศ เป็นต้น
  • 5. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 60เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 12 สิ่งเร้าภายนอก(External Stimulus) ได้แก่ - แสง เสียง อุณหภูมิ อาหาร น้า การสัมผัส สารเคมี เป็นต้น 13 พฤติกรม (Behavior) แบ่งกี่ประเภท - 2 ประเภท 14 พฤติกรม(Behavior) มี 2 ประเภทคือ 1. พฤติกรรมภายใน (Invert Behaviors) 2. พฤติกรรมภายนอก(Overt Behaviors) 15 พฤติกรรมภายใน (InvertBehaviors) หมายถึง - ความคิด ความรู้สึก จินตนาการ อื่นๆ - ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า - ไม่สามารถสังเกตได้ด้วยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ 16 พฤติกรรมภายนอก (Overt Behaviors) หมายถึง - การกระทาหรือการแสดงออกด้านกิริยาท่าทางต่างๆ ของมนุษย์ เช่น การเดิน การพูด การเล่น การแสดงสี หน้า และกิจกรรมอื่นๆ - พฤติกรรมหรือการกระทาที่ปรากฏออกมาให้ สังเกตเห็นได้ รับรู้ได้ ใช้เครื่องมือตรวจสอบได้ 17 พฤติกรรมภายนอก (Overt Behaviors) แบ่งออกเป็น - 2 ประเภท 18 พฤติกรรมภายนอก (Overt Behaviors) แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1) แบบโมลาร์ (molar) 2) แบบโมเลคิวลาร์ (molecular) 19 แบบโมลาร์ (molar) - เป็นพฤติกรรมภายนอก - ที่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า - เช่น การยืน การเดิน การนั่ง การนอน ฯลฯ 20 แบบโมเลคิวลาร์ (molecular) - เป็นพฤติกรรมภายนอกที่จะรับรู้ได้ - โดยอาศัยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ตรวจสอบ เช่น ความดันเลือด คลื่นสมอง คลื่นหัวใจ การเต้นชีพจร เป็นต้น
  • 6. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 61เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) แนวคิดนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ แนวคิดนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ 1. กลุ่มโครงสร้างแห่งจิต (Structuralism) 2. กลุ่มหน้าที่ของจิต (Functionalism) 3. กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) 4. กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) 5. กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism) 6. กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology)) ที่ แนวคิดนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ นักจิตวิทยาที่สาคัญ 1 กลุ่มโครงสร้างทางจิต (Structuralism) - วุ้นด์ (Wilhelm max Wundt) - ทิชเชนเนอร์ (Titchener) - เฟชเนอร์ ( Fechner) 2 กลุ่มหน้าที่ของจิต (Functionalism) - จอน์ ดิวอี้ (John Dewey) - วิลเลียม เจมส์ (Williaam James) - วู้ดเวิร์ธ ( R.S.wOODWORTH) 3 กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) - ฟรอยด์ (Sigmund Freud) - แอดเลอร์ (Alfred Adler) - จุง (Carl G.Jung) 4 กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) - วัตสัน (John B.Watson) - พาฟลอฟ (Ivan P.Pavlov) - ธอร์นไดค์ (Edward L.Thorndike) - ฮัล (Clark L.Hull) - 5 กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism) - คาร์ล โรเจอร์ (Carl R.Rogers) - มาสโลว์ (Abrahaham H. Maslow) 6 กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology) - เวอร์ไธเมอร์ (Max Wertheimer) - คอฟกา (Kurt Kofga) - เลอวิน (Kurt Lewin) - โคเลอร์ (Wolfgang Kohler)
  • 7. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 1เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) - - นักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ กลุ่มโครงสร้างทางจิต (Structuralism) กลุ่มหน้าที่ของจิต (Functionalism) กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism) กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology) - วุ้นด์ (Wilhelm max Wundt) - ทิชเชนเนอร์ (Titchener) - เฟชเนอร์ ( Fechner) จอน์ ดิวอี้ (John Dewey) วิลเลียม เจมส์ (Williaam James) วู้ดเวิร์ธ ( R.S.wOODWORTH) - ฟรอยด์ (Sigmund Freud) - แอดเลอร์ (Alfred Adler) - จุง (Carl G.Jung) - วัตสัน (John B.Watson) - พาฟลอฟ (Ivan P.Pavlov) - ธอร์นไดค์ (Edward L.Thorndike) - ฮัล (Clark L.Hull) - คาร์ล โรเจอร์ (Carl R.Rogers) - มาสโลว์ (Abrahaham H. Maslow) เวอร์ไธเมอร์ (Max Wertheimer) - คอฟกา (Kurt Kofga) - โคเลอร์ (Wolfgang Kohler - เลอวิน (Kurt Lewin))
  • 8. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 60เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) กลุ่มโครงสร้างทางจิต ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 21 กลุ่มโครงสร้างทางจิต ตรงกับภาษาอังกฤษ ว่า (Structuralism) 22 ผู้ก่อตั้ง คือ - วิลเฮล์ม วุนต์ (Wilhelm Woundt) วิลเฮล์ม วุนต์ (Wilhelm Woundt) - บิดาแห่งจิตวิทยาการทดลอง 23 กลุ่มโครงสร้างของจิตเชื่อว่า - โครงสร้างของจิตประกอบด้วยจิตธาตุ (Mental Elements) 24 จิตธาตุ ประกอบด้วย - ธาตุ 3 ชนิด 25 ธาตุ 3 ชนิด มีอะไรบ้าง 1. การรับสัมผัส (Sensation) 2. ความรู้สึก (Feeling) 3. จินตนาการหรือมโนภาพ (Image) 26 1. การสัมผัส (Sensation) คือการทางานของอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง โดยการตอบ สนองต่อสิ่งเร้านั้น ๆ เช่น ตามองเห็น จมูกได้ กลิ่น ฯลฯ 27 2. การรู้สึก (Feeling) คือการตีความหรือแปลความหมายของการสัมผัส เช่น การมองเห็นสิ่งเร้า ก็ตีความหมายว่า สวย ไม่สวย หูได้ยินก็ตีความหมายว่า ไพเราะ เป็นต้น 28 3. มโนภาพ (Image) คือการคิดและการวิเคราะห์ ตลอดจนการจดจาประสบการณ์ต่างๆ ที่ได้รับจากการสัมผัสและ รู้สึก
