SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 24
Downloaden Sie, um offline zu lesen
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีพื้นฐาน รหัสวิชา ว 31121 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ปิโตรเลียม
เวลา
14 ชั่วโมง
เรื่อง การกาเนิดปิโตรเลียม
เวลา 2 ชั่วโมง
เขียนโดย นางสาวประภาพรรณ ฝ่ายเทศ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย
โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์
*****************************************************************************************
1. มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้
สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย
การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ว ๓.๒ ม. ๔/ ๓ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดปิโตรเลียม กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติและการกลั่นลาดับ
ส่วนน้ามันดิบ
ว ๓.๒ ม. ๔/ ๔ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนาผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกก๊าซธรรมชาติและการกลั่นลาดับส่วน
น้ามันดิบไปใช้ประโยชน์รวมทั้งผลจากผลิตภัณฑ์ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
2. สาระสาคัญ
ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของอินทรียสารจากพืชและสัตว์เป็นเวลาหลายสิบล้านปีภายใต้
ความดันและความร้อนสูง และมีปริมาณออกซิเจนจากัด จึงสลายตัวเปลี่ยนสภาพเป็นแก๊สธรรมชาติและน้ามันดิบ
ปิโตรเลียมประกอบด้วยน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ น้ามันดิบประกอบด้วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนับร้อย
ชนิดซึ่งสามารถแยกออกจากันได้โดยวิธีการกลั่นลาดับส่วน
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้ (K)
- อธิบายการเกิด แหล่ง และกระบวนการสารวจปิโตรเลียม
- อธิบายหลักการในการกลั่นลาดับส่วนน้ามันปิโตรเลียมและการแยกก๊าซธรรมชาติ
- อธิบายผลเสียที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
2. ด้านทักษะ/กระบวนการ(P)
- บอกผลิตภัณฑ์หลักและประโยชน์ของผลิตภัณฑ์จากน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ
- บอกความสัมพันธ์ระหว่างจานวนอะตอมคาร์บอนในสารประกอบไฮโดรคาร์บอนกับสถานะและ
สมบัติของสารนั้นๆ
- บอกความแตกต่างระหว่างการกลั่นลาดับส่วนและการกลั่นธรรมดา
3. ด้านคุณธรรมจริยธรรม (A)
( ) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ( / ) ซื่อสัตย์สุจริต ( / ) มีวินัย
( / ) ใฝ่เรียนรู้ ( ) อยู่อย่างพอเพียง ( / ) มุ่งมั่นในการทางาน
( ) รักความเป็นไทย ( /) มีจิตสาธารณะ
4. เนื้อหาสาระ
กาเนิดและแหล่งปิโตรเลียม
5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
( /) รักการสื่อสาร ( / ) การคิด
( / ) การแก้ปัญหา ( ) ทักษะชีวิต ( ) การใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
( ) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ( / ) ซื่อสัตย์สุจริต ( / ) มีวินัย
( / ) ใฝ่เรียนรู้ ( ) อยู่อย่างพอเพียง ( / ) มุ่งมั่นในการทางาน
( ) รักความเป็นไทย ( /) มีจิตสาธารณะ
7. กิจกรรมการเรียนรู้
7.1ขั้นสร้างความสนใจ ( Engagement)
1. ครูทบทวน เรื่องปิโตรเลียม โดยให้ นักเรียนดูรูปแหล่งน้ามัน ในประเทศไทย แล้วถามนักเรียนดังนี้
- นักเรียนเคยไปเที่ยวหรือไม่
- ประเทศไทยผลิตน้ามันได้หรือไม่ มีแหล่งผลิตอยู่ที่ใดบ้าง
- น้ามันมีโอกาสหมดไปจากโลกหรือไม่
- น้ามันเกิดขึ้นได้อย่างไร
- ปิโตรเลียมแบ่งได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
- สารประกอบไฮโดรคาร์บอนประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
- ปิโตรเลียมที่เกิดขึ้นเกิดขึ้นจะถูกกักเก็บไว้ทนชั้นหินชนิดใด
- วิธีการสารวจแหล่งปิโตรเลียมทาได้อย่างไร
2. แจ้งผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและการวัดผลประเมินผลให้นักเรียนทราบ
7.2 ขั้นสารวจและขั้นหา( Exploration)
3. แบ่งนักเรียนออกเป็น กลุ่ม ๆ 4-5 คน แต่ละกลุ่มประกอบด้วยนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน คละกัน ให้
นักเรียนสืบค้นข้อมูล ความหมายของปิโตรเลียม ลักษณะ องค์ประกอบและสมบัติของปิโตรเลียมในสถานะต่าง ๆ
แหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย และในโลก แล้วนาข้อมูลมาร่วมกันอภิปราย
4. ให้นักเรียนศึกษาเรื่องปิโตรเลียม แล้วร่วมกันอภิปราย โดยใช้ใบความรู้ประกอบการอภิปราย ตาม
ประเด็นดังนี้
- การเกิดปิโตรเลียม
- วิธีการสารวจและขุดเจาะปิโตรเลียม
- กระบวนการกลั่นน้ามันดิบ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ามันดิบและการใช้ประโยชน์
-. วิธีการปรับปรุงคุณภาพของน้ามันเชื้อเพลิง
5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา อภิปราย ทาแบบฝึกหัด และกาหนดหน้าที่กัน
เองในกลุ่ม เช่น
คนที่ 1 อ่านคาถาม วิเคราะห์สิ่งที่โจทย์กาหนดให้และสิ่งที่โจทย์ถาม
คนที่ 2 ดาเนินการอภิปรายระดมความคิด วิเคราะห์แนวทางคาถาม และอธิบายคาตอบตามโจทย์
ต้องการ
คนที่ 3 เขียนคาตอบ
คนที่ 4 ตรวจสอบคาตอบและความถูกต้อง
7.3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป( Explanation)
6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับ การกาเนิดปิโตรเลียม และแหล่งปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม ( Petroleum) มาจากรากศัพท์ภาษาละติน 2 คา คือ เพทรา ( Petra) แปลว่าหิน และโอลิอุม
(Oleum) แปลว่าน้ามัน รวมกันแล้วมีความหมายว่า น้ามันที่ได้จากหิน
ปิโตรเลียมเป็นสารผสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและสารอินทรีย์หลายชนิดที่เกิดตามธรรมชาติ
ทั้งในสถานะของเหลวและแก๊ส ได้แก่น้ามันดิบ (Crude oil) และแก๊สธรรมชาติ (Natural gas)
การเกิดปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของอินทรียสารจากพืชและสัตว์ที่คลุกเคล้าอยู่กับตะกอนใน
ชั้นกรวดทรายและโคลนตมใต้พื้นดินเมื่อเวลาผ่านไปนับล้านปีตะกอนเหล่านี้จะจมตัวลงเรื่อยๆเนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงของผิวโลก ถูกอัดแน่นด้วยความดันและความร้อนสูง และมีปริมาณออกซิเจนจากัด จึงสลายตัวเปลี่ยน
สภาพเป็นแก๊สธรรมชาติและน้ามันดิบแทรกอยู่ระหว่างชั้นหินที่มีรูพรุน
ปิโตรเลียมจากแหล่งต่างกันจะมีปริมาณของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนรวมทั้งสารประกอบของ
กามะถันไนโตรเจนและออกซิเจนแตกต่างกันโดยขึ้นอยู่กับชนิดของซากพืชและสัตว์ที่เป็นต้นกาเนิดของ
ปิโตรเลียม และอิทธิพลของแรงที่ทับถมอยู่บนตะกอน
7.4 ขั้นขยายความรู้ ( Elaboration)
7. ครูให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างน้ามันปิโตรเลียม (น้ามันดิบ) แล้วร่วมกัน อภิปรายจนสามารถบอก
สมบัติทางกายภาพบางอย่างได้ เช่น สี ความหนืด
8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสารประกอบของน้ามันดิบ และวิธีการแยกส่วนประกอบ
เหล่านั้น โดยใช้ภาพหอกลั่นของโรงกลั่นน้ามันไทยออยล์ หรือภาพวาดหอกลั่นเพื่อสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง
จานวนอะตอมของคาร์บอนกับสถานะ และจุดเดือดของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดพร้อมทั้งการนาไปใช้
7.5 ขั้นประเมินผล ( Evaluation)
9. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย ตรวจความถูกต้อง ตอบคาถามโดยให้นักเรียนทุกคนในกลุ่ม
เข้าใจคาตอบก่อนส่ง
10. ให้นักเรียนช่วยกันเฉลยคาตอบพร้อมทั้งให้เหตุผล
11. ชมเชยกลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดและนักเรียนที่ให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม
8. สื่ออุปกรณ์/ แหล่งเรียนรู้(สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้)
8.1 สื่ออุปกรณ์
1. ใบความรู้ เรื่อง ปิโตรเลียม
3. ใบงาน เรื่องปิโตรเลียมกับสังคมและเศรษฐกิจ
2. ใบงาน เรื่อง ปิโตรเลียม
4. ใบงาน เรื่อง ผลกระทบที่เกิดจากการขนส่งน้ามันดิบ
8.2 แหล่งเรียนรู้
1. ห้องสมุด
2. อินเตอร์เน็ต
9. ภาระงาน/หลักฐาน/ชิ้นงานสาคัญ
9.1 ใบความรู้ เรื่อง ปิโตรเลียม
9.2 ใบงาน เรื่อง ปิโตรเลียม
10. การวัดผลประเมินผล
10.1 การวัดผลและประเมินการวัดและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการประเมิน

วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัด
และประเมินผล
- ตรวจใบงาน
- ใบงาน
- ตรวจวัดความรู้ราย
- ข้อสอบ
บุคคล

เกณฑ์การวัดและประเมินผล

2.ด้านทักษะ/กระบวนการ
(P)
- ทดสอบ

- สังเกตพฤติกรรม

- แบบสังเกต
พฤติกรรมการ
ทางาน

ระดับคุณภาพ 3

3. ด้านคุณธรรมจริยธรรม
(A)
- ซื่อสัตย์
- มีวินัย
- ใฝ่เรียนรู้
- มุ่งมั่นในการทางาน
- มีจิตสาธารณะ

- สังเกตพฤติกรรม

- แบบประเมิน
ระดับคุณภาพ 3
คุณธรรมจริยธรรม

1. ด้านความรู้ (K)
- อธิบายการเกิด แหล่ง
และกระบวนการสารวจ
ปิโตรเลียม
-อธิบายหลักการในการ
กลั่นลาดับส่วนน้ามัน
ปิโตรเลียมและการแยกก๊าซ
ธรรมชาติ
- อธิบายผลเสียที่เกิดจาก
การใช้ผลิตภัณฑ์จาก
ปิโตรเลียมที่มีต่อมนุษย์
และสิ่งแวดล้อม

- ผ่านเกณฑ์การทาใบงานถูกต้องผ่าน
เกณฑ์ระดับ 3
10.2 เกณฑ์การประเมินผล
1. ความสามารถด้านความรู้ ผ่านเกณฑ์การทาใบงานถูกต้อง ผ่านเกณฑ์ระดับ 3

ระดับคุณภาพ
4 (ดีมาก)

3(ดี)

2( พอใช้)

1(ต้องปรับปรุง)

แบบประเมินรายงานการทาใบงาน
เกณฑ์การพิจารณา
- ทาใบงานครบถ้วนและเสร็จตามกาหนดเวลา
- ทาใบงานได้ถูกต้อง
- แสดงลาดับขั้นตอนของการทาใบงานชัดเจนเหมาะสม
- ทาใบงานครบถ้วนและเสร็จตามกาหนดเวลา
- ทาใบงานได้ถูกต้อง
- สลับขั้นตอนของการทาใบงานหรือไม่ระบุขั้นตอนของการทาใบงาน
- ทาใบงานครบถ้วนแต่เสร็จหลังกาหนดเวลาเล็กน้อย
- ทาใบงานได้ถูกต้อง
- สลับขั้นตอนของการทาใบงานหรือไม่ระบุขั้นตอนของการทาใบงาน
- ทาใบงานครบถ้วยและเสร็จตามกาหนดเวลา
- ทาใบงานไม่ถูกต้อง
- แสดงลาดับขั้นตอนของการทาใบงานไม่สัมพันธ์กับโจทย์หรือไม่แสดงลาดับ
ขั้นตอน
แบบประเมินการทาใบงาน
หน่วยที.่ .............................................................................เรื่อง.....................................................
ชื่อผู้เรียน.......................................................................................ชั้น..........................เลขที.่ ................
ครั้งที่

