SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 21
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โครงสร้างการบริหารงานสาธารณสุขไทย

                 สาขาการปกครองท้องถิ่น
              วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น
                    มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เอกชน             รัฐบาล




        ประชาชน
รัฐบาล
โรงพยาบาลรัฐบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในส่วนกลาง
 โรงพยาบาลส่วนกลาง       จะขึ้นตรงต่อกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เช่น
                                    โรงพยาบาลราชวิถี กรุงเทพมหานคร
                                    โรงพยาบาลเลิดสิน กรุงเทพมหานคร
                                    โรงพยาบาลสงฆ์ กรุงเทพมหานคร

โรงพยาบาลส่วนภูมิภาค                     โรงพยาบาล
                                              ศูนย์


                       โรงพยาบาล                            โรงพยาบาล
                       เฉพาะทาง                                 ทั่วไป




                          โรงพยาบาลส่งเสริม           โรงพยาบาล
                            สุขภาพตาบล                  ชุมชน
โรงพยาบาลศูนย์
          โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) เป็นโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยเป็นโรงพยาบาล
ประจาจังหวัดประจาภูมิภาคที่มีขีดความสามารถระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) มีจานวนเตียง
มากกว่า 500 เตียง ในประเทศไทยมีอยู่ 26 แห่ง เรียงตามจานวนเตียงในแต่ละภาค เช่น

                                โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
                                โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
                                โรงพยาบาลขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
                                โรงพยาบาลอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
                                โรงพยาบาลศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
                                โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
                                โรงพยาบาลบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
โรงพยาบาลทั่วไป
          โรงพยาบาลทั่ ว ไป (รพท.) เป็ น
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดย
เป็ น โรงพยาบาลประจ าจั ง หวั ด ทั่ ว ไปหรื อ
โรงพยาบาลประจ าอาเภอขนาดใหญ่ที่ มีขี ด
ความสามารถระดับทุ ติยภู มิ (Secondary
Care) มีจานวนเตียง 120 - 500 เตียง ใน
ประเทศไทยมีอยู่ 69 แห่ง เรียงตามจานวน
เตียงในแต่ละภาค
โรงพยาบาลชุมชน
          โรงพยาบาลชุ ม ชน (รพช.)
เป็ น โ รง พย าบ าลสั ง กั ด กร ะทรวง
สาธารณสุ ข โดยเป็ น โรงพยาบาล
ประจาอาเภอทั่วไป มีขีดความสามารถ
ระดับปฐมภูมิ (Primary Care) หรือ
ระดับทุติยภูมิ (Secondary Care)
ในบางแห่ ง มี จ านวนเตี ย ง 10 - 120
เตียง ในประเทศไทยมีอยู่ 723 แห่ง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
           เดิมนั้นคื อสถานีอ นามัย หรือศู นย์สุข ภาพชุ มชน เป็นสถานพยาบาล
ประจาตาบลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีขีด
ความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary Care) โดยเกือบทั้งหมดจะไม่รับผู้ป่วยใน
และไม่ มี แ พทย์ ท างานอยู่ เ ป็ น ประจ า แต่ จ ะอาศั ย ความร่ ว มมื อ กั บ แพทย์ ใ น
โรงพยาบาลชุมชน ในปี พ.ศ. 2552 รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชา
ชีวะ มีนโยบายที่จ ะพัฒนาสถานีอนามัย หรือ ศูนย์สุขภาพชุมชนให้มีศัก ยภาพ
มากขึ้น จึงจัดสรรงบประมาณในโครงการไทยเข้มแข็ง พ.ศ. 2555 เพื่อยกระดับ
สถานีอนามัย หรือศูนย์สุขภาพชุมชนให้เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
โรงพยาบาลเฉพาะทาง
โรงพยาบาลมนารมย์ เฉพาะทางด้านจิตเวช เป็นกลุ่มโรงพยาบาลเอกชน
โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน โรงพยาบาลจักษุแห่งแรกในประเทศไทย
ศูนย์เลสิคและรักษาสายตารัตนิน-กิมเบล ในเครือโรงพยาบาลจักษุ รัตนิน
ศูนย์หัวใจ
ศูนย์มะเร็ง
ด้านผูให้บริการ
        ้
- บุคลากรทางานด้วยความสุข ในบรรยากาศ
การทางานที่ดี มีการพัฒนาตนเองอย่าง        ด้านชุมชน
ต่อเนื่องและเป็นแบบอย่างในการสร้างเสริม   - ชุมชนทหารในพื้นที่ที่รับผิดชอบ เป็น
สุขภาพ (งานได้ผล คนสุขใจ สานสัมพันธ์)     ชุมชนเข้มแข็งในด้านการสร้างเสริมสุขภาพ