  • 9. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 61เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) กลุ่มหน้าที่ของจิต ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 21 กลุ่มหน้าที่ทางจิต ตรงกับภาษาอังกฤษว่า (Functionalism) 22 ผู้ก่อตั้ง คือ - จอน์ ดิวอี้ (John Dewey) - วิลเลียม เจมส์ (Williaam James) จอน์ ดิวอี้ (John Dewey) มีความเชื่อว่า - การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากการกระทา (Learning by doing) ประสบการณ์เป็นสิ่งสาคัญในการปรับตัวของมนุษย์ 23 วิลเลียม เจมส์ (Williaam James) - สัญชาตญาณเป็นส่วนที่ทาให้เราปรับตัวเข้ากับ สิ่งแวดล้อม 24 แนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการศึกษา วิธีการ เรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ มากที่สุด - วิธีการเรียนการสอนแบบแก้ปัญหา 25 แนวคิดกลุ่มนี้สรุปได้ว่า จิตมีหน้าที่ควบคุมกระบวนการทุกอย่างในร่างกายทาให้ ปรับเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม
  • 10. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 62เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) กลุ่มกลุ่มจิตวิเคราะห์ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 26 กลุ่มจิตวิเคราะห์ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า - Psychoanalysis 27 ผู้ก่อตั้ง คือ - ฟรอยด์ (Sigmund Freud) 28 นักจิตวิทยาที่สาคัญในกลุ่มนี้ คือ - ฟรอยด์ (Sigmund Freud) - แอดเลอร์ (Alfred Adler) - จุง (Carl G.Jung) 29 แนวคิดสาคัญในกลุ่มนี้ เชื่อว่า - พฤติกรรมส่วนใหญ่ของมนุษย์ มีแรงจูงใจมาจากจิตไร้ สานึก - เกิดจากแรงขับทางเพศ 30 ผู้นาคนสาคัญ คือ - ฟรอยด์ (Sigmund Freud) 31 (Sigmund Freud) แบ่งลักษณะจิตเป็น กี่ส่วน - 3 ส่วน 32 (Sigmund Freud) แบ่งจิตเป็น 3 ส่วน อะไรบ้าง 1. จิตสานึก (Conscious) แสดงความรู้ตังตลอดเวลา 2. จิตใต้สานึก (Subconscious) รู้ตัวตลอดเวลาแต่ ไม่แสดงออกในขณะนั้น 3. จิตไร้สานึก (Unconscious) 33 ฟรอยด์เน้นความสาคัญเรื่อง จิตใต้สานึก (Subconsious) 34 จิตใต้สานึก Subconsious แยกเป็น กี่ลักษณะ 3 ลักษณะ 35 จิตใต้สานึก Subconsious มี 3 ลักษณะ อะไรบ้าง 1. Id 2. Superego 3. ego
  • 11. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 63เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 36 (Id) - ส่วนที่ยังไม่ได้ขัดเลา - จะทาอย่างเดียวไม่สนเหตุผล ถูกผิด - ทาเพื่อตอบสนองความรู้สึกพึงพอใจตัวเอง 37 (Superego) - ส่วนที่ได้มาจากการเรียนรู้เป็นส่วนที่คิดถึงผิดชอบชั่วดี - คิดถึงคนอื่นก่อนตัดสินใจอะไรลงไป - จะทาอะไรตามความเป็นจริง มีความสมเหตุสมผล 38 (ego) - ส่วนที่เป็นตัวตัดสินใจโดยคานึงถึงสภาพความเป็นจริงใน สภาพการณ์นั้น ๆ - ทาความประนีประนอมระหว่างส่วนที่ยึดความสุขส่วนตัว กับส่วนที่รู้จักผิดชอบชั่วดี - จะทาอะไร ต้องอยู่ภายใต้ประสบกาณ์ที่ถูกอบรมสั่ง สอนมา ทาอะไรต้องรู้จักผิด ถูก มีศิลธรรม
  • 12. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 64เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) กลุ่มพฤติกรรมนิยม ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 39 กลุ่มพฤติกรรมนิยม ตรงกับภาษาอังกฤษว่า - Behavior 40 นักจิตวิทยาที่สาคัญในกลุ่มนี้ คือ - วัตสัน (John B.Watson) - พาฟลอฟ (Ivan P.Pavlov) - ธอร์นไดค์ (Edward L.Thorndike) - ฮัล (Clark L.Hull) - โทลแมน (Edward C.Tolman) 41 ผู้นาคนสาคัญ คือ - วัตสัน (John B.Watson) - พาฟลอฟ (Ivan P.Pavlov) 42 นักจิตวิทยากลุ่มนี้ เชื่อว่า - พฤติกรรมทุกอย่างต้องมีสาเหตุ สาเหตุมาจาก สิ่งเร้า (Stimulus) - จะมีพฤติกรรมแสดงออกมา เรียกว่า การตอบสนอง(Respones) 43 วัตสัน (John B.Watson) - การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค - หนูสีขาว + เด็กชายชื่อ อัลเบิร์ต (Albert) 44 - พาฟลอฟ (Ivan P.Pavlov) - ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค - (Classical Conditioning) - ทดลองกับสุนัข + กระดิ่ง 45 ธอร์นไดค์ (Edward L.Thorndike) - การลองผิดลองถูก ( Trial and Error ) - ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theory) - ทดลองกับ แมว + แตะคานเปิดกรง ธอร์นไดค์ได้เสนอกฎการเรียนรู้ 3 กฎ ได้แก่ 1 กฎแห่งการฝึกหัดหรือการกระทาซ้า (The Law of Exercise or Repetition) 2 กฎแห่งผล (The Law of Effect) คือรางวัลหรือความสมหวัง จะช่วยส่งเสริมการแสดงพฤติกรรม นั้น มากขึ้น แต่การทาโทษหรือความผิดหวังจะลดอาการแสดงพฤติกรรมนั้นลง 3 กฎแห่งความพร้อม (The Law of Readiness) ความพร้อมของร่างกาย ในอันที่จะแสดง พฤติกรรมใด ๆ ออกมา
  • 13. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 65เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) กลุ่มมนุษย์นิยม (Humanism) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 46 กลุ่มมนุษย์นิยม ตรงกับภาษาอังกฤษว่า (Humanism) 47 นักจิตวิทยาที่สาคัญในกลุ่มนี้ คือ - คาร์ล โรเจอร์ (Carl R.Rogers) - มาสโลว์ (Abrahaham H. Maslow) 48 ผู้นาคนสาคัญ คือ - มาสโลว์ (Abrahaham H. Maslow) 49 ทฤษฏีของ Maslow จะอยู่บนพื้นฐาน ของสมมติฐาน กี่ข้อ 3 ข้อ 50 ทฤษฏีของ Maslow จะอยู่บนพื้นฐาน ของสมมติฐาน 3 ข้อ คือ 1. มนุษย์มีความต้องการอยู่เสมอและไม่มีที่สิ้นสุด 2. ความต้องการของบุคคลจะถูกเรียงลาดับตาม ความสาคัญ หรือเป็นลาดับขั้นความต้องการพื้นฐาน 3. ความต้องการที่ได้รับการตอบสนองแล้ว จะไม่เป็น สิ่งจูงใจของพฤติกรรมนั้นๆ ต่อไป 51 มาสโลว์ (Abrahaham H. Maslow) เสนอทฤษฎี ที่สาคัญคือ ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ 52 ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการพื้นฐานของ มนุษย์ มีกี่ขั้น 5 ขั้น 53 ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการพื้นฐานของ มนุษย์ 5 ขั้น มีอะไรบ้าง 1 ความต้องการทางร่างกาย (Physiological Needs) 2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) 3 ความต้องการทางสังคม (Social Needs) 4 ความต้องการเกียรติยศชื่อเสียง (Esteem Needs) 5 ความต้องการเติมความสมบูรณ์ให้ชีวิต (Self- actualization Needs)