ลักษณะการทางาน
เดี่ยว

ระดับคุณภาพ
กลุ่ม

4

3

น้าหนัก
คะแนน

คะแนนที่
ได้

2 1

ข้อเสนอแนะ / ปัญหาที่ควรแก้ไข
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ลง
ชื่อ ผู้ประเมิน
(นางสาวประภาพรรณ ฝ่ายเทศ)
......................./......................./....................
แบบประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูล

กลุ่มที่

เนื้อหา
(3)

รายการประเมิน
การจัดทาข้อมูล
แหล่งสืบค้น
(4)
(4)

รูปแบบรายงาน
(3)

รวม
15

1
2
3
4
5
6
7
8
เกณฑ์การให้คะแนน

4 หมายถึง ดีมาก
3 หมายถึง ดี
2 หมายถึง พอใช้
1 หมายถึง ควรปรับปรุง
ลงชื่อ
(นางสาวประภาพรรณ ฝ่ายเทศ)
ผู้ประเมิน
ความสามารถด้านคุณธรรม จริยธรรมแบบประเมินคุณธรรมจริยธรรม

ชื่อ – สกุล
ซื่อสัตย์
สุจริต
(10)

ลงชื่อ
(นางสาวประภาพรรณ ฝ่ายเทศ)
ผู้ประเมิน

มีวินัย
(10)

พฤติกรรมที่สังเกต
มุ่ง
มั่น
มีจิต
ในการ สาธารณะ
ใฝ่ ทางาน
(10)
เรียน
รู้(10) (10)

รวม
(50)

เทียบ
ส่วน
(10)
ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)
(นายสุขประชัย คายานุกูล)
ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ
ข้อเสนอแนะของรองผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)
(นางศิริพร พิมลทีป)
ตาแหน่ง รองผู้อานวยการ กลุ่มบริหารวิชาการ
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)
(นายเกษม ไชยรัตน์)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์
บันทึกผลหลังการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ
(นางสาวประภาพรรณ ฝ่ายเทศ)
ครูผู้ช่วย
ใบความรู้
เรื่อง ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม ( Petroleum) มาจากรากศัพท์ภาษาละติน 2 คา คือ เพทรา ( Petra) แปลว่าหิน และโอลิอุม
(Oleum) แปลว่าน้ามัน รวมกันแล้วมีความหมายว่า น้ามันที่ได้จากหิน
ปิโตรเลียมเป็นสารผสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและสารอินทรีย์หลายชนิดที่เกิดตามธรรมชาติ
ทั้งในสถานะของเหลวและแก๊ส ได้แก่น้ามันดิบ (Crude oil) และแก๊สธรรมชาติ (Natural gas)
น้ามันดิบ จากแหล่งต่าง ๆ อาจมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกัน เช่น มีลักษณะข้นเหนียว จนถึงหนืด
คล้ายยางมะตอย มีสีเหลือง เขียว น้าตาลจนถึงดา มีความหนาแน่น 0.79 – 0.97 g/cm3 น้ามันดิบมีองค์ประกอบส่วน
ใหญ่เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทแอลเคน และไซโคลแอลเคน อาจมีสารประกอบของ
N ,Sและ
สารประกอบออกไซด์อื่น ๆ ปนอยู่เล็กน้อย
แก๊สธรรมชาติ (Natural gas) มีองค์ประกอบหลักคือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนใน
โมเลกุล 1–5 อะตอมประมาณร้อยละ 95 ที่เหลือเป็นแก๊สไนโตรเจนและ คาร์บอนไดออกไซด์อาจมีแก๊ส
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ปนอยู่ด้วยแก๊สธรรมชาติอาจมีสถานะเป็นของเหลวเรียกว่ าแก๊สธรรมชาติเหลว(Condensate)
ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนเช่นเดียวกับแก๊สธรรมชาติ แต่มีจานวนอะตอมคาร์บอนมากกว่า เมื่ออยู่ในแหล่งกัก
เก็บใต้ผิวโลกที่ลึกมากและมีอุณหภูมิสูงมากจะมีสถานะเป็นแก๊ส แต่เมื่อนาขึ้นบนถึงระดับผิวดินซึ่งมีอุณหภูมิต่า
กว่า ไฮโดร คาร์บอนจะกลายสภาพเป็นของเหลว
ปริมาณธาตุองค์ประกอบของน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ
ชนิดของปิโตรเลียม
น้ามันดิบ
แก๊สธรรมชาติ

ปริมาณเป็นร้อยละโดยมวล
C
H
S
82 – 87 12 – 15 0.1 – 1.5
65 – 80
1 – 25
0.2

N
0.1 – 1
1 – 15

การเกิดปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของอินทรียสารจากพืชและสัตว์ที่คลุกเคล้าอยู่กับตะกอนใน
ชั้นกรวดทรายและโคลนตมใต้พื้นดินเมื่อเวลาผ่านไปนับล้านปีตะกอนเหล่านี้จะจมตัวลงเรื่อย ๆ เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงของผิวโลก ถูกอัดแน่นด้วยความดันและความร้อนสูง และมีปริมาณออกซิเจนจากัด จึงสลายตัวเปลี่ยน
สภาพเป็นแก๊สธรรมชาติและน้ามันดิบแทรกอยู่ระหว่างชั้นหินที่มีรูพรุน
ปิโตรเลียมจากแหล่งต่างกันจะมีปริมาณของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนรวมทั้งสารประกอบของ
กามะถัน ไนโตรเจน และออกซิเจนแตกต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับชนิดของซากพืชและสัตว์ที่เป็นต้นกาเนิดของ
ปิโตรเลียม และอิทธิพลของแรงที่ทับถมอยู่บนตะกอน