ด้านผูใช้บริการ
       ้                                  ด้านองค์กร
                                          - เป็นองค์กรหลักที่รับผิดชอบในการดูแล
- ผู้ใช้บริการได้รับความปลอดภัยจาก        สุขภาพกาลังพลทหารในการปฏิบัติภารกิจเพื่อ
การดูแลรักษา ตามมาตรฐาน                   ความมั่นคงของประเทศชาติและเป็นองค์กรที่มี
วิชาชีพ กลุ่มทหารที่ได้รับบาดเจ็บจาก      ธรรมาภิบาล ตลอดจนเป็นเครือข่ายด้าน
การรบและครอบครัวได้รับการเยียวยา          สุขภาพของกรมแพทย์ทหารบก
ด้านร่างกายและจิตใจ การฟื้นฟูสขภาพ
                                ุ
ให้มีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี
ส่วนกลาง
1.รพ.พระมงกุฎเกล้า
2.รพ.อานันทมหิดล                                      กองทัพภาพที่ 3
ส่วนการศึกษา                             22.รพ.ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
3.รพ.ค่ายธนะรัชต์                        23.รพ.ค่ายจิรประวัติ
4.รพ.รร.จปร.                             24.รพ.ค่ายสุรศักดิ์มนตรี
                 กองทัพภาคที่ 1
5.รพ.ค่ายจักรพงษ์                        25.รพ.ค่ายกาวิละ
6.รพ.ค่ายอดิศร                           26.รพ.ค่ายสุริยพงษ์
7.รพ.ค่ายภาณุรังษี                       27.รพ.ค่ายเม็งรายมหาราช
8.รพ.ค่ายสุรสีห์                         28.รพ.ค่ายวชิรปราการ
9.รพ.ค่ายสุรสิงหนาท
10.รพ.ค่ายนวมินทราชินี                   29.รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก
11.รพ.ค่ายรามราชนิเวศน์                  30.รพ.ค่ายพ่อขุนผาเมือง
                 กองทัพภาคที่ 2          31.รพ.ค่ายขุนเจืองธรรมิกราช
12.รพ.ค่ายสุรนารี                                     กองทัพภาคที่ 4
13.รพ.ค่ายสรรพสิทธิประสงค์
14.รพ.ค่ายประจักษ์ศิลปาคม                32.รพ.ค่ายวชิราวุธ
15.รพ.ค่ายพระยอดเมืองขวาง                33.รพ.ค่ายเสนาณรงค์
16.รพ.ค่ายกฤษณ์สีวะรา                    34.รพ.ค่ายอิงคยุทธบริหาร
17.รพ.ค่ายศรีสองรัก                      35.รพ.ค่ายเขตอุดมศักดิ์
18.รพ.ค่ายวีรวัฒน์โยธิน
19.รพ.ค่ายศรีพัชรินทร                    36.รพ.ค่ายวิภาวดีรังสิต
20.รพ.ค่ายสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศก
                                     ึ   37.รพ.ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร
21.รพ.ค่ายสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ*
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
               โรงพยาบาลประเภทนี้เป็นโรงพยาบาลในมหาวิทยาลัยและโรงเรียน
แพทย์ของคณะแพทยศาสตร์หรือวิทยาลัยแพทยศาสตร์ต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นศูนย์บริการทางการแพทย์ระดับตติยภูมิขั้นสูง
(Super Tertiary Care) ที่มีขีดความสามารถในการให้บริการและมีความพร้อมใน
การรักษาสูงสุด เนื่องจากเป็นโรงพยาบาลที่ใช้สาหรับการเรียนการสอนเพื่อผลิต
บุคลากรทางด้านการแพทย์ และเป็นโรงพยาบาลสาหรับการค้นคว้าวิจัยต่างๆ ใน
ประเทศไทยมีอยู่ 12 แห่ง เรียงตามจานวนเตียง ดังนี้
โรงพยาบาลศิริราช และ โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราช
พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย โดยความร่วมมือกับคณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรมแพทย์ทหารบก กองทัพบก โดยความร่วมมือกับวิทยาลัย
แพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า
โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
โรงพยาบาลวชิรพยาบาล กรุงเทพมหานคร โดยความร่วมมือกับคณะแพทยศาสตร์วชิรพ
ยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข โดยความร่วมมือกับวิทยาลัย
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ภายใต้การกากับ
ดูแลของสานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
สานักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
          เป็นโรงพยาบาลในสัง กั ดของ กรุง เทพมหานคร ส านัก การแพทย์ มีอ ยู่
ทั้ ง หมด 9 แห่ ง โดยมี โ รงพยาบาลวชิ ร พยาบาลเป็น โรงพยาบาลมหาวิ ท ยาลัย ซึ่ ง
บริหารโดยตรงโดย คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