  • 14. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 66เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 54 สูตร ติวอินดี้ ง่ายโคตรๆๆ ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ มีอะไรบ้าง ท่องว่า กอ สอ / กอ ชอ 1 ความต้องการทางร่างกาย (Physiological Needs) ก 2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs) ( ภ ) 3 ความต้องการทางสังคม (Social Needs) ส 4 ความต้องการเกียรติยศชื่อเสียง (Esteem Needs) ก 5 ความต้องการเติมความสมบูรณ์ให้ชีวิต (Self-actualization Needs) ช หมายเหตุ..... ภ ( ภอ สาเภา) เขียนเหมือน ก ( กอไก่) แค่ เพิ่ม หัว มาเป็น ภ เฉยๆ)
  • 15. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 67เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) กลุ่มเกสตัลท์ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 55 กลุ่มเกสตัลท์ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า (Gestalt Psychology) 56 นักจิตวิทยาที่สาคัญในกลุ่มนี้ คือ - เวอร์ไธเมอร์ (Max Wertheimer) - โคเลอร์ (Wolfgang Kohler) - คอฟกา (Kurt Kofga) - เลอวิน (Kurt Lewin) 57 นักจิตวิทยาในกลุ่มกลุ่มเกสตัลท์ มีความเชื่อว่า - การเรียนรู้เกิดจากส่วนรวม ไปหา ส่วนย่อย - การเรียนรู้ คือ การแก้ปัญหา - การเรียนรู้เกิดจากการ 2 ลักษณะ การรับรู้ (Perception) หยั่งเห็น (Insight) 58 เวอร์ไธเมอร์ (Max Wertheimer) คอฟกา (Kurt Kofga)  กฎแห่งความคล้ายคลึง (The Law of Similarity)“ สิ่งเร้าใด ๆ ก็ตาม ที่มีรูปร่าง ขนาด หรือสี ที่ คล้ายกัน คนเราจะรับรู้ว่า เป็นสิ่งเดียวกัน หรือพวก เดียวกัน ”  กฎแห่งความใกล้ชิด (The Law of Proximity)“ สิ่งเร้าใดๆ ที่อยู่ใกล้ชิดกัน มนุษย์มีแนวโน้มที่จะรับรู้ สิ่งต่างๆ ที่อยู่ใกล้ชิดกันเป็นพวกเดียวกัน หมวดหมู่ เดียวกัน ”  กฎแห่งความสมบูรณ์ (The Law of Closure)“ สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียนสามารถรับรู้ให้เป็นภาพ สมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม”  กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Continuity) “สิ่งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้ ว่าเป็นพวกเดียวกัน” 59 - โคเลอร์ (Wolfgang Kohler) การหยั่งเห็น(Insight) ทดลอง ลิงชิมแพนซี + ไม้สอยกล้วยที่แขวนอยู่ 60 - เลอวิน (Kurt Lewin) จาไว้ว่า....... ( สนาม ฝนตก นาท่วน จน เลอ... เลอ วิน)) - ทฤษฎีสนาม (Field Theory) การเรียนรู้เกิดจากการสร้างแรงขับ ชักนาพฤติกรรม การเรียนรู้ไปจุดหมายปลายทาง (goal) เพื่อ ตอบสนองแรงขับที่เกิดขึ้น
  • 16. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 68เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) จิตวิทยาการเรียนรู้ ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 61 การเรียนรู้ คือ - การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมเป็นพฤติกรรมใหม่ที่ ค่อนข้างถาวร - อันเป็นผลมาจากประสบการณ์ 62 จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ บลูม และคณะ (Bloom and Others ) มุ่งพัฒนา ผู้เรียนใน ๓ ด้าน ดังนี้ ๑. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain ๒. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) ๓. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) 63 ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain - ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท - ความจา - ความเข้าใจ - การนาไปใช้ - การวิเคราะห์ - การสังเคราะห์ - และประเมินผล ภ ฉ ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) - ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท - ความรู้สึก - ความสนใจ - ทัศนคติ - การประเมินค่า - และค่านิยม 64 ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท - การเคลื่อนไหว - การกระทา - การปฏิบัติงาน - การมีทักษะ - และความชานาญ
  • 17. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 69เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 65 องค์ประกอบที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ประกอบด้วย 1. วุฒิภาวะ (Maturity) 2. ความพร้อม (Readiness) 3. แรงจูงใจ (Motivation) 4. การเสริมแรง (Reinforcement) 5. การถ่ายโยงการเรียนรู้ (Transfer of Learning) 66 วุฒิภาวะ (Maturity) หมายถึง - ลาดับขั้นของความเจริญงอกงาม หรือพัฒนาการของ บุคคลที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ - โดยไม่ต้องอาศัยสิ่งเร้า หรือการฝึกฝนใดๆ วุฒิภาวะ ของแต่ละบุคคลจะพัฒนาไปตามลาดับวัย ทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม - เป็นภาวะของการบรรลุถึงขั้นสุดยอดของการ เจริญเติบโตเต็มที่ในระยะใดระยะหนึ่ง - และพร้อมที่จะประกอบ กิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งได้ เหมาะสมกับวัย 67 ความพร้อม (Readiness) หมายถึง - สภาวะที่จะเรียนรู้อย่างบังเกิดผล - ความพร้อมขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ 68 แรงจูงใจ (Motivation) หมายถึง - เป็นกระบวนการที่บุคคลถูก กระตุ้นจากสิ่งเร้า - โดยจงใจ ให้กระทาหรือดิ้นรนเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์บางอย่าง 69 การเสริมแรง (Reinforcement) - เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับ ปฏิกิริยาตอบสนอง - ให้แสดงพฤตินั้นบ่อยขึ้น 70 การถ่ายโยงการเรียนรู้ (Transfer of Learning) - การเรียนรู้สิ่งใหม่ โดยอาศัยประสบการณ์เดิมเป็น พื้นฐาน - จะช่วยให้การเรียนรู้สิ่งใหม่นั้นดีขึ้น