แหล่งกักเก็บปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมที่เกิดอยู่ในชั้นหิน จะมีการเคลื่อนตัวออกไปตามรอยแตกและรูพรุนของหินไปสูระดับความ
ลึกน้อยกว่าแล้วสะสมตัวอยู่ในโครงสร้างหินที่มีรูพรุน มีโพรง หรือรอยแตกในเนื้อหินที่สามารถให้ปิโตรเลียม
สะสมคัวอยู่ได้ ด้านบนเป็นหินตะกอนหรือหินดินดานเนื้อแน่นละเอียดปิดกั้นไม่ให้ปิโตรเลียมไหลลอดออกไปได้
โครงสร้างปิดกั้นดังกล่าวเรียกว่า แหล่งกักเก็บปิโตรเลียม
การสารวจปิโตรเลียม
เรารู้จักผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมในรูปแบบต่างๆ เช่นแก๊สหุงต้มน้ามันก๊าดน้ามันเบนซินยางมะตอยแต่เราไม่เคย
เห็นปิโตรเลียมตามธรรมชาติเลย
ปิโตรเลียม ประกอบด้วยก๊าซธรรมชาติเหลวและน้ามันดิบ ซึ่งเป็นของเหลวข้นๆสีดา ๆก๊าซธรรมชาติเหลวจะอยู่
ชั้นบนของปิโตรเลียมและเกิดจากการกลั่นตัวตามธรรมชาติของน้ามันดิบ
ปิโตรเลียมเกิดจากซากพืชซากสัตว์ตายทับถมกันภายใต้พื้นพิภพเป็นเวลาล้าน ๆ ปี จนกลายเป็นชั้นหินด้วยความ
กดดันสูงอันเกิดจากการเคลื่อนตัวและหดตัวของชั้นหินและอุณหภูมิใต้พิภพ สารอินทรีย์เหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นธาตุ
ไฮโดรเจนและไฮโดรคาร์บอนจะมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีอย่างช้า ๆ แปรสภาพเป็นก๊าซและน้ามันดิบสะสมและซึม
ผ่านชั้นหินที่เป็นรูพรุน เช่น ชั้นหินทรายและชั้นหินปูนไปสู่แอ่งหินที่ต่ากว่า จากนั้นค่อย ๆ สะสมตัวอยู่ระหว่างชั้นหินที่
หนาแน่น ซึ่งไม่สามารถซึมผ่านไปได้อีก โดยปกติปริมาณการสะสมตัวจะมี 5.25 % ของปริมาตรหิน เนื่องจาก
ปิโตรเลียมถูกบีบอัดด้วยชั้นหินต่าง ๆ มันจะพยายามแทรกตัวขึ้นมายังผิวโลกตามรอยแตกของชั้นหิน เว้นแต่ว่า
มันจะถูกปิดกั้นด้วยชั้นหินเนื้อแน่น ซึ่งทาให้มันถูกกักไว้ใต้ผิวโลก ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของชั้นหินใต้ผิว
โลกที่เหมาะสมในการเกิดปิโตรเลียม คือ ชั้นหินรูปโค้งประทุนคว่า(anticlinal trap)โครงสร้างรูปรอยเลื่อนของชั้นหิน
(fault trap) โครงสร้างรูปโดม (domal trap) และโครงสร้างรูปประดับชั้น (stratigraphic trap)
การสารวจหาแหล่งปิโตรเลียมนั้นเป็นการสารวจหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับขนาด รูปทรงทางเรขาคณิตของแหล่ง
ปิโตรเลียม และระดับความลึกจากพื้นผิวของแหล่ง เพื่อประเมินปริมาณสารองและคุณภาพของปิโตรเลียม นอกจากนี้ ยัง
ต้องสารวจหาข้อมูลทางด้านวิศวกรรมปิโตรเลียมที่เกี่ยวข้อง เช่น ความกดดันของแหล่งปิโตรเลียม อัตราการไหลของ
ปิโตรเลียม และความสามารถในการผลิตปิโตรเลียม ทั้งนี้รวมไปถึงชนิดของปิโตรเลียมในแหล่งสะสมตัวอีกด้วย
ขั้นตอนในการสารวจปิโตรเลียมอาจจาแนก ออกได้เป็นขั้นตอนหลัก ๓ ขั้นตอน คือ การสารวจทางธรณีวิทยา การ
สารวจทางธรณีฟิสิกส์ และการเจาะสารวจ
1. การสารวจทางธรณีวิทยา (Geological exploration) การสารวจในขั้นนี้ จะเริ่มต้นด้วยการรวบรวมข้อมูล
เกี่ยวกับสภาพธรณีวิทยาของพื้นที่และบริเวณใกล้เคียง ซึ่งได้มีการดาเนินการมาก่อนแล้ว เพื่อประเมินผลสาหรับการ
สารวจเพิ่มเติมต่อไป ถ้าพื้นที่สารวจเป็นพื้นที่บนบก นักธรณีวิทยาจะต้องศึกษาสภาพธรณีวิทยาของพื้นที่ การใช้ภาพถ่าย
ทางอากาศ และภาพถ่ายจากดาวเทียม ช่วยพิจารณาลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา (Geological structure) ของพื้นที่การ
สารวจภาคสนามเพื่อตรวจสอบหินที่โผล่ให้เห็นบนพื้นผิว การตรวจวิเคราะห์อายุหิน การวิเคราะห์ตัวอย่างหินทางธรณี
เคมี (Geochemical analysis) เพื่อหาหินต้นกาเนิดปิโตรเลียม (Source rock) และวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพของหิน
การประเมินผลการสารวจทางธรณีวิทยา ทาให้สามารถกาหนดขอบเขตของพื้นที่ ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะมีความเป็นไปได้
ทางด้านหินต้นกาเนิดปิโตรเลียม หินกักเก็บปิโตรเลียม (Reservoir rock) ซึ่งจะกลายเป็นแหล่งปิโตรเลียมต่อไปได้
2. การสารวจทางธรณีฟิสิกส์ (Geophysical exploration) การสารวจในขั้นนี้อาศัยหลักคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของ
ชั้นหินชนิดต่างๆ อาทิ คุณสมบัติด้านแม่เหล็กไฟฟ้า คุณสมบัติในการเป็นตัวกลางของคลื่นชนิดต่างๆ เป็นต้นมาเป็น
ข้อพิจารณา เพื่อตรวจสอบสภาพธรณีวิทยาใต้ผิวดิน ทั้งในเรื่องการเรียงลาดับชั้นหิน โครงสร้างทางธรณีวิทยา โดยใช้
เครื่องมือทางธรณีฟิสิกส์ช่วยในการตรวจวัดคุณสมบัติต่างๆ ของหินที่อยู่ใต้ผิวดินลึกลงไปในพื้นที่สารวจ เทคนิค
ทางด้านธรณีฟิสิกส์ที่นิยมนามาใช้ในการสารวจหาแหล่งปิโตรเลียม คือ การตรวจวัดค่าความเข้มสนามแม่เหล็กโลก
(Magnetic survey) การตรวจวัดค่าความโน้มถ่วง (Gravity survey) และการตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนของชั้นหิน
(Seismic survey) การสารวจทางธรณีฟิสิกส์เพื่อตรวจวัดค่าความเข้มของสนามแม่เหล็กโลก และการตรวจวัดค่าความ
โน้มถ่วง จะช่วยในการกาหนดขอบเขตและรูปร่างของแอ่งตะกอนในอดีตใต้ผิวดินลึกลงไปว่า มีศักยภาพที่จะเป็นแหล่ง
ปิโตรเลียมมากน้อยเพียงไร รวมทั้งสามารถกาหนดพื้นที่ให้แคบลงเพื่อทาการสารวจทางธรณีฟิสิกส์ ด้วยการตรวจวัด
คลื่นไหวสะเทือนของชั้นหินในขั้นต่อไป เพื่อประเมินลักษณะการเรียงตัวของชั้นหิน และโครงสร้างทางธรณีวิทยาใต้ผิว
ดิน สาหรับช่วยในการกาหนดตาแหน่งหลุมเจาะสารวจต่อไป การสารวจทางธรณีฟิสิกส์นั้นสามารถจะดาเนินการได้ทั้ง
พื้นที่บนบก และพื้นที่ในทะเล
3. การเจาะสารวจ (Drilling exploration) เมื่อประเมินผลการสารวจทางธรณีวิทยา และการสารวจทางธรณีฟิสิกส์
เข้าด้วยกันแล้ว ก็สามารถกาหนดโครงสร้างที่คาดว่าจะเป็นแหล่งกักเก็บปิโตรเลียมได้ในเบื้องต้น และลาดับต่อไปก็จะ
เป็นการเจาะสารวจ โดยในขั้นแรกจะเป็นการเจาะสารวจเพื่อหาข้อมูลทางธรณีวิทยาเกี่ยวกับลาดับชั้นหินใต้พื้นผิวลึกลง
ไป ตรวจสอบลักษณะตัวอย่างหิน และยืนยันลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาใต้ดิน รวมทั้งเพื่อค้นหาปิโตรเลียมหรือ
ร่องรอยของปิโตรเลียม ถ้าผลการเจาะสารวจพบว่ามีปิโตรเลียมสะสมตัวอยู่ในแหล่งใต้ดินลึกลงไป ก็จะมีการศึกษาและ
ตรวจสอบข้อมูลอื่นๆเพิ่มเติม เช่น ลักษณะและคุณภาพปิโตรเลียม อายุของชั้นกักเก็บปิโตรเลียม ชนิดของหิน ความพรุน
ของเนื้อหิน (Porosity) และคุณสมบัติการให้ของไหลซึมผ่านเนื้อหิน (Permeability) นอกจากนี้ ยังอาจมีการทดสอบหลุม
เจาะสารวจ เพื่อประเมินหาความสามารถในการผลิตปิโตรเลียมจากแหล่งกักเก็บที่สารวจพบด้วย ขั้นต่อไปจะเป็นการ
เจาะสารวจเพิ่มเติม เพื่อกาหนดขอบเขตที่แน่นอนของแหล่งปิโตรเลียม ปริมาณการไหล ปริมาณสารองของปิโตรเลียม
ในแหล่งกักเก็บ เพื่อการประเมินศักยภาพ และสมรรถนะของการผลิตปิโตรเลียมในเชิงพาณิชย์ต่อไป
การกลั่นน้ามันดิบ
การกลั่นน้ามันดิบคือ
การย่อยสลายสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เป็นส่วนประกอบของปิโตรเลียม
ออกเป็นกลุ่ม (Groups) หรือออกเป็นส่วน (Fractions) ต่างๆ โดยกระบวนการกลั่น (Distillation) ที่ยุ่งยากและ
ซับซ้อน น้ามันดิบในโรงกลั่นน้ามันนั้น ไม่เพียงแต่จะถูกแยกออกเป็นส่วนต่างๆ เท่านั้น แต่มลทิน (Impurities)
ชนิดต่างๆ เช่น กามะถัน ก็จะถูกกาจัดออกไปอีก โรงกลั่นน้ามันอาจผลิตน้ามัน แก๊ส และเคมีภัณฑ์ที่แตกต่างกัน
ออกมาได้มากมายถึง 80 ชนิด ผลิตภัณฑ์ที่สาคัญที่สุดคือ เชื้อเพลิงชนิดต่างๆ จากน้ามันส่วนที่เบากว่า
(Lighter
fractions) เช่น น้ามันเบนซิน (Petrol หรือ Gasoline) พาราฟิน (Parafin หรือ Kerosene) เบนซีน (Benzene) แต่น้ามัน
ส่วนที่หนักกว่า Heavier fractions) เช่น น้ามันดีเซล (Diesel) น้ามันหล่อลื่น (Lubricants) และน้ามันเตา (Fuel oils)
ก็นับได้ว่ามีความสาคัญเช่นกัน นอกเหนือไปจากนี้ ก็มีสารเหลือค้าง (Residues) อีกหลายชนิดเกิดขึ้น เช่น ถ่านโค้ก
(Coke) แอสฟัลต์ (Asphalt) และ บิทูเม็น (Bitumen) หรือน้ามันดิน (Tar) และขี้ผึ้ง (Wax หรือ Vaseline) ก็อาจได้รับ
การสกัดออกมา รวมทั้งยังมีแก๊สชนิดต่างๆ เกิดขึ้นด้วย เช่น บิวเทน (Butane) และโพรเพน (Propane)การกลั่น
น้ามันดิบจึงใช้การกลั่นลาดับสวน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1. ก่อนการกลั่นต้องแยกน้าและสารประกอบต่าง ๆ ออกจากน้ามันดิบก่อน จนเหลือแต่สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนเป็นส่วนใหญ่
2. ส่งผ่านสารประกอบไฮโดรคาร์บอนผ่านท่อเข้าไปในเตาเผาที่มีอุณหภูมิ
320 – 385OC น้ามันดิบที่ผ่านเตาเผาจะมีอุณหภูมิสูง จนบางส่วนเปลี่ยนสถานะเป็นไอปนไปกับของเหลว
3. ส่งสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทั้งที่เป็นของเหลวและไอผ่านเข้าไปใน หอกลั่น ซึ่งหอกลั่นเป็นหอสูง
ที่ภายในประกอบด้วยชั้นเรียงกันหลายสิบชั้น แต่ละชั้นจะมีอุณหภูมิแตกต่างกัน ชั้นบนมีอุณหภูมิต่า ชั้นล่างมี
อุณหภูมิสูง ดังนั้นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลต่าและจุดเดือดต่าจะระเหยขึ้นไปและควบแน่นเป็น
ของเหลวบริเวณชั้นที่อยู่ส่วนบนของหอกลั่น ส่วนสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลสูงและจุดเดือดสูง
กว่าจะควบแน่นเป็นของเหลวอยู่ในชั้นต่าลงมาตามช่วงอุณหภูมิของจุดเดือด สารประกอบไฮโดรคาร์บอนบางชนิด
ที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันจะควบแน่นปนกันออกมาชั้นเดียวกัน การเลือกช่วงอุณหภูมิในการเก็บผลิตภัณฑ์จึงขึ้นอยู่
กับจุดประสงค์ของการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลสูงมาก เช่น น้ามันเตา น้ามันหล่อลื่น และยางมะตอย ซึ่งมี
จุดเดือดสูงจึงยังคงเป็นของเหลวในช่วงอุณหภูมิของการกลั่น และจะถูกแยกอยู่ในชั้นตอนล่างของหอกลั่น
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ
ที่ได้จาการกลั่น
นามันดิบ

ก๊าซปิโตรเลียม
แนพทาเบา
แนพทาหนัก
น้ามันก๊าด
น้ามันดีเซล
น้ามันหล่อลื่น
ไข
น้ามันเตา
บิทูเมน

จานวนอะตอม
ของคาร์บอน

C1 – C4
C5 – C6
C6 – C10
C10 – C14
C14 – C19
C19 – C35
มากกว่า C35
มากกว่า 35

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียม
ช่วงของ
สถานะที่
ประโยชน์
อุณหภูมิ 25
จุดเดือด
องศา
(องศา
เซลเซียส
เซลเซียส )
ประโยชน์
< 300 – 65 ก็าซ
ทาสารเคมีวัสดุสังเคราะห์และเป็น
65 – 170
ของเหลว
เชื้อเพลิง
170 – 250 ของเหลว
ใช้ทาน้ามันเบนซิน
250 – 340 ของเหลว
ใช้ทาน้ามันเบนซิน ทาสารเคมี
340 – 500 ของเหลว
ใช้ทาเชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่น และ
> 500
ของเหลว
ตะเกียง
ของแข็ง
ใช้ทาเป็นเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์
ของเหลว
ดีเซล
> 500
ของแข็ง
ใช้เป็นน้ามันหล่อลื่น
ใช้ทาเทียนไขเครื่องสาอางยาขัดมันและ
วัตถุดิบในการผลิตผงซักฟอก
ใช้เป็นเชื้อเพลิงเครื่องจักร
ใช้ทาวัสดุกันซึม ใช้ทายาง มะตอยราด
ถนน