                          วชิรพยาบาล
                          กลาง
                          เจริญกรุงประชารักษ์
                          ตากสิน
                          ราชพิพัฒน์
                          ลาดกระบัง
                          เวชการุณย์รัศมิ์
                          สิรินธร
                          หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
            เดิมนั้นคือสถานีอนามัย หรือศูนย์สุขภาพชุมชน เป็นสถานพยาบาลประจา
ตาบลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน มีขีด ่
ความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary Care) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล มี
การให้บริการสาธารณสุขที่หลากหลาย อาทิ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค
การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค โดยเกือบทั้งหมดจะ
ไม่รับผู้ป่วยใน และไม่มีแพทย์ทางานอยู่เป็นประจา แต่จะอาศัยความร่วมมือกับแพทย์
ในโรงพยาบาลชุมชน
เอกชน
เป็นโรงพยาบาลที่จัดตั้งโดยเอกชน มีทั้งที่เป็นบริษัทจากัด
และบริ ษั ท มหาชนจ ากั ด ด้ ว ย โรงพยาบาลเอกชนบางแห่ ง เป็ น
โรงพยาบาลเฉพาะด้ า น เช่ น โรงพยาบาลทางด้ า นโรคตา
โรงพยาบาลทันตกรรม เป็นต้น บางแห่ง ก็ มีม ากกว่า หนึ่ง แห่ ง ใน
กลุ่มบริษัทเดียวกัน ตัวอย่างของโรงพยาบาลเอกชน มีดังนี้
โรงพยาบาลสมิติเวช
โรงพยาบาลธนบุรี
โรงพยาบาลศุภมิตร
                         โรงพยาบาลเวชธานี
โรงพยาบาลมนารมย์        โรงพยาบาลปิยะเวท
โรงพยาบาลนนทเวช         โรงพยาบาลหัวเฉียว
โรงพยาบาลกล้วยน้าไท     โรงพยาบาลแม่น้า
โรงพยาบาลสุขุมวิท       โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน
โรงพยาบาลภัทร-ธนบุรี    โรงพยาบาลกรุงเทพ
โรงพยาบาลลานนา          โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
โรงพยาบาลบางนา          โรงพยาบาลเกษมราษฎร์
โรงพยาบาลจุฬารัตน์      โรงพยาบาลโอเวอร์บรู๊ค
                         โรงพยาบาลรามคาแหง
โรงพยาบาลพร้อมมิตร
                         โรงพยาบาลบารุงราษฎร์
โรงพยาบาลพญาไท          โรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล
โรงพยาบาลพระราม 9       โรงพยาบาลวิภาวดี
โรงพยาบาลไทยนครินทร์    โรงพยาบาลเมืองเพชร-ธนบุรี
โรงพยาบาลศรีบุรินทร์    โรงพยาบาลบางกอกแอดเวนติสต์มิชชั่น
โรงพยาบาลเชียงใหม่ราม   โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน
โรงพยาบาลราชเวช         ศูนย์เลสิคและรักษาสายตารัตนิน-กิมเบล ในเครือ
โรงพยาบาลศิครินทร์      โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน
โรงพยาบาลปิยะรักษ์
ภายในประเทศ
   พอสว , สภากาชาดไทย,
   มูลนิธิด้านสาธารณสุข ฯลฯ
ภายนอกประเทศ
   สภากาชาดสากล ฯลฯ
(1) สถานบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ
ตติยภูมิ ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ควรปรับรวมกันเป็นนิติบุคคล
   (2) สถานบริการสุขภาพเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ควรปรับเป็นนิติบคคลที่เป็น
                                                                   ุ
หน่วยงานของรัฐที่มิใช่ราชการ ภายใต้กากับของกระทรวงสาธารณสุขด้วยการออก
กฎหมายเฉพาะ
   (3) ควรมีการจัดตั้งกลไกเฉพาะขึ้นในส่วนกลาง ทาหน้าที่ดูแลการประสานนโยบาย
และทิศทางการจัดบริการสุขภาพในภาพรวม
   (4) การบริหารจัดการนิติบุคคลและกลไกที่ตั้งขึ้นใหม่ ควรใช้รปแบบคณะบุคคลที่
                                                                 ู
เปิดให้ฝ่ายต่างๆ ได้แก่ฝ่ายราชการ ฝ่ายวิชาชีพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
ภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมด้วย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
Nithimar Or
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
Watcharin Chongkonsatit
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
Nithimar Or
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
jiko2505
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
Yanee Chaiwongsa
 