  • 18. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 70เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) อิวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 71 อิวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) ทดลองกับสัตว์ชนิดใด สุนัข ( กระดิ่ง น้าลายไหล) 72 Ivan Pavlov ทฤษฎีของพาฟลอฟ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning Theories) 73 การทดลอง คือ - สุนัขหลั่งน้าลายเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง - โดย สุนัข เกิดการเชื่อมโยงสิ่งเร้า 2 สิ่ง คือ เสียงกระดิ่ง ผงเนื้อ -จนเกิดการตอบสนองโดยน้าลายไหล เมื่อได้ยิน เสียงกระดิ่ง 74 ก่อนวางเงือนไข 75 ขณะวางเงื่อนไข 76 หลังจากวางเงื่อนไข
  • 19. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 71เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 77 78 ทาความเข้าใจกับคาศัพท์การทดลอง UCS = สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข (Unconditioned Stimulus) เป็นสิ่งเร้าที่ทาให้เกิดกิริยาสะท้อนหนึ่งๆอย่างอัตโนมัติ เช่น ผงเนื้อ (ทาให้น้าลายไหล) UCR = (Unconditioned Response) เป็นการตอบสนองต่อ UCS อย่างอัตโนมัติ เช่นการหลั่งน้าลาย (เมื่อถูกกระตุ้นด้วยผงเนื้อ) CS = สิ่งเร้าเงื่อนไข (Conditioned Stimulus) เป็นสิ่งเร้าเป็นกลางที่นามาคู่กับ UCS ( กระดิ่ง) CR = การตอบสนองตามเงื่อนไข (Conditioned Response) เป็นการตอบสนองต่อ CS (น้าลายไหล) 79 ผลจากการทดลอง Pavlov สรุปหลักเกณฑ์ของการเรียนรู้ได้ 4 ประการ คือ 1. การดับสูญหรือการลดภาวะ (Extinction) เมื่อให้ CR นานๆ โดยไม่ให้ UCS เลย การตอบสนองที่มีเงื่อนไข (CR) จะค่อยๆ ลดลงและหมดไป 2. การฟื้นกลับหรือการคืนสภาพ ( Spontaneous Recovery ) เมื่อเกิดการดับสูญของการตอบสนอง (Extinction) แล้วเว้นระยะการวางเงื่อนไขไปสักระยะหนึ่ง เมื่อให้ CS จะเกิด CR โดยอัตโนมัติ 3. การแผ่ขยาย หรือ การสรุปความ (Generalization) หลังจากเกิดการตอบสนองที่มีเงื่อนไข ( CR ) แล้ว เมื่อให้สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) ที่คล้ายคลึงกัน จะเกิดการตอบสนองแบบเดียวกัน 4. การจาแนกความแตกต่าง (Discrimination) เมื่อให้สิ่งเร้าใหม่ที่แตกต่างจากสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข จะมีการจาแนกความแตกต่างของสิ่งเร้า และมี การตอบสนองที่แตกต่างกันด้วย
  • 20. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 72เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) จอห์น บี วัตสัน (John B. Watson) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 80 John B. Watson ทดลองกับอะไร หนูขาว เด็กชายอัลเบิร์ต 81 John B. Watson ทดลองโดยเป็นการวางเงือนไขแบบใด ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning Theories) 82 การทดลอง คือ - หนูขาว - เด็กชายอัลเบิร์ต (Albert) ไม่กลัว - แต่ขณะที่หนูน้อยยื่นมือไปจับเสียงแผ่นเหล็กก็ดัง - ทาให้เด็กชายอัลเบิร์ต (Albert) กลัว - ทาคู่กันเช่นนี้เพียงเจ็ดครั้ง - ปรากฏว่าตอนหลังหนูน้อยเห็นแต่เพียงหนูขาวก็ แสดงความกลัวทันที 83 ทาความเข้าใจกับคาศัพท์การทดลอง UCS = สิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไข (Unconditioned Stimulus) เป็นสิ่งเร้าที่ทาให้เกิดกิริยาสะท้อนหนึ่งๆอย่างอัตโนมัติ เช่น หนูขาว (อัลเบิร์ตไม่กลัว กล้าจับต้อง) UCR = (Unconditioned Response) เป็นการตอบสนองต่อ UCS อย่างอัตโนมัติ เช่น อัลเบิร์ตไม่กล้ว (เมื่อถูกกระตุ้นหนูขาว) CS = สิ่งเร้าเงื่อนไข (Conditioned Stimulus) เป็นสิ่งเร้าเป็นกลางที่นามาคู่กับ UCS ( เสียงดัง) CR = การตอบสนองตามเงื่อนไข (Conditioned Response) เป็นการตอบสนองต่อ CS ( กลัว)
  • 21. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 73เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 84 ขั้นตอนการทดลอง ก่อนวางเงื่อนไข หนูขาว(UCS) -------------- อัลเบิร์ตกล้าจับต้อง ไม่กลัว (UCR) เสียงดัง (UCS) -------------- กลัว (UCR) ระหว่างวางเงื่อนไข หนูขาว(UCS) + เสียงดัง(CS) -------------- กลัว (UCR) หลังการวางเงื่อนไข หนูขาว (CS) -------------- กลัว (CR) ( เห็นแค่หนูขาว ก็กลัวแล้ว)
  • 22. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 74เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์ (Edward Lee Thomdike) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 85 เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์ ทดลองกับอะไร แมว กรงปริศนา กดคานเปิดประตู 86 (Edward Lee Thomdike) ทฤษฏีของธอร์นไดค์ เรียกว่า - ทฤษฏีการเชื่อมโยง (Connetionism Theory) 87 การเชื่องโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยการลองถูกลองผิด คือ - การลองถูกลองผิด (Trialand error) 88 การทดลอง คือ - จับแมวใส่กรง แมวจะแสดงพฤติกรรมเดาสุ่มเพื่อจะออกมาจากกรงมากินอาหารให้ได้ - ความสาเร็จในครั้งแรก เกิดขึ้นโดยบังเอิญ โดยที่เท้าของแมวบังเอิญไปแตะเข้าที่คานทาให้ประตู เปิดออก แมวจะวิ่งออกไปทางประตูเพื่อกินอาหาร - พบว่ายิ่งทดลองซ้ามากเท่าใดพฤติกรรมเดาสุ่มของแมวจะลดลง จนในที่สุดแมวเกิดการเรียนรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างคานกับประตูกรงได้ - หลังจากการทดลองครบ 100 ครั้ง ทิ้งระยะเวลานานประมาณ 1 สัปดาห์ แล้วทดสอบ โดยจับ แมวตัวนั้นมาทาให้หิวแล้วจับใส่กรงปริศนาใหม่ แมวจะใช้อุ้งเท้ากดคานออกมากินอาหารทางประตู ที่เปิดออกได้ทันที 89 กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดน์ มีอะไรบ้าง 1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) 2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law o f Exercise) 3. กฎแห่งความพอใจ (Law of Effect) 90 กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) หมายถึง สภาพความพร้อมหรือวุฒิภาวะของผู้เรียนทั้งทางร่างกาย อวัยวะต่างๆ ในการเรียนรู้และจิตใจ รวมทั้งพื้นฐานและ ประสบการณ์เดิม 91 กฎแห่งการฝึกหัด(Law o f Exercise) หมายถึง - การที่ผู้เรียนได้ฝึกหัดหรือกระทาซ้าๆบ่อยๆ ย่อมจะ ทาให้เกิดความสมบูรณ์ถูกต้อง 92 กฎแห่งความพอใจ(Law of Effect) หมายความว่า เมื่ออินทรีย์ได้รับความพอใจ จะทาให้หรือสิ่งเชื่อมโยงแข็ง มั่นคง ได้รับความพอใจจากผลการทากิจกรรม ก็จะเกิด ผลดีกับการเรียนรู้ทาให้อินทรีย์อยากเรียนรุ้เพิ่มมากขึ้นอีก