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ามันดิบแต่ละชนิด ถูกนาไปใช้ประโยชน์มากน้อยต่างกัน เช่น ในปัจจุบันมี
การใช้น้ามันเบนซิน ซึ่งประกอบด้วย C5 – C10และน้ามันดีเซลซึ่งประกอบด้วย C14 – C19 ในปริมาณที่สูงมาก ทาให้
น้ามันเบนซินและน้ามันดีเซลที่ได้จากการกลั่นน้ามันดิบมีปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการ ในขณะที่ผลิตภัณฑ์
ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม ซึ่งประกอบด้วยสารประกอบไอโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนมากๆ หรือมีมวลโมเลกุล
มาก ไม่เป็นที่ต้องการเทากับน้ามันเบนซินและน้ามันดีเซล ทาให้ไม่สมดุลกัน นักวิทยาศาสตร์จึงได้ใช้วิธีทา
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนมากๆ มาเปลี่ยนเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียง
กับน้ามันเบนซิน และน้ามันดีเซล และมีการปรับปรุงโครงสร้างของของโมเลกุลให้เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพดีขึ้น
ซึ่งทาได้หลายวิธี
ประโยชน์ของปิโตรเลียม
นักวิทยาศาสตร์พบว่า ถ้าจะนาปิโตรเลียมมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่นั้น ควรจะนาปิโตรเลียมไปผ่าน
กรรมวิธีการกลั่นแยกสารประกอบต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบออกเป็นส่วนต่างๆเสียก่อน ซึ่งวิธีการกลั่นออกเป็นส่วนๆ
นั้นมีอยู่หลายวิธี ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นแยกส่วนปิโตรเลียมนั้นมีไม่น้อยกว่า 80 ชนิด สามารถนาไปใช้ประโยชน์ใน
ด้านต่างๆ ได้อย่างมหาศาล ทั้งในด้านอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม เกษตรกรรม การขนส่ง การคมนาคม การก่อสร้าง การ
ผลิตสารสังเคราะห์ เช่น พลาสติก ใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ ฯลฯ และยังใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้อีกมากมาย
อาทิเช่น
1. ใช้เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อน ความสว่าง ในครัวเรือน
2. ใช้เป็นเชื้อเพลิงเติมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องบิน
3. ใช้เป็นวัสดุหล่อลื่น กันซึม ขัดมัน
4. สารสังเคราะห์ชนิดต่างๆ ที่สังเคราะห์จากสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากการกลั่น
ปิโตรเลียม เช่น พลาสติก เส้นใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์
5. ใช้ในการก่อสร้าง
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียม มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อชีวิตประจาวันของมนุษย์ เช่น
ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการคมนาคมขนส่ง ธุรกิจอุตสาหกรรม การผลิตกระแสไฟฟ้า เป็นสารหล่อลื่น สาหรับเครื่องจักร
นอกจากนี้ยังเป็นวัตถุดิบในการผลิต พลาสติก ยาปราบศัตรูพืช และ
ปิโตร เคมีภัณฑ์อื่นๆ อีกมากมาย
- ใช้ในการขนส่ง ประมาณร้อยละ 46 ของปิโตรเลียมได้ถูกนาไปใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงสาหรับรถยนต์ใน
ระบบเครื่องยนต์เผาไหม้ ภายใน (Internal combustion engine) ซึ่งได้แก่ น้ามันเบนซิน น้ามันดีเซล น้ามันเครื่องบินและ
ไอพ่น น้ามันเตาสาหรับรถไฟ และเรือ
- ใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับอุตสาหกรรม ซึ่งส่วนมากใช้น้ามันเตา และแก๊สธรรมชาติในโรงงานอุตสาหกรรม
โรงไฟฟ้าพลังความร้อน แก๊สหุงต้ม และในอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เครื่องสูบน้า ฯลฯ ซึ่งส่วนมากจะใช้น้ามันเบา
(Light oils) เป็นเชื้อเพลิง
- ใช้ในเครื่องกาเนิดความร้อน และให้แสงสว่าง น้ามันหนัก (Heavy oils) มักจะมีการนามาใช้ในเครื่องกาเนิด
ความร้อนของประเทศในแถบหนาว สาหรับโรงงาน สานักงาน และที่พักอาศัย น้ามันเบาก็มีความสาคัญเช่นกัน อาทิ
น้ามันก๊าด (Kerosene) ใช้เป็นเชื้อเพลิงให้แสงสว่าง และหุงต้มในท้องถิ่นที่ยังไม่เจริญหรืออยู่ห่างไกล แก๊สโพรเพน
(Propane) และบิวเทน (Butane) ใช้เป็นเชื้อเพลิงหุงต้มในครัวเรือน
- ใช้เป็นวัสดุหล่อลื่น ประมาณร้อยละ 1 - 2 ของน้ามันดิบที่ผ่านกระบวนการกลั่น จะได้รับการแปรสภาพไปเป็น
น้ามันหล่อลื่น (Lubricants) และจาระบี (Greases) สาหรับการขนส่งเครื่องยนต์และโรงงานอุตสาหกรรม
- ประโยชน์อื่นๆ อาทิเช่น แอสฟัลต์ (Asphalt) บิทูเม็น (Bitumen) น้ามันดิน (Tar) ใช้ราดถนน ฉาบหลังคา และใช้
เป็นสารกันน้า ขี้ผึ้ง (Wax) ใช้ทาเทียนไข วัสดุกันซึม วัสดุขัดมัน และเป็นเชื้อเพลิงให้แสงสว่าง
- สารปิโตรเลียม ปิโตรเลียมใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ซึ่งจะนาไปสู่การผลิตพลาสติกและ
สารสังเคราะห์มากมายหลายชนิด (Plastics) เส้นใยสังเคราะห์ (Synthetic fibres) และสิ่งทอสังเคราะห์ (Synthetic
textiles) ยางสังเคราะห์ (Synthetic rubber) สารคาร์บอนดา (Carbon black) ฯลฯ
การปรับปรุงโครงสร้างโมเลกุลของเชื้อเพลิงให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น
ก. กระบวนการแตกสลาย ( Cracking process ) กระบวนการแตกสลาย คือ การนาสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่ มาเผาที่อุณหภูมิ 450 - 550 องศาเซลเซียส ภายใต้ความดันต่า และมีซิลิกา - อะลูมินา
เป็นตัวเร่งปฎิกิริยาวิธีนี้เป็นการเพิ่มปริมาณน้ามันเชื้อเพลิงโดยเฉพาะน้ามันเบนซิน และน้ามันดีเซลให้เพียงพอกับ
ความต้องการ หรือเป็นการเพิ่มคุณภาพของน้ามันเชื้อเพลิงเพราะไฮโดรคาร์บอนที่มีขนาดโมเลกุลเล็กมีคุณสมบัติ
ในการเผาไหม้ดีกว่าโมเลกุลใหญ่ เช่น ถ้าผลิตภัณฑ์ที่ได้เป็นแอลเคนที่มีคาร์บอน 5 – 10 อะตอม หรือถ้าผลิตภัณฑ์
ทีได้เป็นแอลคีนที่มีคาร์บอน 5 – 10 อะตอม ก็ให้ทา ปฎิกิริยารวมตัวกับ H2 โดยมี Pt หรือ Ni เป็นตัวเร่งปฎิกิริยาก็
จะได้แอลเคนซึ่งสามารถนาไปใช้ทาน้ามันเบนซินต่อไปและเป็นการปรับปรุงคุณภาพด้วย เพราะผลิตภัณฑ์ที่ได้
ส่วนใหญ่มีโครงสร้างแบบมีกิ่งซึ่งเหมาะกับเครื่องยนต์เบนซิน สาหรับผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากกระบวนการแตกสลาย
ซึ่งมีคาร์บอนน้อยกว่า 5 อะตอม ก็สามารถนาไปผ่านกระบวนการในข้อ ค หรือข้อ ง ต่อไป
ข. วิธีรีฟอร์มมิง ( Reforming ) เป็นการเปลี่ยนไฮโดรคาร์บอนที่โครงสร้างแบบโซ่ตรงเป็น
ไฮโดรคาร์บอนที่โครงสร้างเป็นแบบโซ่มีกิ่งหรือเป็นการเปลี่ยนสารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงให้เป็น
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทอะโรเมติก โดยใช้ความร้อนและตัวเร่งปฏิกิริยา
ค. วิธีแอลคิเลชัน ( Alkylation ) เป็นการรวมโมเลกุลของแอลเคนกับแอลคีน โดยมีกรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่ง
ปฎิกิริยา เกิดเป็นโมเลกุลแอลเคนที่มีโครงสร้างแบบมีกิ่ง
ง. วิธีโอลิโกเมอไรเซซัน ( Oilgomerization ) เป็นวิธีการรวมไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว ( แอลคีน ) โมเลกุล
เล็กๆ เข้าด้วยกัน โดยใช้ความร้อนและตัวเร่งปฎิกิริยา จะได้สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีจานวนคาร์บอน
อะตอมเพิ่มขึ้น 1 2 3 หรือ 4 เท่าของไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัวที่ใช้เป็นสารตั้งต้น
วิธีรีฟอร์มมิง แอลคิเลชันและโอลิโกเมอไรเซซันใช้ในการปรับปรุงคุณภาพของน้ามันเชื้อเพลิง โดยเฉพาะ
น้ามันเบนซิน เพราะเป็นการผลิตสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีโครงสร้างแบบมีกิ่ง เนื่องจากน้ามันเบนซินที่
ประกอบด้วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีโครงสร้างแบบมีกิ่ง มีคุณภาพดีกว่าน้ามันเบนซินที่ประกอบด้วย
สารประกอบ ไฮโดรเจนคาร์บอนทีมีโครงสร้างแบบไม่มีกิ่ง
การกาหนดคุณภาพของน้ามันเบนซิน เบนซินเป็นน้ามันเชื้อเพลิงที่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยแอลเคนที่มี
คาร์บอน 5 – 10 อะตอม น้ามันเบนซินจึงมีสมบัติแตกต่างกันตามชนิดและปริมาณของแอลเคนที่เป็นองค์ประกอบ
จากการศึกษาพบว่าไอโซเมอร์ที่คาร์บอนต่อกันแบบโซ่มีกิ่งเป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพดีกว่าไอโซเมอร์ที่คาร์บอนต่อ
กันแบบโซ่ตรง เช่น ไอโซเมอร์หนึ่งของออกเทน ( C8 H18 ) ที่มีชื่อว่า ไอโซออกเทน เป็นเชื้อเพลิงที่เหมาะกับ
เครื่องยนต์ก๊าซโซลีนมาก เพราะช่วยทาให้เครื่องยนต์เดินเรียบไม่กระตุก สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไม่
เหมาะสมกับเครื่องยนต์ก๊าซโซลีนเลยคือ นอมาลเฮปเทน ซึ่งมีสูตรโครงสร้าง ดังนี้
CH3 –CH2 – CH2 –CH2 – CH2 – CH2–CH3 เมื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง จะทาให้เครื่องยนต์เกิดการชิงจุดระเบิด เป็นผลให้
เครื่องยนต์กระตุก ดังนั้นจึงได้มีการกาหนดคุณภาพของน้ามันเบนซินเป็นเลขออกเทน โดยเปรียบเทียบสมบัติการ
เผาไหม้ของน้ามัน ดังนี้
1. น้ามันเบนซินซึ่งมีสมบัติในการเผาไหม้เช่นเดียวกับไอโซออกเทนบริสุทธิ์ให้มีเลขออกเทนเทากับ 100
2. น้ามันเบนซินที่มีสมบัติในการเผาไหม้เช่นเดียวกับนอมาลเฮปเทนบริสุทธิ์ ให้มีเลขออกเทนเท่ากับ 0
3. ค่าเลขออกเทนอื่นๆ ให้เปรียบเทียบกับส่วนผสมระหว่างไฮโซออกเทนกับนอมาลเฮปเทน โดยคิดจาก
ร้อยละของไอโซออกเทน
ตัวอย่างที่ น้ามันเบนซินที่มีสมบัติในการเผาไหม้เช่นเดียวกับเชื้อเพลิงที่ได้จาก
การผสมไอโซออกเทนร้อยละ 95 และนอมาลเฮปเทนร้อยละ 5 แสดงว่ามีเลขออกเทนเท่ากับ 95
การปรับปรุงคุณภาพของน้ามันเบนซิน การปรับปรุงคุณภาพของน้ามันเบนซิน คือ การเพิ่มเลขออกเทน
ให้แก่น้ามันนั่นเอง เพราะน้ามันเบนซินที่กลั่นได้ส่วนใหญ่จะ มีเลขออกเทนค่อนข้างต่า การเพิ่มเลขออกเทนทาได้
โดยเติมสารเคมีบางชนิดลงไป เช่น สารประกอบเตตระเอทิลเลด ( ( C2H5 ) 2Pb หรือสารประกอบเตตระเมทิลเลด
CH3 ) 4Pb สารทั้งสองชนิดมีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิปกติไมมีสีไม่ละลายน้าแต่ละลายได้ดีในน้ามันเบนซิน
ช่วยทาให้เครื่องยนต์ไม่กระตุก แต่เมื่อน้ามันถูกเผาไหม้ในเครื่องยนต์ เตตระเอทิลเลดหรือเตตระเมทิลเลด จะ
เปลี่ยนออกไซด์หรือคาร์บอเนตของตะกั่วเป็นละอองอยู่ในอากาศ ซึ่งเป็นพิษต่อมนุษย์และสัตว์โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
จะเก็บสะสมไว้ที่ตับทาให้ประสิทธิภาพการทางานของตับต่าลง เพื่อลดภาวะมลพิษในอากาศ บางประเทศได้
ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเลิกใช้น้ามันที่มีสารประกอบของตะกั่ว มาใช้น้ามันไร้สารตะกั่วแทน น้ามันเบนซินไร้
สารตะกั่ว หรือยูแอลจี ( ULG ) คือ น้ามันเบนซินที่ใช้สารอื่นเพิ่มเลขออกเทน แทนสารประกอบของตะกั่ว ตัวอย่าง
สารเคมีที่ใช้เพิ่มเลขออกเทนแทนสารประกอบของตะกั่ว เช่น เมทิลเทอร์เชียรีบิวทิลอีเทอร์ ( Methyl tertiary butyl
etther ) ใช้ตัวย่อว่า MTBEการกาหนดคุณภาพของน้ามันดีเซล การกาหนดคุณภาพของน้ามันดีเซล ใช้วิธีการเปรียบ
กับซีเทน และแอลฟาเมทิลแนพทาลีน ( C11H10 ) ดังนั้นจึงได้มีการกาหนดคุณภาพของน้ามันดีเซล เป็นเลขซีเทน
และกาหนดให้ซีเทนมีเลขซีเทนเท่ากับ 100 และแอลฟาเมทิลแนพทาลีนมีเลขซีเทนเท่ากับ 0
ชื่อ......................................................................................ชั้น............................เลขที.่ .....................