Was ist angesagt? (20)

ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ อสม.ในทีมหมอครอบครัว
ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ อสม.ในทีมหมอครอบครัวปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ อสม.ในทีมหมอครอบครัว
ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ อสม.ในทีมหมอครอบครัว
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
 
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copyการฟื้นฟูสภาพคนพิการ   Copy
การฟื้นฟูสภาพคนพิการ Copy
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
QaพยาบาลเสนอจังหวัดQaพยาบาลเสนอจังหวัด
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
ครอบครัวอบอุ่น
ครอบครัวอบอุ่นครอบครัวอบอุ่น
ครอบครัวอบอุ่น
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 

Ähnlich wie โครงสร้างสาธารณสุขไทย

Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
taem
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
taem
 
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉินสัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
taem
 
รายชื่อ ร.พ. 57
รายชื่อ ร.พ. 57รายชื่อ ร.พ. 57
รายชื่อ ร.พ. 57
amornpraphaipis
 

Ähnlich wie โครงสร้างสาธารณสุขไทย (20)

แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
 
CPG for hepatocellular carcinoma
CPG for hepatocellular carcinomaCPG for hepatocellular carcinoma
CPG for hepatocellular carcinoma
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉินสัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
 
รายชื่อ ร.พ. 57
รายชื่อ ร.พ. 57รายชื่อ ร.พ. 57
รายชื่อ ร.พ. 57
 
นศ.ปี1 มฟล. 59(12-2-59)
นศ.ปี1 มฟล. 59(12-2-59)นศ.ปี1 มฟล. 59(12-2-59)
นศ.ปี1 มฟล. 59(12-2-59)
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
Ramathibodi toward_leading_medical_school_in_asia
Ramathibodi toward_leading_medical_school_in_asiaRamathibodi toward_leading_medical_school_in_asia
Ramathibodi toward_leading_medical_school_in_asia
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
Area based health system evaluation
Area based health system evaluationArea based health system evaluation
Area based health system evaluation
 