  • 23. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 75เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) สกินเนอร์( B.F. Skinner ) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 93 สกินเนอร์( B.F. Skinner ) ทดลองกับอะไร หนู กล่องสกินเนอร์ 94 ( B.F. Skinner ) ทฤษฏี( B.F. Skinner ) คือ - ทฤษฎีการวางเขื่อนไขแบบการกระทา (Operant Conditioning Theory) 95 ผลงานของสกินเนอร์ ที่ได้รับการยอมรับ - บทเรียนสาเร็จรูป หรือการสอนแบบโปรแกรม (Program Instruction or Program Learning) - และเครื่องมือช่วยในการสอน (Teaching Machine) 96 การทดลอง คือ ขั้นที่ 1 เตรียมการทดลอง ทาให้หนูหิวมาก ๆ เพื่อสร้างแรงขับ (Drive) ทาให้เกิดขึ้น ซึ่งจะเป็นแนวทางที่จะผลักดันให้แสดง พฤติกรรมการเรียนรู้ได้เร็วขึ้น ขั้นที่ 2 ขั้นการทดลอง เมื่อหนูหิวมาก ๆ สกินเนอร์ปล่อยหนูเข้าไปในกล่องสกินเนอร์ หนูจะวิ่งเปะปะและแสดงอาการ ต่าง ๆ เช่น การวิ่งไปรอบ ๆ กล่อง การกัดแทะสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในกล่องซึ่งหนูอาจจะไปแตะลงบนคานที่มี อาหารซ่อนไว้ หนูก็จะได้อาหารกินจนอิ่มและสกินเนอร์สังเกตเห็นว่า ทุกครั้งที่หนูหิวจะใช้เท้าหน้ากดลงไป บนคานเสมอ ขั้นที่ 3 ขั้นทดสอบการเรียนรู้ สกินเนอร์จะจับหนูเข้าไปในกล่องอีก หนูจะกดคานทันที แสดงว่า หนูเกิดการเรียนรู้แล้วว่า การ กดคานจะทาให้ได้กินอาหาร 97 การทดลองนี้ สรุปได้ว่า การเรียนรู้ที่ดีจะต้องมีการเสริมแรง 98 การเสริมแรง ตรงกับภาษาอังกฤษ ว่า - Reinforcement 99 การเสริมแรง (Reinforcement) หมายถึง - สิ่งเร้าที่ทาให้พฤติกรรมการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น มี ความคงทนถาวร
  • 24. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 76เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 100 การเสริมแรง (Reinforcement ) มีกี่ลักษณะ - 2 ลักษณะ 101 การเสริมแรง (Reinforcement) มี 2 ลักษณะ คือ การเสริมแรงชนิดบวก (Position Reinforcement) การเสริมแรงชนิดลบ (Negative Reinforcement) 102 การเสริมแรงชนิดบวก (Position Reinforcement) คือ - เป็นการให้สิ่งเสริมแรงที่บุคคลพึงพอใจ มีผลทาให้ บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น เช่น คาชมเชย รางวัล เป็นต้น 103 การเสริมแรงชนิดลบ (Negative Reinforcement) คือ - เป็นการนาเอาสิ่งที่บุคคลไม่พึงพอใจออกไป มีผลทา ให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น เช่น คาตาหนิ เสียง ดัง เป็นต้น 104 การลงโทษ (Punishment) - การลงโทษจะให้ผลตรงกันข้ามกับการเสริมแรง กล่าวคือ การเสริมแรงเป็นการทาให้การตอบสนองเพิ่มมาก ขึ้น การลงโทษเป็นการทาให้การตอบสนองลด น้อยลง - การลงโทษทาโดยการให้สิ่งเร้าที่ไม่พึงประสงค์หรือ สิ่งเร้าที่เป็นภัย ในทันทีทันใดหลังจากการแสดง พฤติกรรมที่ไม่ดีหรือไม่ต้องการออกมา
  • 25. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 77เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt ‘s Theory) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 105 กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt ‘s Theory) ประกอบด้วย เวอร์ไธเมอร์ (Wertheimer) โคห์เลอร์ (Kohler) คอฟฟ์กา (Koffka) และเลวิน (Lewin) 106 หลักการเรียนรู้กลุ่มเกสตัส เน้น การเรียนรู้ที่ส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย 107 การเรียนรู้ที่ส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย ซึ่งจะ เกิดขึ้นจากประสบการณ์และการเรียนรู้เกิดขึ้น จาก 2 ลักษณะ คืออะไร 1. การรับรู้ (Perception) 2. การหยั่งเห็น (Insight) 108 การรับรู้ (Perception) เป็นการแปรความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะ สัมผัสทั้ง 5 ส่วนคือ หู ตา จมูก ลิ้นและผิวหนัง 109 เกสตัลท์จึงจัดระเบียบการรับรู้โดยแบ่งเป็นกฎ 4 ข้อ เรียกว่า กฎแห่งการจัดระเบียบ 110 กฎแห่งการจัดระเบียบ 4 ข้อ มีอะไรบ้าง .1 กฎแห่งความชัดเจน (Clearness) การเรียนรู้ที่ดีต้องมีความชัดเจนและแน่นอน เพราะผู้เรียนมี ประสบการณ์เดิมแตกต่างกัน 1.2 กฎแห่งความคล้ายคลึง (Law of Similarity) เป็นการวางหลักการรับรู้ในสิ่งที่คล้ายคลึงกันเพื่อจะ ได้รู้ว่าสามารถจัดเข้ากลุ่มเดียวกัน 1.3 กฎแห่งความใกล้ชิด (Law of Proximity) เป็นการกล่างถึงว่าถ้าสิ่งใดหรือสถานการณ์ใดที่มีความ ใกล้ชิดกัน ผู้เรียนมีแนวโน้มที่จะรับรู้สิ่งนั้นไว้แบบเดียวกัน 1.4 กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Continuity) สิ่งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้ว่า เป็นพวกเดียวกัน 1.5 กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of Closer) สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียนสามารถรับรู้ให้เป็นภาพ สมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม 111 การหยั่งเห็น (Insight) หมายถึง การเกิดความคิดแวบขึ้นมาทันทีทันใด ในขณะที่ประสบปัญหาโดยมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหา ตั้งแต่เริ่มแรกเป็นขั้นตอนจนสามารถแก้ปัญหาได้ เป็นการมองเห็นสถานการณ์ในแนวทางใหม่ ๆ ขึ้น โดยเกิดจากความเข้าใจและความรู้สึกที่มีต่อ สถานการณ์ว่า ได้ยินได้ค้นพบแล้ว ผู้เรียนจะมองเห็นช่องทางการแก้ปัญหาขึ้นได้ในทันทีทันใด