ใบงานเรื่อง ปิโตรเลียม
1. จงอธิบายกระบวนการเกิดปิโตรเลียมและองค์ประกอบของปิโตรเลียม
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………..
2. การสารวจทางธรณีวิทยาเพื่อหาแหล่งปิโตรเลียมช่วยให้ได้ข้อมูลในการคาดคะเนในเรื่องใด
………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………….
3. การสารวจทางธรณีวิทยาเพื่อหาแหล่งปิโตรเลียมได้แก่การสารวจในเรื่องใด และข้อมูลที่ได้มีประโยชน์
อย่างไร
………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
4. การปรับปรุงโครงสร้างโมเลกุลของน้ามันโดยวิธีแอลคิเลชันแตกต่างจากวิธีโอลิโกเมอไรเซซันอย่างไร
………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
5. น้ามันเบนซินชนิดหนึ่งมีส่วนผสมของไอโซออกเทน 23 ส่วน และเฮปเทน 2 ส่วนโดยมวล น้ามันชนิดนี้มี
เลขออกเทนเท่าใด
………………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
6. น้ามันดีเซลชนิดหนึ่งมีเลขซีเทน 45 หมายความว่าอย่างไร
………………………………………………………………………………………………..………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
7. เพราะเหตุใดโรงเกลั่นน้ามันส่วนใหญ่จึงตั้งอยู่ริมทะเลหรือแม่น้า
………………………………………………………………………………………………..………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
ชื่อ......................................................................................ชั้น............................เลขที.่ .....................

ใบงาน เรื่อง ผลกระทบที่เกิดจากการขนส่ง
น้ามันดิบ
คาชี้แจง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสถานการณ์ต่อไปนี้
ในประเทศที่ไม่มีแหล่งน้ามันดิบ หรือมีน้อยไม่พอต่อการใช้ในประเทศจาเป็นต้องนาเข้าน้ามันจาก
ประเทศผู้ค้าโดยการขนส่งทางเรือมีหลายครั้งที่เรือขนส่งน้ามันเกิดอุบัติเหตุน้ามันรั่วไหลลงในทะเล
นักเรียนคิดว่าน้ามันที่รั่วไหลลงสู่ทะเลมีผลต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างไร มีวิธีการแก้ไขอย่างไรและใครเป็น
ผู้รับผิดชอบในเหตุการณ์
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
ชื่อ......................................................................................ชั้น............................เลขที.่ .....................

ใบงาน เรื่อง ปิโตรเลียมกับสังคมและเศรษฐกิจ
คาชี้แจง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลและอภิปรายในหัวข้อ
ประเทศใดบ้างเป็นแหล่งผลิตน้ามันดิบเป็นสินค้าส่งออกและประชากรของประเทศนั้นมีชีวิตความเป็นอยู่อย่างไร
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 

Was ist angesagt? (20)

Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 

Andere mochten auch

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
ใบความรู้การกลั่นน้ำมันดิบ
ใบความรู้การกลั่นน้ำมันดิบใบความรู้การกลั่นน้ำมันดิบ
ใบความรู้การกลั่นน้ำมันดิบplugin49
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์Wichai Likitponrak
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 

Andere mochten auch (7)

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
ใบความรู้การกลั่นน้ำมันดิบ
ใบความรู้การกลั่นน้ำมันดิบใบความรู้การกลั่นน้ำมันดิบ
ใบความรู้การกลั่นน้ำมันดิบ
 
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
เคมีพื้นบท5พอลิเมอร์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 

Ähnlich wie แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9

แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1suranon Chaimuangchuan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...Sirirat Faiubon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดguestbf0238
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดguestf57acc
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดtassanee chaicharoen
 

Ähnlich wie แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 (20)