รับ สสจ14ธค54
รับ สสจ14ธค54รับ สสจ14ธค54
รับ สสจ14ธค54
 

โครงสร้างสาธารณสุขไทย

  • 1. โครงสร้างการบริหารงานสาธารณสุขไทย สาขาการปกครองท้องถิ่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. เอกชน รัฐบาล ประชาชน
  • 4.
  • 5. โรงพยาบาลรัฐบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในส่วนกลาง โรงพยาบาลส่วนกลาง จะขึ้นตรงต่อกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เช่น โรงพยาบาลราชวิถี กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลเลิดสิน กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลสงฆ์ กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลส่วนภูมิภาค โรงพยาบาล ศูนย์ โรงพยาบาล โรงพยาบาล เฉพาะทาง ทั่วไป โรงพยาบาลส่งเสริม โรงพยาบาล สุขภาพตาบล ชุมชน
  • 6. โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) เป็นโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยเป็นโรงพยาบาล ประจาจังหวัดประจาภูมิภาคที่มีขีดความสามารถระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) มีจานวนเตียง มากกว่า 500 เตียง ในประเทศไทยมีอยู่ 26 แห่ง เรียงตามจานวนเตียงในแต่ละภาค เช่น โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี โรงพยาบาลขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น โรงพยาบาลอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี โรงพยาบาลศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ โรงพยาบาลบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
  • 7. โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลทั่ ว ไป (รพท.) เป็ น โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดย เป็ น โรงพยาบาลประจ าจั ง หวั ด ทั่ ว ไปหรื อ โรงพยาบาลประจ าอาเภอขนาดใหญ่ที่ มีขี ด ความสามารถระดับทุ ติยภู มิ (Secondary Care) มีจานวนเตียง 120 - 500 เตียง ใน ประเทศไทยมีอยู่ 69 แห่ง เรียงตามจานวน เตียงในแต่ละภาค
  • 8. โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลชุ ม ชน (รพช.) เป็ น โ รง พย าบ าลสั ง กั ด กร ะทรวง สาธารณสุ ข โดยเป็ น โรงพยาบาล ประจาอาเภอทั่วไป มีขีดความสามารถ ระดับปฐมภูมิ (Primary Care) หรือ ระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) ในบางแห่ ง มี จ านวนเตี ย ง 10 - 120 เตียง ในประเทศไทยมีอยู่ 723 แห่ง
  • 9. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล เดิมนั้นคื อสถานีอ นามัย หรือศู นย์สุข ภาพชุ มชน เป็นสถานพยาบาล ประจาตาบลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีขีด ความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary Care) โดยเกือบทั้งหมดจะไม่รับผู้ป่วยใน และไม่ มี แ พทย์ ท างานอยู่ เ ป็ น ประจ า แต่ จ ะอาศั ย ความร่ ว มมื อ กั บ แพทย์ ใ น โรงพยาบาลชุมชน ในปี พ.ศ. 2552 รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชา ชีวะ มีนโยบายที่จ ะพัฒนาสถานีอนามัย หรือ ศูนย์สุขภาพชุมชนให้มีศัก ยภาพ มากขึ้น จึงจัดสรรงบประมาณในโครงการไทยเข้มแข็ง พ.ศ. 2555 เพื่อยกระดับ สถานีอนามัย หรือศูนย์สุขภาพชุมชนให้เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
  • 10. โรงพยาบาลเฉพาะทาง โรงพยาบาลมนารมย์ เฉพาะทางด้านจิตเวช เป็นกลุ่มโรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน โรงพยาบาลจักษุแห่งแรกในประเทศไทย ศูนย์เลสิคและรักษาสายตารัตนิน-กิมเบล ในเครือโรงพยาบาลจักษุ รัตนิน ศูนย์หัวใจ ศูนย์มะเร็ง