  • 26. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 78เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 112 โคห์เลอร์ (Wolfgang Kohler ) ทดลองกับสัตว์ชนิดใด ลิงซิมแปนซี ชื่อ สุลตาน กล่องไม้ 2 กล่อง กล้วยผูกด้วยเชือกแขวนอยู่ด้านบนของกรง 113 โคห์เลอร์ เกี่ยวกับ ทฤษฎีใด การหยั่งเห็น (Insight) 114 การทดลอง คือ 1 การนาลิงใส่ไว้ในกรงที่มีกล่องไม้ 2 กล่องวางอยู่บนพื้นกรง 2 และมีกล้วยผูกด้วยเชือกแขวนอยู่ด้านบนของกรงในระยะที่ลิงไม่อาจเอื้อมถึงได้ 3ลิงเอากล่อง 2 กล่องมาวางซ้อนกันแล้วปีนขึ้นไปบนกล่องไม้เอื้อมมือไปหยิบกล้วยมากินได้ 115 สรุปได้ว่า การเรียนรู้เกิดจาก การหยั่งเห็น (Insight) โดยอาศัยประสบการณ์เดิม ที่คล้ายคลึงกันมาแก้ปัญหา ใหม่ที่ประสบ” ทฤษฎีสนามของเลวิน (Lewin's Field Theory) 116 เลวิน (Kurt Lewin) เกี่ยวกับทฤษฎีใด ทฤษฎีสนามของเลวิน (Lewin's Field Theory) 117 เลวิน (Kurt Lewin) มีความเชื่อว่า - พฤติกรรมมนุษย์แสดงออกมาอย่างมีพลังและ ทิศทาง (Field of Force) 118 สิ่งที่อยู่ในความสนใจและต้องการ จะมีพลังเป็นบวก ซึ่งเขาเรียกว่า Life space 119 สิ่งใดที่อยู่นอกเหนือความสนใจ จะมีพลังเป็นลบ 120 Lewin กาหนดว่า สิ่งแวดล้อมรอบตัว มนุษย์ จะมีกี่ ชนิด - 2 ชนิด 121 สิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์ จะมี 2 ชนิด ตือ - สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment) - สิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา (Psychological environment)
  • 27. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 79เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) จิตวิทยาพัฒนาการ (development psychology) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 122 พัฒนาการ ตรงกับคาในภาษาอังกฤษ ว่า Development 123 พัฒนาการ (Development) หมายความว่า - การเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ทั้งในด้าน โครงร่าง (Structure) และแบบแผน (Pattern) ของร่างกายทุกส่วน - อย่างมีขั้นตอนและเป็นระเบียบแบบแผน - นับแต่เริ่มปฏิสนธิจนกระทั่งเสียชีวิต - ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในเชิง คุณภาพ (Quality) - เพื่อให้บุคคลนั้นพร้อมจะแสดงความสามารถในการ กระทากิจกรรมใหม่ ๆ ที่เหมาะสมกับวัย - 124 การเจริญเติบโต ตรงกับคาภาษาอังกฤษ ว่า (Growth) 125 การเจริญเติบโต หมายถึง - การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางร่างกายที่มีความ เกี่ยวข้องกับ ขนาด น้าหนัก ส่วนสูง กระดูก กล้ามเนื้อ รูปร่าง - ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในเชิงของปริมาณ เช่น ส่วนสูงที่เพิ่มขึ้น การปรากฏสัดส่วนวัยสาวของ เด็กหญิง 126 ลักษณะเฉพาะของการพัฒนา มีกี่ข้อ 4 ข้อ 127 ลักษณะเฉพาะของการพัฒนา มี 4 ข้อ อะไรบ้าง ( เคยออกข้อสอบ) 1 พัฒนาการจะเกิดขึ้นในลักษณะที่ต่อเนื่อง (Continuety) 2 พัฒนาการจะเป็นไปตามแบบฉบับของตัวมันเอง (Sequence) 3 พัฒนาการจะเกิดขึ้นในอัตราส่วนที่ไม่เท่ากัน (Ratio) 4 พัฒนาการจะเกิดขึ้นเป็นทิศทางเฉพาะ (Development Direction) 128 องค์ประกอบของการพัฒนา มีอะไรบ้าง วุฒิภาวะ (Maturity) ความเจริญเติบโตทั้งร่างกายและจิตใจ พร้อมที่จา ทางานตามหน้าที่ การเรียนรู้(Learning) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจาก ประสบการณ์หรือการฝึกหัด
  • 28. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 80เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ทฤษฎีพัฒนาการ ทฤษฎีการพัฒนาการของ Freud (Psychosexual developmental stage) 129 ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เสนอแนวคิดทฤษฎีทางพัฒนาการไว้ว่า - พัฒนาการความต้องการทางเพศและบุคลิกภาพของ บุคคล - ต้องอาศัยการพัฒนาที่ต่อเนื่องอย่างเป็นลาดับขั้นจน กลายเป็นบุคลิกภาพที่ถาวรในที่สุด 130 ฟรอยด์ได้ให้ความสาคัญกับ ช่วง - ระยะวิกฤติ (Crisis Period) 131 ระยะวิกฤติ (Crisis Period) - ช่วงระยะแรกเกิดถึงห้าปี 132 ฟรอยด์เชื่อว่า เด็กทุกคนเกิดมาพร้อมความ ต้องการในการแสวงหา สิ่งใด - ความสุขและความพึงพอใจ (Pleasure Principle) ให้กับตนเอง 133 ฟรอยด์ได้เสนอแนวคิดว่าคนเราจะมีบริเวณที่ ต้องการให้สนองตอบที่เรียกว่า - อีโรจีเนียส (Erogenous zone) 134 ฟรอยด์ได้กาหนดบริเวณที่อีโรจีเนียส เคลื่อนที่ไปตามอายุ ไว้ - 5 ระยะ 135 ถ้าบริเวณอีโรจีเนียสไปหยุดอยู่ตรงที่ใดแล้ว ไม่ได้รับการสนองตอบที่พึงพอใจ - จะเกิดการติดตรึงหรือชะงักงัน (Fixation) 136 ฟรอยด์ (Sigmund Freud) แบ่งการพัฒนาบุคลิกภาพออกเป็น - 5 ขั้น 137 ฟรอยด์ (Sigmund Freud) แบ่งการพัฒนาบุคลิกภาพออกเป็น 5 ขั้น คือ 1. ขั้นปาก (Oral Stage) 2. ขั้นทวารหรือขั้นอวัยวะขับถ่าย (Anal Stage) 3. ขั้นอวัยวะเพศตอนต้น (Phallic Stage) 4. ขั้นแฝง (Latency Stage) 5. ขั้นสืบพันธุ์ (Genital Stage)
  • 29. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 81เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ฟรอยด์ (Sigmund Freud) แบ่งการพัฒนาบุคลิกภาพออกเป็น 5 ขั้น คือ ระยะ อายุ ความต้องการ 1. ขั้นปาก (Oral Stage) อายุระหว่าง 0-18 เดือน เป็นขั้นปากเพราะความพึงพอใจอยู่ที่ช่องปาก เป็น วัยที่ความพึงพอใจ เกิดจากการดูดนมแม่ นมขวด และดูดนิ้ว 2. ขั้นทวารหรือขั้นอวัยวะขับถ่าย (Anal Stage) 2-3 ปี เด็กวัยนี้ได้รับความพึงพอใจทางทวารหนัก มี ความสุขกับการขับถ่าย 3. ขั้นอวัยวะเพศตอนต้น (Phallic Stage) อายุ 3-5 ปี ความพึงพอใจของเด็กวัยนี้อยู่อวัยวะสืบพันธุ์ เด็ก มักจะจับต้องลูกคลาอวัยวะเพศ เด็กผู้ชายหวงแม่ (Oedipus Complex) เด็กหญิงหวงพ่อ (Electra Complex) 4. ขั้นแฝง (Latency Stage) อายุ 6-12 ปี สนุกสนานกับสิ่งรอบตัว 5 ขั้นสืบพันธุ์ (Genital Stage) อายุ 12 ปี - วัย ผู้ใหญ่ วัยนี้เป็นวัยรุ่นเริ่มตั้งแต่อายุ 12 ปีขึ้นไป จะมีความต้องการทางเพศ วัยนี้จะมีความสนใจใน เพศตรงข้าม ซึ่งเป็นระยะเริ่มต้นของวัยผู้ใหญ่