7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมีพื้นฐาน รหัสวิชา ว 31121 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ปิโตรเลียม เวลา 14 ชั่วโมง เรื่อง การกาเนิดปิโตรเลียม เวลา 2 ชั่วโมง เขียนโดย นางสาวประภาพรรณ ฝ่ายเทศ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์ ***************************************************************************************** 1. มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว ๓.๒ ม. ๔/ ๓ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดปิโตรเลียม กระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติและการกลั่นลาดับ ส่วนน้ามันดิบ ว ๓.๒ ม. ๔/ ๔ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนาผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกก๊าซธรรมชาติและการกลั่นลาดับส่วน น้ามันดิบไปใช้ประโยชน์รวมทั้งผลจากผลิตภัณฑ์ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 2. สาระสาคัญ ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของอินทรียสารจากพืชและสัตว์เป็นเวลาหลายสิบล้านปีภายใต้ ความดันและความร้อนสูง และมีปริมาณออกซิเจนจากัด จึงสลายตัวเปลี่ยนสภาพเป็นแก๊สธรรมชาติและน้ามันดิบ ปิโตรเลียมประกอบด้วยน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ น้ามันดิบประกอบด้วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอนนับร้อย ชนิดซึ่งสามารถแยกออกจากันได้โดยวิธีการกลั่นลาดับส่วน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ (K) - อธิบายการเกิด แหล่ง และกระบวนการสารวจปิโตรเลียม - อธิบายหลักการในการกลั่นลาดับส่วนน้ามันปิโตรเลียมและการแยกก๊าซธรรมชาติ - อธิบายผลเสียที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) - บอกผลิตภัณฑ์หลักและประโยชน์ของผลิตภัณฑ์จากน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ - บอกความสัมพันธ์ระหว่างจานวนอะตอมคาร์บอนในสารประกอบไฮโดรคาร์บอนกับสถานะและ สมบัติของสารนั้นๆ - บอกความแตกต่างระหว่างการกลั่นลาดับส่วนและการกลั่นธรรมดา
  • 2. 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรม (A) ( ) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ( / ) ซื่อสัตย์สุจริต ( / ) มีวินัย ( / ) ใฝ่เรียนรู้ ( ) อยู่อย่างพอเพียง ( / ) มุ่งมั่นในการทางาน ( ) รักความเป็นไทย ( /) มีจิตสาธารณะ 4. เนื้อหาสาระ กาเนิดและแหล่งปิโตรเลียม 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ( /) รักการสื่อสาร ( / ) การคิด ( / ) การแก้ปัญหา ( ) ทักษะชีวิต ( ) การใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ( ) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ( / ) ซื่อสัตย์สุจริต ( / ) มีวินัย ( / ) ใฝ่เรียนรู้ ( ) อยู่อย่างพอเพียง ( / ) มุ่งมั่นในการทางาน ( ) รักความเป็นไทย ( /) มีจิตสาธารณะ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ 7.1ขั้นสร้างความสนใจ ( Engagement) 1. ครูทบทวน เรื่องปิโตรเลียม โดยให้ นักเรียนดูรูปแหล่งน้ามัน ในประเทศไทย แล้วถามนักเรียนดังนี้ - นักเรียนเคยไปเที่ยวหรือไม่ - ประเทศไทยผลิตน้ามันได้หรือไม่ มีแหล่งผลิตอยู่ที่ใดบ้าง - น้ามันมีโอกาสหมดไปจากโลกหรือไม่ - น้ามันเกิดขึ้นได้อย่างไร - ปิโตรเลียมแบ่งได้กี่ประเภท อะไรบ้าง - สารประกอบไฮโดรคาร์บอนประกอบด้วยธาตุใดบ้าง - ปิโตรเลียมที่เกิดขึ้นเกิดขึ้นจะถูกกักเก็บไว้ทนชั้นหินชนิดใด - วิธีการสารวจแหล่งปิโตรเลียมทาได้อย่างไร 2. แจ้งผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและการวัดผลประเมินผลให้นักเรียนทราบ 7.2 ขั้นสารวจและขั้นหา( Exploration) 3. แบ่งนักเรียนออกเป็น กลุ่ม ๆ 4-5 คน แต่ละกลุ่มประกอบด้วยนักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน คละกัน ให้ นักเรียนสืบค้นข้อมูล ความหมายของปิโตรเลียม ลักษณะ องค์ประกอบและสมบัติของปิโตรเลียมในสถานะต่าง ๆ แหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย และในโลก แล้วนาข้อมูลมาร่วมกันอภิปราย 4. ให้นักเรียนศึกษาเรื่องปิโตรเลียม แล้วร่วมกันอภิปราย โดยใช้ใบความรู้ประกอบการอภิปราย ตาม ประเด็นดังนี้ - การเกิดปิโตรเลียม - วิธีการสารวจและขุดเจาะปิโตรเลียม
  • 3. - กระบวนการกลั่นน้ามันดิบ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ามันดิบและการใช้ประโยชน์ -. วิธีการปรับปรุงคุณภาพของน้ามันเชื้อเพลิง 5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา อภิปราย ทาแบบฝึกหัด และกาหนดหน้าที่กัน เองในกลุ่ม เช่น คนที่ 1 อ่านคาถาม วิเคราะห์สิ่งที่โจทย์กาหนดให้และสิ่งที่โจทย์ถาม คนที่ 2 ดาเนินการอภิปรายระดมความคิด วิเคราะห์แนวทางคาถาม และอธิบายคาตอบตามโจทย์ ต้องการ คนที่ 3 เขียนคาตอบ คนที่ 4 ตรวจสอบคาตอบและความถูกต้อง 7.3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป( Explanation) 6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับ การกาเนิดปิโตรเลียม และแหล่งปิโตรเลียม ปิโตรเลียม ( Petroleum) มาจากรากศัพท์ภาษาละติน 2 คา คือ เพทรา ( Petra) แปลว่าหิน และโอลิอุม (Oleum) แปลว่าน้ามัน รวมกันแล้วมีความหมายว่า น้ามันที่ได้จากหิน ปิโตรเลียมเป็นสารผสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและสารอินทรีย์หลายชนิดที่เกิดตามธรรมชาติ ทั้งในสถานะของเหลวและแก๊ส ได้แก่น้ามันดิบ (Crude oil) และแก๊สธรรมชาติ (Natural gas) การเกิดปิโตรเลียม ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของอินทรียสารจากพืชและสัตว์ที่คลุกเคล้าอยู่กับตะกอนใน ชั้นกรวดทรายและโคลนตมใต้พื้นดินเมื่อเวลาผ่านไปนับล้านปีตะกอนเหล่านี้จะจมตัวลงเรื่อยๆเนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงของผิวโลก ถูกอัดแน่นด้วยความดันและความร้อนสูง และมีปริมาณออกซิเจนจากัด จึงสลายตัวเปลี่ยน สภาพเป็นแก๊สธรรมชาติและน้ามันดิบแทรกอยู่ระหว่างชั้นหินที่มีรูพรุน ปิโตรเลียมจากแหล่งต่างกันจะมีปริมาณของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนรวมทั้งสารประกอบของ กามะถันไนโตรเจนและออกซิเจนแตกต่างกันโดยขึ้นอยู่กับชนิดของซากพืชและสัตว์ที่เป็นต้นกาเนิดของ ปิโตรเลียม และอิทธิพลของแรงที่ทับถมอยู่บนตะกอน 7.4 ขั้นขยายความรู้ ( Elaboration) 7. ครูให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่างน้ามันปิโตรเลียม (น้ามันดิบ) แล้วร่วมกัน อภิปรายจนสามารถบอก สมบัติทางกายภาพบางอย่างได้ เช่น สี ความหนืด 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสารประกอบของน้ามันดิบ และวิธีการแยกส่วนประกอบ เหล่านั้น โดยใช้ภาพหอกลั่นของโรงกลั่นน้ามันไทยออยล์ หรือภาพวาดหอกลั่นเพื่อสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง จานวนอะตอมของคาร์บอนกับสถานะ และจุดเดือดของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดพร้อมทั้งการนาไปใช้ 7.5 ขั้นประเมินผล ( Evaluation) 9. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย ตรวจความถูกต้อง ตอบคาถามโดยให้นักเรียนทุกคนในกลุ่ม เข้าใจคาตอบก่อนส่ง
  • 4. 10. ให้นักเรียนช่วยกันเฉลยคาตอบพร้อมทั้งให้เหตุผล 11. ชมเชยกลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดและนักเรียนที่ให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม 8. สื่ออุปกรณ์/ แหล่งเรียนรู้(สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้) 8.1 สื่ออุปกรณ์ 1. ใบความรู้ เรื่อง ปิโตรเลียม 3. ใบงาน เรื่องปิโตรเลียมกับสังคมและเศรษฐกิจ 2. ใบงาน เรื่อง ปิโตรเลียม 4. ใบงาน เรื่อง ผลกระทบที่เกิดจากการขนส่งน้ามันดิบ 8.2 แหล่งเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. อินเตอร์เน็ต 9. ภาระงาน/หลักฐาน/ชิ้นงานสาคัญ 9.1 ใบความรู้ เรื่อง ปิโตรเลียม 9.2 ใบงาน เรื่อง ปิโตรเลียม
  • 5. 10. การวัดผลประเมินผล 10.1 การวัดผลและประเมินการวัดและประเมินผล สิ่งที่ต้องการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัด และประเมินผล - ตรวจใบงาน - ใบงาน - ตรวจวัดความรู้ราย - ข้อสอบ บุคคล เกณฑ์การวัดและประเมินผล 2.ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - ทดสอบ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต พฤติกรรมการ ทางาน ระดับคุณภาพ 3 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรม (A) - ซื่อสัตย์ - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทางาน - มีจิตสาธารณะ - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 3 คุณธรรมจริยธรรม 1. ด้านความรู้ (K) - อธิบายการเกิด แหล่ง และกระบวนการสารวจ ปิโตรเลียม -อธิบายหลักการในการ กลั่นลาดับส่วนน้ามัน ปิโตรเลียมและการแยกก๊าซ ธรรมชาติ - อธิบายผลเสียที่เกิดจาก การใช้ผลิตภัณฑ์จาก ปิโตรเลียมที่มีต่อมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม - ผ่านเกณฑ์การทาใบงานถูกต้องผ่าน เกณฑ์ระดับ 3
  • 6. 10.2 เกณฑ์การประเมินผล 1. ความสามารถด้านความรู้ ผ่านเกณฑ์การทาใบงานถูกต้อง ผ่านเกณฑ์ระดับ 3 ระดับคุณภาพ 4 (ดีมาก) 3(ดี) 2( พอใช้) 1(ต้องปรับปรุง) แบบประเมินรายงานการทาใบงาน เกณฑ์การพิจารณา - ทาใบงานครบถ้วนและเสร็จตามกาหนดเวลา - ทาใบงานได้ถูกต้อง - แสดงลาดับขั้นตอนของการทาใบงานชัดเจนเหมาะสม - ทาใบงานครบถ้วนและเสร็จตามกาหนดเวลา - ทาใบงานได้ถูกต้อง - สลับขั้นตอนของการทาใบงานหรือไม่ระบุขั้นตอนของการทาใบงาน - ทาใบงานครบถ้วนแต่เสร็จหลังกาหนดเวลาเล็กน้อย - ทาใบงานได้ถูกต้อง - สลับขั้นตอนของการทาใบงานหรือไม่ระบุขั้นตอนของการทาใบงาน - ทาใบงานครบถ้วยและเสร็จตามกาหนดเวลา - ทาใบงานไม่ถูกต้อง - แสดงลาดับขั้นตอนของการทาใบงานไม่สัมพันธ์กับโจทย์หรือไม่แสดงลาดับ ขั้นตอน
  • 7. แบบประเมินการทาใบงาน หน่วยที.่ .............................................................................เรื่อง..................................................... ชื่อผู้เรียน.......................................................................................ชั้น..........................เลขที.่ ................ ครั้งที่ ลักษณะการทางาน เดี่ยว ระดับคุณภาพ กลุ่ม 4 3 น้าหนัก คะแนน คะแนนที่ ได้ 2 1 ข้อเสนอแนะ / ปัญหาที่ควรแก้ไข ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลง ชื่อ ผู้ประเมิน (นางสาวประภาพรรณ ฝ่ายเทศ) ......................./......................./....................
  • 9. ความสามารถด้านคุณธรรม จริยธรรมแบบประเมินคุณธรรมจริยธรรม ชื่อ – สกุล ซื่อสัตย์ สุจริต (10) ลงชื่อ (นางสาวประภาพรรณ ฝ่ายเทศ) ผู้ประเมิน มีวินัย (10) พฤติกรรมที่สังเกต มุ่ง มั่น มีจิต ในการ สาธารณะ ใฝ่ ทางาน (10) เรียน รู้(10) (10) รวม (50) เทียบ ส่วน (10)
  • 10. ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ) (นายสุขประชัย คายานุกูล) ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ ข้อเสนอแนะของรองผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาวิชาการ ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ) (นางศิริพร พิมลทีป) ตาแหน่ง รองผู้อานวยการ กลุ่มบริหารวิชาการ ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… (ลงชื่อ) (นายเกษม ไชยรัตน์) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนนาเชือกพิทยาสรรค์
  • 11. บันทึกผลหลังการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ (นางสาวประภาพรรณ ฝ่ายเทศ) ครูผู้ช่วย
  • 12. ใบความรู้ เรื่อง ปิโตรเลียม ปิโตรเลียม ( Petroleum) มาจากรากศัพท์ภาษาละติน 2 คา คือ เพทรา ( Petra) แปลว่าหิน และโอลิอุม (Oleum) แปลว่าน้ามัน รวมกันแล้วมีความหมายว่า น้ามันที่ได้จากหิน ปิโตรเลียมเป็นสารผสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและสารอินทรีย์หลายชนิดที่เกิดตามธรรมชาติ ทั้งในสถานะของเหลวและแก๊ส ได้แก่น้ามันดิบ (Crude oil) และแก๊สธรรมชาติ (Natural gas) น้ามันดิบ จากแหล่งต่าง ๆ อาจมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกัน เช่น มีลักษณะข้นเหนียว จนถึงหนืด คล้ายยางมะตอย มีสีเหลือง เขียว น้าตาลจนถึงดา มีความหนาแน่น 0.79 – 0.97 g/cm3 น้ามันดิบมีองค์ประกอบส่วน ใหญ่เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทแอลเคน และไซโคลแอลเคน อาจมีสารประกอบของ N ,Sและ สารประกอบออกไซด์อื่น ๆ ปนอยู่เล็กน้อย แก๊สธรรมชาติ (Natural gas) มีองค์ประกอบหลักคือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนใน โมเลกุล 1–5 อะตอมประมาณร้อยละ 95 ที่เหลือเป็นแก๊สไนโตรเจนและ คาร์บอนไดออกไซด์อาจมีแก๊ส ไฮโดรเจนซัลไฟด์ปนอยู่ด้วยแก๊สธรรมชาติอาจมีสถานะเป็นของเหลวเรียกว่ าแก๊สธรรมชาติเหลว(Condensate) ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนเช่นเดียวกับแก๊สธรรมชาติ แต่มีจานวนอะตอมคาร์บอนมากกว่า เมื่ออยู่ในแหล่งกัก เก็บใต้ผิวโลกที่ลึกมากและมีอุณหภูมิสูงมากจะมีสถานะเป็นแก๊ส แต่เมื่อนาขึ้นบนถึงระดับผิวดินซึ่งมีอุณหภูมิต่า กว่า ไฮโดร คาร์บอนจะกลายสภาพเป็นของเหลว ปริมาณธาตุองค์ประกอบของน้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ ชนิดของปิโตรเลียม น้ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ ปริมาณเป็นร้อยละโดยมวล C H S 82 – 87 12 – 15 0.1 – 1.5 65 – 80 1 – 25 0.2 N 0.1 – 1 1 – 15 การเกิดปิโตรเลียม ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของอินทรียสารจากพืชและสัตว์ที่คลุกเคล้าอยู่กับตะกอนใน ชั้นกรวดทรายและโคลนตมใต้พื้นดินเมื่อเวลาผ่านไปนับล้านปีตะกอนเหล่านี้จะจมตัวลงเรื่อย ๆ เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงของผิวโลก ถูกอัดแน่นด้วยความดันและความร้อนสูง และมีปริมาณออกซิเจนจากัด จึงสลายตัวเปลี่ยน สภาพเป็นแก๊สธรรมชาติและน้ามันดิบแทรกอยู่ระหว่างชั้นหินที่มีรูพรุน
  • 13. ปิโตรเลียมจากแหล่งต่างกันจะมีปริมาณของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนรวมทั้งสารประกอบของ กามะถัน ไนโตรเจน และออกซิเจนแตกต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับชนิดของซากพืชและสัตว์ที่เป็นต้นกาเนิดของ ปิโตรเลียม และอิทธิพลของแรงที่ทับถมอยู่บนตะกอน แหล่งกักเก็บปิโตรเลียม ปิโตรเลียมที่เกิดอยู่ในชั้นหิน จะมีการเคลื่อนตัวออกไปตามรอยแตกและรูพรุนของหินไปสูระดับความ ลึกน้อยกว่าแล้วสะสมตัวอยู่ในโครงสร้างหินที่มีรูพรุน มีโพรง หรือรอยแตกในเนื้อหินที่สามารถให้ปิโตรเลียม สะสมคัวอยู่ได้ ด้านบนเป็นหินตะกอนหรือหินดินดานเนื้อแน่นละเอียดปิดกั้นไม่ให้ปิโตรเลียมไหลลอดออกไปได้ โครงสร้างปิดกั้นดังกล่าวเรียกว่า แหล่งกักเก็บปิโตรเลียม การสารวจปิโตรเลียม เรารู้จักผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมในรูปแบบต่างๆ เช่นแก๊สหุงต้มน้ามันก๊าดน้ามันเบนซินยางมะตอยแต่เราไม่เคย เห็นปิโตรเลียมตามธรรมชาติเลย ปิโตรเลียม ประกอบด้วยก๊าซธรรมชาติเหลวและน้ามันดิบ ซึ่งเป็นของเหลวข้นๆสีดา ๆก๊าซธรรมชาติเหลวจะอยู่ ชั้นบนของปิโตรเลียมและเกิดจากการกลั่นตัวตามธรรมชาติของน้ามันดิบ ปิโตรเลียมเกิดจากซากพืชซากสัตว์ตายทับถมกันภายใต้พื้นพิภพเป็นเวลาล้าน ๆ ปี จนกลายเป็นชั้นหินด้วยความ กดดันสูงอันเกิดจากการเคลื่อนตัวและหดตัวของชั้นหินและอุณหภูมิใต้พิภพ สารอินทรีย์เหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นธาตุ ไฮโดรเจนและไฮโดรคาร์บอนจะมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีอย่างช้า ๆ แปรสภาพเป็นก๊าซและน้ามันดิบสะสมและซึม ผ่านชั้นหินที่เป็นรูพรุน เช่น ชั้นหินทรายและชั้นหินปูนไปสู่แอ่งหินที่ต่ากว่า จากนั้นค่อย ๆ สะสมตัวอยู่ระหว่างชั้นหินที่ หนาแน่น ซึ่งไม่สามารถซึมผ่านไปได้อีก โดยปกติปริมาณการสะสมตัวจะมี 5.25 % ของปริมาตรหิน เนื่องจาก
  • 14. ปิโตรเลียมถูกบีบอัดด้วยชั้นหินต่าง ๆ มันจะพยายามแทรกตัวขึ้นมายังผิวโลกตามรอยแตกของชั้นหิน เว้นแต่ว่า มันจะถูกปิดกั้นด้วยชั้นหินเนื้อแน่น ซึ่งทาให้มันถูกกักไว้ใต้ผิวโลก ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของชั้นหินใต้ผิว โลกที่เหมาะสมในการเกิดปิโตรเลียม คือ ชั้นหินรูปโค้งประทุนคว่า(anticlinal trap)โครงสร้างรูปรอยเลื่อนของชั้นหิน (fault trap) โครงสร้างรูปโดม (domal trap) และโครงสร้างรูปประดับชั้น (stratigraphic trap) การสารวจหาแหล่งปิโตรเลียมนั้นเป็นการสารวจหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับขนาด รูปทรงทางเรขาคณิตของแหล่ง ปิโตรเลียม และระดับความลึกจากพื้นผิวของแหล่ง เพื่อประเมินปริมาณสารองและคุณภาพของปิโตรเลียม นอกจากนี้ ยัง ต้องสารวจหาข้อมูลทางด้านวิศวกรรมปิโตรเลียมที่เกี่ยวข้อง เช่น ความกดดันของแหล่งปิโตรเลียม อัตราการไหลของ ปิโตรเลียม และความสามารถในการผลิตปิโตรเลียม ทั้งนี้รวมไปถึงชนิดของปิโตรเลียมในแหล่งสะสมตัวอีกด้วย ขั้นตอนในการสารวจปิโตรเลียมอาจจาแนก ออกได้เป็นขั้นตอนหลัก ๓ ขั้นตอน คือ การสารวจทางธรณีวิทยา การ สารวจทางธรณีฟิสิกส์ และการเจาะสารวจ 1. การสารวจทางธรณีวิทยา (Geological exploration) การสารวจในขั้นนี้ จะเริ่มต้นด้วยการรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับสภาพธรณีวิทยาของพื้นที่และบริเวณใกล้เคียง ซึ่งได้มีการดาเนินการมาก่อนแล้ว เพื่อประเมินผลสาหรับการ สารวจเพิ่มเติมต่อไป ถ้าพื้นที่สารวจเป็นพื้นที่บนบก นักธรณีวิทยาจะต้องศึกษาสภาพธรณีวิทยาของพื้นที่ การใช้ภาพถ่าย ทางอากาศ และภาพถ่ายจากดาวเทียม ช่วยพิจารณาลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยา (Geological structure) ของพื้นที่การ สารวจภาคสนามเพื่อตรวจสอบหินที่โผล่ให้เห็นบนพื้นผิว การตรวจวิเคราะห์อายุหิน การวิเคราะห์ตัวอย่างหินทางธรณี เคมี (Geochemical analysis) เพื่อหาหินต้นกาเนิดปิโตรเลียม (Source rock) และวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพของหิน การประเมินผลการสารวจทางธรณีวิทยา ทาให้สามารถกาหนดขอบเขตของพื้นที่ ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะมีความเป็นไปได้ ทางด้านหินต้นกาเนิดปิโตรเลียม หินกักเก็บปิโตรเลียม (Reservoir rock) ซึ่งจะกลายเป็นแหล่งปิโตรเลียมต่อไปได้ 2. การสารวจทางธรณีฟิสิกส์ (Geophysical exploration) การสารวจในขั้นนี้อาศัยหลักคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของ ชั้นหินชนิดต่างๆ อาทิ คุณสมบัติด้านแม่เหล็กไฟฟ้า คุณสมบัติในการเป็นตัวกลางของคลื่นชนิดต่างๆ เป็นต้นมาเป็น ข้อพิจารณา เพื่อตรวจสอบสภาพธรณีวิทยาใต้ผิวดิน ทั้งในเรื่องการเรียงลาดับชั้นหิน โครงสร้างทางธรณีวิทยา โดยใช้ เครื่องมือทางธรณีฟิสิกส์ช่วยในการตรวจวัดคุณสมบัติต่างๆ ของหินที่อยู่ใต้ผิวดินลึกลงไปในพื้นที่สารวจ เทคนิค ทางด้านธรณีฟิสิกส์ที่นิยมนามาใช้ในการสารวจหาแหล่งปิโตรเลียม คือ การตรวจวัดค่าความเข้มสนามแม่เหล็กโลก (Magnetic survey) การตรวจวัดค่าความโน้มถ่วง (Gravity survey) และการตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนของชั้นหิน (Seismic survey) การสารวจทางธรณีฟิสิกส์เพื่อตรวจวัดค่าความเข้มของสนามแม่เหล็กโลก และการตรวจวัดค่าความ โน้มถ่วง จะช่วยในการกาหนดขอบเขตและรูปร่างของแอ่งตะกอนในอดีตใต้ผิวดินลึกลงไปว่า มีศักยภาพที่จะเป็นแหล่ง ปิโตรเลียมมากน้อยเพียงไร รวมทั้งสามารถกาหนดพื้นที่ให้แคบลงเพื่อทาการสารวจทางธรณีฟิสิกส์ ด้วยการตรวจวัด คลื่นไหวสะเทือนของชั้นหินในขั้นต่อไป เพื่อประเมินลักษณะการเรียงตัวของชั้นหิน และโครงสร้างทางธรณีวิทยาใต้ผิว ดิน สาหรับช่วยในการกาหนดตาแหน่งหลุมเจาะสารวจต่อไป การสารวจทางธรณีฟิสิกส์นั้นสามารถจะดาเนินการได้ทั้ง พื้นที่บนบก และพื้นที่ในทะเล
  • 15. 3. การเจาะสารวจ (Drilling exploration) เมื่อประเมินผลการสารวจทางธรณีวิทยา และการสารวจทางธรณีฟิสิกส์ เข้าด้วยกันแล้ว ก็สามารถกาหนดโครงสร้างที่คาดว่าจะเป็นแหล่งกักเก็บปิโตรเลียมได้ในเบื้องต้น และลาดับต่อไปก็จะ เป็นการเจาะสารวจ โดยในขั้นแรกจะเป็นการเจาะสารวจเพื่อหาข้อมูลทางธรณีวิทยาเกี่ยวกับลาดับชั้นหินใต้พื้นผิวลึกลง ไป ตรวจสอบลักษณะตัวอย่างหิน และยืนยันลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาใต้ดิน รวมทั้งเพื่อค้นหาปิโตรเลียมหรือ ร่องรอยของปิโตรเลียม ถ้าผลการเจาะสารวจพบว่ามีปิโตรเลียมสะสมตัวอยู่ในแหล่งใต้ดินลึกลงไป ก็จะมีการศึกษาและ ตรวจสอบข้อมูลอื่นๆเพิ่มเติม เช่น ลักษณะและคุณภาพปิโตรเลียม อายุของชั้นกักเก็บปิโตรเลียม ชนิดของหิน ความพรุน ของเนื้อหิน (Porosity) และคุณสมบัติการให้ของไหลซึมผ่านเนื้อหิน (Permeability) นอกจากนี้ ยังอาจมีการทดสอบหลุม เจาะสารวจ เพื่อประเมินหาความสามารถในการผลิตปิโตรเลียมจากแหล่งกักเก็บที่สารวจพบด้วย ขั้นต่อไปจะเป็นการ เจาะสารวจเพิ่มเติม เพื่อกาหนดขอบเขตที่แน่นอนของแหล่งปิโตรเลียม ปริมาณการไหล ปริมาณสารองของปิโตรเลียม ในแหล่งกักเก็บ เพื่อการประเมินศักยภาพ และสมรรถนะของการผลิตปิโตรเลียมในเชิงพาณิชย์ต่อไป การกลั่นน้ามันดิบ การกลั่นน้ามันดิบคือ การย่อยสลายสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เป็นส่วนประกอบของปิโตรเลียม ออกเป็นกลุ่ม (Groups) หรือออกเป็นส่วน (Fractions) ต่างๆ โดยกระบวนการกลั่น (Distillation) ที่ยุ่งยากและ ซับซ้อน น้ามันดิบในโรงกลั่นน้ามันนั้น ไม่เพียงแต่จะถูกแยกออกเป็นส่วนต่างๆ เท่านั้น แต่มลทิน (Impurities) ชนิดต่างๆ เช่น กามะถัน ก็จะถูกกาจัดออกไปอีก โรงกลั่นน้ามันอาจผลิตน้ามัน แก๊ส และเคมีภัณฑ์ที่แตกต่างกัน ออกมาได้มากมายถึง 80 ชนิด ผลิตภัณฑ์ที่สาคัญที่สุดคือ เชื้อเพลิงชนิดต่างๆ จากน้ามันส่วนที่เบากว่า (Lighter fractions) เช่น น้ามันเบนซิน (Petrol หรือ Gasoline) พาราฟิน (Parafin หรือ Kerosene) เบนซีน (Benzene) แต่น้ามัน ส่วนที่หนักกว่า Heavier fractions) เช่น น้ามันดีเซล (Diesel) น้ามันหล่อลื่น (Lubricants) และน้ามันเตา (Fuel oils) ก็นับได้ว่ามีความสาคัญเช่นกัน นอกเหนือไปจากนี้ ก็มีสารเหลือค้าง (Residues) อีกหลายชนิดเกิดขึ้น เช่น ถ่านโค้ก (Coke) แอสฟัลต์ (Asphalt) และ บิทูเม็น (Bitumen) หรือน้ามันดิน (Tar) และขี้ผึ้ง (Wax หรือ Vaseline) ก็อาจได้รับ การสกัดออกมา รวมทั้งยังมีแก๊สชนิดต่างๆ เกิดขึ้นด้วย เช่น บิวเทน (Butane) และโพรเพน (Propane)การกลั่น น้ามันดิบจึงใช้การกลั่นลาดับสวน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