  • 11. ด้านผูให้บริการ ้ - บุคลากรทางานด้วยความสุข ในบรรยากาศ การทางานที่ดี มีการพัฒนาตนเองอย่าง ด้านชุมชน ต่อเนื่องและเป็นแบบอย่างในการสร้างเสริม - ชุมชนทหารในพื้นที่ที่รับผิดชอบ เป็น สุขภาพ (งานได้ผล คนสุขใจ สานสัมพันธ์) ชุมชนเข้มแข็งในด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ด้านผูใช้บริการ ้ ด้านองค์กร - เป็นองค์กรหลักที่รับผิดชอบในการดูแล - ผู้ใช้บริการได้รับความปลอดภัยจาก สุขภาพกาลังพลทหารในการปฏิบัติภารกิจเพื่อ การดูแลรักษา ตามมาตรฐาน ความมั่นคงของประเทศชาติและเป็นองค์กรที่มี วิชาชีพ กลุ่มทหารที่ได้รับบาดเจ็บจาก ธรรมาภิบาล ตลอดจนเป็นเครือข่ายด้าน การรบและครอบครัวได้รับการเยียวยา สุขภาพของกรมแพทย์ทหารบก ด้านร่างกายและจิตใจ การฟื้นฟูสขภาพ ุ ให้มีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี
  • 12. ส่วนกลาง 1.รพ.พระมงกุฎเกล้า 2.รพ.อานันทมหิดล กองทัพภาพที่ 3 ส่วนการศึกษา 22.รพ.ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 3.รพ.ค่ายธนะรัชต์ 23.รพ.ค่ายจิรประวัติ 4.รพ.รร.จปร. 24.รพ.ค่ายสุรศักดิ์มนตรี กองทัพภาคที่ 1 5.รพ.ค่ายจักรพงษ์ 25.รพ.ค่ายกาวิละ 6.รพ.ค่ายอดิศร 26.รพ.ค่ายสุริยพงษ์ 7.รพ.ค่ายภาณุรังษี 27.รพ.ค่ายเม็งรายมหาราช 8.รพ.ค่ายสุรสีห์ 28.รพ.ค่ายวชิรปราการ 9.รพ.ค่ายสุรสิงหนาท 10.รพ.ค่ายนวมินทราชินี 29.รพ.ค่ายพิชัยดาบหัก 11.รพ.ค่ายรามราชนิเวศน์ 30.รพ.ค่ายพ่อขุนผาเมือง กองทัพภาคที่ 2 31.รพ.ค่ายขุนเจืองธรรมิกราช 12.รพ.ค่ายสุรนารี กองทัพภาคที่ 4 13.รพ.ค่ายสรรพสิทธิประสงค์ 14.รพ.ค่ายประจักษ์ศิลปาคม 32.รพ.ค่ายวชิราวุธ 15.รพ.ค่ายพระยอดเมืองขวาง 33.รพ.ค่ายเสนาณรงค์ 16.รพ.ค่ายกฤษณ์สีวะรา 34.รพ.ค่ายอิงคยุทธบริหาร 17.รพ.ค่ายศรีสองรัก 35.รพ.ค่ายเขตอุดมศักดิ์ 18.รพ.ค่ายวีรวัฒน์โยธิน 19.รพ.ค่ายศรีพัชรินทร 36.รพ.ค่ายวิภาวดีรังสิต 20.รพ.ค่ายสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศก ึ 37.รพ.ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร 21.รพ.ค่ายสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ*
  • 13. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลประเภทนี้เป็นโรงพยาบาลในมหาวิทยาลัยและโรงเรียน แพทย์ของคณะแพทยศาสตร์หรือวิทยาลัยแพทยศาสตร์ต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่สังกัด กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นศูนย์บริการทางการแพทย์ระดับตติยภูมิขั้นสูง (Super Tertiary Care) ที่มีขีดความสามารถในการให้บริการและมีความพร้อมใน การรักษาสูงสุด เนื่องจากเป็นโรงพยาบาลที่ใช้สาหรับการเรียนการสอนเพื่อผลิต บุคลากรทางด้านการแพทย์ และเป็นโรงพยาบาลสาหรับการค้นคว้าวิจัยต่างๆ ใน ประเทศไทยมีอยู่ 12 แห่ง เรียงตามจานวนเตียง ดังนี้
  • 14. โรงพยาบาลศิริราช และ โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย โดยความร่วมมือกับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรมแพทย์ทหารบก กองทัพบก โดยความร่วมมือกับวิทยาลัย แพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล โรงพยาบาลวชิรพยาบาล กรุงเทพมหานคร โดยความร่วมมือกับคณะแพทยศาสตร์วชิรพ ยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข โดยความร่วมมือกับวิทยาลัย แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ภายใต้การกากับ ดูแลของสานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 15. สานักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร เป็นโรงพยาบาลในสัง กั ดของ กรุง เทพมหานคร ส านัก การแพทย์ มีอ ยู่ ทั้ ง หมด 9 แห่ ง โดยมี โ รงพยาบาลวชิ ร พยาบาลเป็น โรงพยาบาลมหาวิ ท ยาลัย ซึ่ ง บริหารโดยตรงโดย คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช วชิรพยาบาล กลาง เจริญกรุงประชารักษ์ ตากสิน ราชพิพัฒน์ ลาดกระบัง เวชการุณย์รัศมิ์ สิรินธร หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ
  • 16. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล เดิมนั้นคือสถานีอนามัย หรือศูนย์สุขภาพชุมชน เป็นสถานพยาบาลประจา ตาบลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน มีขีด ่ ความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary Care) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล มี การให้บริการสาธารณสุขที่หลากหลาย อาทิ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภค โดยเกือบทั้งหมดจะ ไม่รับผู้ป่วยใน และไม่มีแพทย์ทางานอยู่เป็นประจา แต่จะอาศัยความร่วมมือกับแพทย์ ในโรงพยาบาลชุมชน
  • 18. เป็นโรงพยาบาลที่จัดตั้งโดยเอกชน มีทั้งที่เป็นบริษัทจากัด และบริ ษั ท มหาชนจ ากั ด ด้ ว ย โรงพยาบาลเอกชนบางแห่ ง เป็ น โรงพยาบาลเฉพาะด้ า น เช่ น โรงพยาบาลทางด้ า นโรคตา โรงพยาบาลทันตกรรม เป็นต้น บางแห่ง ก็ มีม ากกว่า หนึ่ง แห่ ง ใน กลุ่มบริษัทเดียวกัน ตัวอย่างของโรงพยาบาลเอกชน มีดังนี้
  • 19. โรงพยาบาลสมิติเวช โรงพยาบาลธนบุรี โรงพยาบาลศุภมิตร โรงพยาบาลเวชธานี โรงพยาบาลมนารมย์ โรงพยาบาลปิยะเวท โรงพยาบาลนนทเวช โรงพยาบาลหัวเฉียว โรงพยาบาลกล้วยน้าไท โรงพยาบาลแม่น้า โรงพยาบาลสุขุมวิท โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน โรงพยาบาลภัทร-ธนบุรี โรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลลานนา โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ โรงพยาบาลบางนา โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ โรงพยาบาลจุฬารัตน์ โรงพยาบาลโอเวอร์บรู๊ค โรงพยาบาลรามคาแหง โรงพยาบาลพร้อมมิตร โรงพยาบาลบารุงราษฎร์ โรงพยาบาลพญาไท โรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล โรงพยาบาลพระราม 9 โรงพยาบาลวิภาวดี โรงพยาบาลไทยนครินทร์ โรงพยาบาลเมืองเพชร-ธนบุรี โรงพยาบาลศรีบุรินทร์ โรงพยาบาลบางกอกแอดเวนติสต์มิชชั่น โรงพยาบาลเชียงใหม่ราม โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน โรงพยาบาลราชเวช ศูนย์เลสิคและรักษาสายตารัตนิน-กิมเบล ในเครือ โรงพยาบาลศิครินทร์ โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน โรงพยาบาลปิยะรักษ์
  • 20. ภายในประเทศ พอสว , สภากาชาดไทย, มูลนิธิด้านสาธารณสุข ฯลฯ ภายนอกประเทศ สภากาชาดสากล ฯลฯ
  • 21. (1) สถานบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ควรปรับรวมกันเป็นนิติบุคคล (2) สถานบริการสุขภาพเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ควรปรับเป็นนิติบคคลที่เป็น ุ หน่วยงานของรัฐที่มิใช่ราชการ ภายใต้กากับของกระทรวงสาธารณสุขด้วยการออก กฎหมายเฉพาะ (3) ควรมีการจัดตั้งกลไกเฉพาะขึ้นในส่วนกลาง ทาหน้าที่ดูแลการประสานนโยบาย และทิศทางการจัดบริการสุขภาพในภาพรวม (4) การบริหารจัดการนิติบุคคลและกลไกที่ตั้งขึ้นใหม่ ควรใช้รปแบบคณะบุคคลที่ ู เปิดให้ฝ่ายต่างๆ ได้แก่ฝ่ายราชการ ฝ่ายวิชาชีพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมด้วย