  • 30. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 82เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ทฤษฎีพัฒนาการ ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์ 138 เพียเจต์ (Piaget) ศึกษาเกี่ยวกับอะไร - พัฒนาการทางด้านความคิดของเด็ก - ว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการอย่างไร 139 เพียเจต์ (Piaget) เสนอแนวคิดทฤษฎีตั้งอยู่บนรากฐาน องค์ประกอบ อะไร - พันธุกรรม - และสิ่งแวดล้อม 140 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา ของเพียเจต์ มีกี่ขั้น - 4 ขั้นตอน 141 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา 4 ขั้นตอน มีอะไรบ้าง 1.1) ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motorb Stage) 1.2) ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด(Preoperational Stage) 1.3 ) ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) 1.4 ) ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) 142 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา 4 ขั้นตอน 1.1) ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว(Sensori-Motorb Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี 1.2) ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น · ขั้นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) เด็กอายุ 2-4 ปี · ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้ (Intuitive Thought) เด็ก อายุ 4-7 ปี 1.3 ) ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี 1.4 ) ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) จะเริ่มจากอายุ 11-15 ปี
  • 31. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 83เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ทฤษฎีพัฒนาการ ทฤษฎีพัฒนาการทางจิตสังคมของอิริคสัน 143 อีริคสัน แบ่งพัฒนาการทางบุคลิกภาพ เป็นกี่ขั้น - ออกเป็น 8 ขั้น 144 พัฒนาการทางบุคลิกภาพ 8 ขั้น มีอะไรบ้าง ขั้นที่ 1 ความไว้วางใจ – ความไม่ไว้วางใจ (Trust vs Mistrust) ซึ่งเป็นขั้นในวัยทารก อีริควันถือว่าเป็นรากฐานที่สาคัญของพัฒนาการในวัยต่อไป ขั้นที่ 2 ความเป็นตัวของตัวเองอย่างอิสระ – ความสงสัยไม่แน่ใจตัวเอง (Autonomous vs Shame and Doubt) อยู่ในวัยอายุ 2-3 ปี วัยนี้เป็นวัยที่เริ่มเดินได้ สามารถที่จะพูดได้และความเจริญเติบโตของร่ายการ ช่วยให้เด็กมีความอิสระ พึ่งตัวเองได้ ขั้นที่ 3 การเป็นผู้คิดริเริ่ม – การรู้สึกผิด (Initiative vs Guilt) วัยเด็กอายุประมาณ 3-5 ปี อีริคสันเรียกวัยนี้ว่าเป็นวัยที่เด็กมีความคิดริเริ่มอยากจะทาอะไรด้วย ตนเอง วัยนี้เรียกว่า วัยซุกซน (play age) ขั้นที่ 4 ความต้องการที่จะทากิจกรรมอยู่เสมอ – ความรู้สึกด้อย (Industry vs Inferiority) อีริคสันใช้คาว่า Industry กับเด็กอายุประมาณ 6-12 ปี วัยนี้เรียกว่า วัยเข้าเรียน (school age) ขั้นที่ 5 อัตภาพหรือการรู้จักว่าตนเองเป็นเอกลักษณ์ – การไม่รู้จักตนเองหรือสับสนในบทบาทในสังคม (Ego Identity vs Role Confusion) เด็กในวัยนี้ที่มีอายุระหว่าง 12-18 ปี จะรู้สึกตนเองว่า มีความเจริญเติบโต โดยเฉพาะทางด้าน ร่างกายเหมือนกับผู้ใหญ่ทุกอย่าง เริมใช้ชีวิตเหมือนวัยผู้ใหญ่ ขั้นที่ 6 ความใกล้ชิดผูกพัน – ความอ้างว้างตัวคนเดียว (Intimacy vs Isolation) วัยนี้เป็นวัยผู้ใหญ่ ระยะต้น (Young Adulthood) เป็นวัยที่ทั้งชายและหญิงเริ่มที่จะรู้จักตนเองว่ามีจุดมุ่งหมายในชีวิตอย่างไร เป็นวัยที่พร้อมที่จะมี ความสัมพันธ์กับเพื่อนต่างเพศในฐานะเพื่อนสนิทที่จะเสียสละให้กันและกัน ขั้นที่ 7 ความเป็นห่วงชนรุ่นหลัง – ความคิดถึงแต่ตนเอง (Generativity vs Stagnation) Generativity ว่าเป็นวัยที่เป็นห่วงเพื่อนร่วมโลกโดยทั่วไป หรือเป็นห่วงเยาวชนรุ่นหลัง อยากจะ ให้ความรู้ สั่งสอนคนรุ่นหลังต่อไป ขั้นที่ 8 ความพอใจในตนเอง – ความสิ้นหวังและความไม่พอใจในตนเอง (Ego Integrity vs
  • 32. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 84เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) Despair) วัยนี้เป็นระยะบั้นปลายของชีวิต เรียกว่า วัยชรา จิตวิทยาบุคลิกภาพ (Personality Psychology) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 145 บุคลิกภาพ" ตรงกับคาในภาษาอังกฤษ ว่า (personality) 146 (personality) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า “Persona” Persona (Per + Sonar) ซึ่งหมายถึง Mask 147 Persona (Per + Sonar) ซึ่งหมายถึง Mask แปลว่า แปลว่าหน้ากากที่ตัวละครใช้สวมใส่ในการเล่นเป็นบทบาท แตกต่างกันไปตามได้รับ 148 บุคลิกภาพ” ที่ยอมรับโดยทั่วไป คือ - คุณลักษณะ ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล แสดงออกโดยพฤติกรรมที่บุคคลนั้นมีต่อสิ่งแวดล้อมที่ ตนกาลังเผชิญอยู่ และพฤติกรรมนี้จะคงเส้นคงวา พอสมควร
  • 33. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 85เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) จิตวิทยาบุคลิกภาพ (Personality Psychology) ทฤษฎีจิตวิเคราะของฟรอยด์ (Freud’s psychoanalytic theory) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 149 ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เป็นบิดาของกลุ่มทฤษฎีจิตวิเคราะห์ 150 ทฤษฎีของฟรอยด์ คือ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เกี่ยวกับบุคลิกภาพ (psychoanalytic theory of personality 151 ฟรอยด์ ได้อธิบายว่า มนุษย์มีจิตมีกี่ระดับ - 3 ระดับ 152 มนุษย์มีจิตมี 3 ระดับ อะไรบ้าง 1) จิตสานึก (Coscious mind) 2) จิตใต้สานึก (Preconscious or Subconscious mind) 3) จิตไร้สานึก (Unconscious mind) เป็นตัวคอยควบคุมกากับพฤติกรรมของมนุษย์ให้ แสดงพฤติกรรมออกมาต่าง 153 พลังผลักดันที่เป็นแรงขับให้มนุษย์แสดง พฤติกรรมส่วนใหญ่แล้วมาจาก จิตส่วนใด - จิตไร้สานึก (Unconscious mind) 154 ฟรอยด์ แบ่งโครงสร้างของจิตใจออกตาม หน้าที่ออกเป็น กี่ ส่วน 3 ส่วน 155 โครงสร้างของจิตใจออกตามหน้าที่ 3 ส่วน คือ 1. Id 2. Ego 3. Superego 156 Id (คนเบื้องต้น) คือ - เป็นส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพที่ติดตัวเรามาตั้งแต่เกิด - แต่เป็นส่วนที่จิตไร้สานึก - มีหลักการที่จะสนองความต้องการของตนเองเท่านั้น - เอาแต่ได้อย่างเดียว - และจุดเป้าหมายก็คือ หลักความพึงพอใจ (Pleasure Principle) Id จะผลักดันให้ Ego ประกอบในสิ่งต่างๆ ตามที่ Id ต้องการ
  • 34. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 86เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 157 Ego (คนปัจจุบัน) - เป็นส่วนของบุคลิกภาพ ที่พัฒนามาจากการที่ทารกได้ ติดต่อ หรือมีปฎิสัมพันธ์กับโลก ภายนอก - บุคคลที่มีบุคลิกภาพปกติ คือ บุคคลที่ Ego สามารถ ที่ปรับตัวให้เกิดสมดุลระหว่างความต้องการของ Id โลกภายนอก และ Superego - หลักการที่ Ego ใช้คือหลักแห่งความเป็นจริง (Reality Principle) 158 Superego ( คนในคุณธรรม) - ส่วนที่ควบคุมให้บุคคลแสดงออกในด้านคุณธรรม ความดี 159 Superego แบ่งเป็น 2 อย่างคือ 1. "Conscience” ซึ่งคอยบอกให้หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ ไม่พึงปรารถนา 2. "Ego ideal” ซึ่งสนับสนุนให้มีความประพฤติดี 160 ฟรอยด์และบุตรีแอนนา ฟรอยด์ ได้เสนอ กลไกในการป้องกันตัว (Defense Mechanism) 161 กลไกในการป้องกันตัว (Defense Mechanism) มีอะไรบ้าง 1 การเก็บกด (Repression) 2 การป้ายความผิดให้แก่ ผู้อื่น (Projection 3 การ หาเหตุผลเข้าข้างตนเอง (Rationalization) 4 การ ถดถอย (Regression) 5 การหาสิ่งมาแทนที่ (Displacement) 6 การเลียนแบบ (Identification) 7 การแสดงปฏิกิริยาตรงข้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง (Reaction Formation 8 การสร้างวิมานในอากาศ หรือการฝันกลางวัน (Fantasy หรือ Day dreaming) 9 การแยกตัว (Isolation) 162 การเก็บกด (Repression) หมายถึง - การเก็บกดความรู้สึกไม่สบายใจ หรือความรู้สึก ผิดหวัง ความคับข้องใจไว้ในจิตใต้สานึก จนกระทั่ง ลืมกลไกป้องกันตัวประเภทนี้มีอันตราย เพราะถ้าเก็บกดความรู้สึกไว้มากจะมีความวิตก กังวลใจมาก และอาจทาให้เป็นโรคประสาทได้
  • 35. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 87เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 163 การป้ายความผิดให้แก่ ผู้อื่น (Projection) หมายถึง - การลดความวิตกกังวล โดยการป้ายความผิด ให้แก่ ผู้อื่น - ตัวอย่าง ถ้าตนเองรู้สึกเกลียด หรือไม่ชอบใครที่ตน ควรจะชอบก็อาจจะบอกว่า คนนั้นไม่ชอบตน เด็ก บางคนที่โกงในเวลาสอบ ก็อาจจะป้ายความผิด หรือใส่โทษว่าเพื่อโกง 164 การ หาเหตุผลเข้าข้างตนเอง (Rationalization) หมายถึง - องุ่นเปรี้ยว - มะนาวหวาน การปรับตัว โดยการหาเหตุผลเข้าข้างตนเอง โดยให้ คาอธิบายที่เป็นที่ยอมรับสาหรับคนอื่น "องุ่นเปรี้ยว เป็นวิธีการที่ทาให้ตนเองหรือคนอื่นเข้าใจ ว่าสิ่งที่ตนอยากได้ แล้วไม่ได้นั้น ไม่ดี เช่น อยากมีรถเก๋งขี่ แต่ไม่มีก็ปลอบใจตนเองว่าไม่มีดีแล้ว มีแล้วรอจ่ายเพิ่ม หรือเสียค่าดูแลรักษามากขึ้น มะนาวหวาน ตรงกันข้ามกับองุ่นเปรี้ยว คือการที่บุคคล พยายามทาให้ผู้อื่นเข้าใจว่าสิ่งที่เราได้นั้นดีเลิศอยู่แล้ว ทั้งๆ ที่ความจริงตัวอาจจะไม่ต้องการมาก่อน เช่น สอบ เข้าครูได้ ก็บอกใครๆ ว่าครูนี้สอบเข้ายากนะ เป็นแล้วรู้จัก คนมาก สังคมยกย่องด้วย เป็นต้น 165 การถดถอย (Regression) หมายถึง - การหนีกลับไปอยู่ในสภาพอดีตที่เคยทาให้ตนมี ความสุข ตัวอย่างเช่น เด็ก 2-3 ขวบ ที่ช่วยตนเองได้ มี น้องใหม่ เห็นแม่ให้ความเอาใจใส่กับน้อง มีความรู้สึกว่า แม่ไม่รัก และไม่สนใจตนเท่าที่เคยได้รับ จะมีพฤติกรรม ถดถอยไปอยู่ในวัยทารกที่ช่วยตนเองไม่ได้ ต้องให้แม่ทาให้ ทุกอย่าง 166 การหาสิ่งมาแทนที่ (Displacement) เป็นการระบายอารมณ์โกรธ หรือคับข้องใจต่อคน หรือ สิ่งของ ที่ไม่ได้เป็นต้นเหตุของความคับข้องใจ เป็นต้นว่า บุคคลที่ถูกนายข่มขู่ หรือทาให้คับข้องใจ เมื่อกลับมาบ้าน อาจจะใช้ภรรยา หรือลูกๆ เป็นแพะรับบาป เช่น อาจจะมี พฤติกรรมก้าวร้าวต่อภรรยา และลูก ๆ นักเรียนที่โกรธครู แต่ทาอะไรครูไม่ได้ ก็อาจจะเลือกสิ่งของ เช่น โต๊ะเก้าอี้ เป็นสิ่งแทนที่ เช่น เตะโต๊ะ เก้าอี้ 167 การเลียนแบบ (Identification) หมายถึง การปรับตัวโดยการเลียนแบบบุคคลที่ตนนิยมยกย่อง ตัวอย่างเช่น เด็กชายจะพยายามทาตัวให้เหมือนพ่อ เด็กหญิงจะทาตัวให้เหมือนแม่
  • 36. ความสาเร็จไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคน คนที่มีมุ่งมั่นและพยายามเท่านั้นที่จะได้พบเจอ....... 88เรียบเรียงโดย ครูวัชรพล ดลภักดี สพป.ชม.5 (ติวอินดี้ ง่ายโคตร) ข้อ คาถามที่เคยออกข้อสอบ คาตอบ 168 การชดเชย (compensation) - เป็นการปรับตัวโดยหาจุดเด่นของตนเองมาทดแทน ความบกพร่องของตน - เพื่อจะลดความด้อยของตนเอง เช่น หญิงสาวที่ หน้าตาไม่สวยจะพยายามแต่งกายให้เด่น โดยใช้สี ฉูดฉาด แต่งหน้าเข้ม เป็นต้น การแสดงปฏิกิริยาตรงข้ามกับความปรารถนาที่ แท้จริง (Reaction Formation - กลไกป้องกันตน โดยการทุ่มเทในการแสดงพฤติกรรม ตรงข้ามกับความรู้สึกของตนเอง - ที่ตนเองคิดว่าเป็นสิ่งที่สังคม อาจจะไม่ยอมรับ - ตัวอย่างแม่ที่ไม่รักลูกคนใดคนหนึ่ง อาจจะมี พฤติกรรมตรงข้าม โดยการแสดงความรักมากอย่าง ผิดปกติ การสร้างวิมานในอากาศ หรือการฝันกลางวัน (Fantasy หรือ Day dreaming - เป็นการสร้างจินตนาการ หรือมโนภาพ - เกี่ยวกับสิ่งที่ตนมีความต้องการ แต่เป็นไปไม่ได้ การแยกตัว (Isolation) - การแยกตนให้พ้นจากสถานการณ์ที่นาความคับข้องใจ มาให้ - โดยการแยกตนออกไปอยู่ตามลาพัง - ตัวอย่างเช่น เด็กที่คิดว่าพ่อแม่ไม่รัก อาจจะแยกตน ปิดประตูอยู่คนเดียว