  • 16. 1. ก่อนการกลั่นต้องแยกน้าและสารประกอบต่าง ๆ ออกจากน้ามันดิบก่อน จนเหลือแต่สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนเป็นส่วนใหญ่ 2. ส่งผ่านสารประกอบไฮโดรคาร์บอนผ่านท่อเข้าไปในเตาเผาที่มีอุณหภูมิ 320 – 385OC น้ามันดิบที่ผ่านเตาเผาจะมีอุณหภูมิสูง จนบางส่วนเปลี่ยนสถานะเป็นไอปนไปกับของเหลว 3. ส่งสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทั้งที่เป็นของเหลวและไอผ่านเข้าไปใน หอกลั่น ซึ่งหอกลั่นเป็นหอสูง ที่ภายในประกอบด้วยชั้นเรียงกันหลายสิบชั้น แต่ละชั้นจะมีอุณหภูมิแตกต่างกัน ชั้นบนมีอุณหภูมิต่า ชั้นล่างมี อุณหภูมิสูง ดังนั้นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลต่าและจุดเดือดต่าจะระเหยขึ้นไปและควบแน่นเป็น ของเหลวบริเวณชั้นที่อยู่ส่วนบนของหอกลั่น ส่วนสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลสูงและจุดเดือดสูง กว่าจะควบแน่นเป็นของเหลวอยู่ในชั้นต่าลงมาตามช่วงอุณหภูมิของจุดเดือด สารประกอบไฮโดรคาร์บอนบางชนิด ที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันจะควบแน่นปนกันออกมาชั้นเดียวกัน การเลือกช่วงอุณหภูมิในการเก็บผลิตภัณฑ์จึงขึ้นอยู่ กับจุดประสงค์ของการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลสูงมาก เช่น น้ามันเตา น้ามันหล่อลื่น และยางมะตอย ซึ่งมี จุดเดือดสูงจึงยังคงเป็นของเหลวในช่วงอุณหภูมิของการกลั่น และจะถูกแยกอยู่ในชั้นตอนล่างของหอกลั่น
  • 17. ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ได้จาการกลั่น นามันดิบ ก๊าซปิโตรเลียม แนพทาเบา แนพทาหนัก น้ามันก๊าด น้ามันดีเซล น้ามันหล่อลื่น ไข น้ามันเตา บิทูเมน จานวนอะตอม ของคาร์บอน C1 – C4 C5 – C6 C6 – C10 C10 – C14 C14 – C19 C19 – C35 มากกว่า C35 มากกว่า 35 ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียม ช่วงของ สถานะที่ ประโยชน์ อุณหภูมิ 25 จุดเดือด องศา (องศา เซลเซียส เซลเซียส ) ประโยชน์ < 300 – 65 ก็าซ ทาสารเคมีวัสดุสังเคราะห์และเป็น 65 – 170 ของเหลว เชื้อเพลิง 170 – 250 ของเหลว ใช้ทาน้ามันเบนซิน 250 – 340 ของเหลว ใช้ทาน้ามันเบนซิน ทาสารเคมี 340 – 500 ของเหลว ใช้ทาเชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่น และ > 500 ของเหลว ตะเกียง ของแข็ง ใช้ทาเป็นเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ ของเหลว ดีเซล > 500 ของแข็ง ใช้เป็นน้ามันหล่อลื่น ใช้ทาเทียนไขเครื่องสาอางยาขัดมันและ วัตถุดิบในการผลิตผงซักฟอก ใช้เป็นเชื้อเพลิงเครื่องจักร ใช้ทาวัสดุกันซึม ใช้ทายาง มะตอยราด ถนน ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ามันดิบแต่ละชนิด ถูกนาไปใช้ประโยชน์มากน้อยต่างกัน เช่น ในปัจจุบันมี การใช้น้ามันเบนซิน ซึ่งประกอบด้วย C5 – C10และน้ามันดีเซลซึ่งประกอบด้วย C14 – C19 ในปริมาณที่สูงมาก ทาให้ น้ามันเบนซินและน้ามันดีเซลที่ได้จากการกลั่นน้ามันดิบมีปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการ ในขณะที่ผลิตภัณฑ์ ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม ซึ่งประกอบด้วยสารประกอบไอโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนมากๆ หรือมีมวลโมเลกุล มาก ไม่เป็นที่ต้องการเทากับน้ามันเบนซินและน้ามันดีเซล ทาให้ไม่สมดุลกัน นักวิทยาศาสตร์จึงได้ใช้วิธีทา สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนมากๆ มาเปลี่ยนเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียง กับน้ามันเบนซิน และน้ามันดีเซล และมีการปรับปรุงโครงสร้างของของโมเลกุลให้เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพดีขึ้น ซึ่งทาได้หลายวิธี
  • 18. ประโยชน์ของปิโตรเลียม นักวิทยาศาสตร์พบว่า ถ้าจะนาปิโตรเลียมมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่นั้น ควรจะนาปิโตรเลียมไปผ่าน กรรมวิธีการกลั่นแยกสารประกอบต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบออกเป็นส่วนต่างๆเสียก่อน ซึ่งวิธีการกลั่นออกเป็นส่วนๆ นั้นมีอยู่หลายวิธี ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นแยกส่วนปิโตรเลียมนั้นมีไม่น้อยกว่า 80 ชนิด สามารถนาไปใช้ประโยชน์ใน ด้านต่างๆ ได้อย่างมหาศาล ทั้งในด้านอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม เกษตรกรรม การขนส่ง การคมนาคม การก่อสร้าง การ ผลิตสารสังเคราะห์ เช่น พลาสติก ใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ ฯลฯ และยังใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้อีกมากมาย อาทิเช่น 1. ใช้เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อน ความสว่าง ในครัวเรือน 2. ใช้เป็นเชื้อเพลิงเติมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ เครื่องบิน 3. ใช้เป็นวัสดุหล่อลื่น กันซึม ขัดมัน 4. สารสังเคราะห์ชนิดต่างๆ ที่สังเคราะห์จากสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากการกลั่น ปิโตรเลียม เช่น พลาสติก เส้นใยสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ 5. ใช้ในการก่อสร้าง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียม มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อชีวิตประจาวันของมนุษย์ เช่น ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการคมนาคมขนส่ง ธุรกิจอุตสาหกรรม การผลิตกระแสไฟฟ้า เป็นสารหล่อลื่น สาหรับเครื่องจักร นอกจากนี้ยังเป็นวัตถุดิบในการผลิต พลาสติก ยาปราบศัตรูพืช และ ปิโตร เคมีภัณฑ์อื่นๆ อีกมากมาย - ใช้ในการขนส่ง ประมาณร้อยละ 46 ของปิโตรเลียมได้ถูกนาไปใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงสาหรับรถยนต์ใน ระบบเครื่องยนต์เผาไหม้ ภายใน (Internal combustion engine) ซึ่งได้แก่ น้ามันเบนซิน น้ามันดีเซล น้ามันเครื่องบินและ ไอพ่น น้ามันเตาสาหรับรถไฟ และเรือ - ใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับอุตสาหกรรม ซึ่งส่วนมากใช้น้ามันเตา และแก๊สธรรมชาติในโรงงานอุตสาหกรรม โรงไฟฟ้าพลังความร้อน แก๊สหุงต้ม และในอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เครื่องสูบน้า ฯลฯ ซึ่งส่วนมากจะใช้น้ามันเบา (Light oils) เป็นเชื้อเพลิง - ใช้ในเครื่องกาเนิดความร้อน และให้แสงสว่าง น้ามันหนัก (Heavy oils) มักจะมีการนามาใช้ในเครื่องกาเนิด ความร้อนของประเทศในแถบหนาว สาหรับโรงงาน สานักงาน และที่พักอาศัย น้ามันเบาก็มีความสาคัญเช่นกัน อาทิ น้ามันก๊าด (Kerosene) ใช้เป็นเชื้อเพลิงให้แสงสว่าง และหุงต้มในท้องถิ่นที่ยังไม่เจริญหรืออยู่ห่างไกล แก๊สโพรเพน (Propane) และบิวเทน (Butane) ใช้เป็นเชื้อเพลิงหุงต้มในครัวเรือน - ใช้เป็นวัสดุหล่อลื่น ประมาณร้อยละ 1 - 2 ของน้ามันดิบที่ผ่านกระบวนการกลั่น จะได้รับการแปรสภาพไปเป็น น้ามันหล่อลื่น (Lubricants) และจาระบี (Greases) สาหรับการขนส่งเครื่องยนต์และโรงงานอุตสาหกรรม
  • 19. - ประโยชน์อื่นๆ อาทิเช่น แอสฟัลต์ (Asphalt) บิทูเม็น (Bitumen) น้ามันดิน (Tar) ใช้ราดถนน ฉาบหลังคา และใช้ เป็นสารกันน้า ขี้ผึ้ง (Wax) ใช้ทาเทียนไข วัสดุกันซึม วัสดุขัดมัน และเป็นเชื้อเพลิงให้แสงสว่าง - สารปิโตรเลียม ปิโตรเลียมใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ซึ่งจะนาไปสู่การผลิตพลาสติกและ สารสังเคราะห์มากมายหลายชนิด (Plastics) เส้นใยสังเคราะห์ (Synthetic fibres) และสิ่งทอสังเคราะห์ (Synthetic textiles) ยางสังเคราะห์ (Synthetic rubber) สารคาร์บอนดา (Carbon black) ฯลฯ การปรับปรุงโครงสร้างโมเลกุลของเชื้อเพลิงให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น ก. กระบวนการแตกสลาย ( Cracking process ) กระบวนการแตกสลาย คือ การนาสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่ มาเผาที่อุณหภูมิ 450 - 550 องศาเซลเซียส ภายใต้ความดันต่า และมีซิลิกา - อะลูมินา เป็นตัวเร่งปฎิกิริยาวิธีนี้เป็นการเพิ่มปริมาณน้ามันเชื้อเพลิงโดยเฉพาะน้ามันเบนซิน และน้ามันดีเซลให้เพียงพอกับ ความต้องการ หรือเป็นการเพิ่มคุณภาพของน้ามันเชื้อเพลิงเพราะไฮโดรคาร์บอนที่มีขนาดโมเลกุลเล็กมีคุณสมบัติ ในการเผาไหม้ดีกว่าโมเลกุลใหญ่ เช่น ถ้าผลิตภัณฑ์ที่ได้เป็นแอลเคนที่มีคาร์บอน 5 – 10 อะตอม หรือถ้าผลิตภัณฑ์ ทีได้เป็นแอลคีนที่มีคาร์บอน 5 – 10 อะตอม ก็ให้ทา ปฎิกิริยารวมตัวกับ H2 โดยมี Pt หรือ Ni เป็นตัวเร่งปฎิกิริยาก็ จะได้แอลเคนซึ่งสามารถนาไปใช้ทาน้ามันเบนซินต่อไปและเป็นการปรับปรุงคุณภาพด้วย เพราะผลิตภัณฑ์ที่ได้ ส่วนใหญ่มีโครงสร้างแบบมีกิ่งซึ่งเหมาะกับเครื่องยนต์เบนซิน สาหรับผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากกระบวนการแตกสลาย ซึ่งมีคาร์บอนน้อยกว่า 5 อะตอม ก็สามารถนาไปผ่านกระบวนการในข้อ ค หรือข้อ ง ต่อไป ข. วิธีรีฟอร์มมิง ( Reforming ) เป็นการเปลี่ยนไฮโดรคาร์บอนที่โครงสร้างแบบโซ่ตรงเป็น ไฮโดรคาร์บอนที่โครงสร้างเป็นแบบโซ่มีกิ่งหรือเป็นการเปลี่ยนสารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบวงให้เป็น สารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทอะโรเมติก โดยใช้ความร้อนและตัวเร่งปฏิกิริยา ค. วิธีแอลคิเลชัน ( Alkylation ) เป็นการรวมโมเลกุลของแอลเคนกับแอลคีน โดยมีกรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่ง ปฎิกิริยา เกิดเป็นโมเลกุลแอลเคนที่มีโครงสร้างแบบมีกิ่ง ง. วิธีโอลิโกเมอไรเซซัน ( Oilgomerization ) เป็นวิธีการรวมไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว ( แอลคีน ) โมเลกุล เล็กๆ เข้าด้วยกัน โดยใช้ความร้อนและตัวเร่งปฎิกิริยา จะได้สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีจานวนคาร์บอน อะตอมเพิ่มขึ้น 1 2 3 หรือ 4 เท่าของไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัวที่ใช้เป็นสารตั้งต้น วิธีรีฟอร์มมิง แอลคิเลชันและโอลิโกเมอไรเซซันใช้ในการปรับปรุงคุณภาพของน้ามันเชื้อเพลิง โดยเฉพาะ น้ามันเบนซิน เพราะเป็นการผลิตสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีโครงสร้างแบบมีกิ่ง เนื่องจากน้ามันเบนซินที่ ประกอบด้วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีโครงสร้างแบบมีกิ่ง มีคุณภาพดีกว่าน้ามันเบนซินที่ประกอบด้วย สารประกอบ ไฮโดรเจนคาร์บอนทีมีโครงสร้างแบบไม่มีกิ่ง
  • 20. การกาหนดคุณภาพของน้ามันเบนซิน เบนซินเป็นน้ามันเชื้อเพลิงที่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยแอลเคนที่มี คาร์บอน 5 – 10 อะตอม น้ามันเบนซินจึงมีสมบัติแตกต่างกันตามชนิดและปริมาณของแอลเคนที่เป็นองค์ประกอบ จากการศึกษาพบว่าไอโซเมอร์ที่คาร์บอนต่อกันแบบโซ่มีกิ่งเป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพดีกว่าไอโซเมอร์ที่คาร์บอนต่อ กันแบบโซ่ตรง เช่น ไอโซเมอร์หนึ่งของออกเทน ( C8 H18 ) ที่มีชื่อว่า ไอโซออกเทน เป็นเชื้อเพลิงที่เหมาะกับ เครื่องยนต์ก๊าซโซลีนมาก เพราะช่วยทาให้เครื่องยนต์เดินเรียบไม่กระตุก สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ไม่ เหมาะสมกับเครื่องยนต์ก๊าซโซลีนเลยคือ นอมาลเฮปเทน ซึ่งมีสูตรโครงสร้าง ดังนี้ CH3 –CH2 – CH2 –CH2 – CH2 – CH2–CH3 เมื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง จะทาให้เครื่องยนต์เกิดการชิงจุดระเบิด เป็นผลให้ เครื่องยนต์กระตุก ดังนั้นจึงได้มีการกาหนดคุณภาพของน้ามันเบนซินเป็นเลขออกเทน โดยเปรียบเทียบสมบัติการ เผาไหม้ของน้ามัน ดังนี้ 1. น้ามันเบนซินซึ่งมีสมบัติในการเผาไหม้เช่นเดียวกับไอโซออกเทนบริสุทธิ์ให้มีเลขออกเทนเทากับ 100 2. น้ามันเบนซินที่มีสมบัติในการเผาไหม้เช่นเดียวกับนอมาลเฮปเทนบริสุทธิ์ ให้มีเลขออกเทนเท่ากับ 0 3. ค่าเลขออกเทนอื่นๆ ให้เปรียบเทียบกับส่วนผสมระหว่างไฮโซออกเทนกับนอมาลเฮปเทน โดยคิดจาก ร้อยละของไอโซออกเทน ตัวอย่างที่ น้ามันเบนซินที่มีสมบัติในการเผาไหม้เช่นเดียวกับเชื้อเพลิงที่ได้จาก การผสมไอโซออกเทนร้อยละ 95 และนอมาลเฮปเทนร้อยละ 5 แสดงว่ามีเลขออกเทนเท่ากับ 95 การปรับปรุงคุณภาพของน้ามันเบนซิน การปรับปรุงคุณภาพของน้ามันเบนซิน คือ การเพิ่มเลขออกเทน ให้แก่น้ามันนั่นเอง เพราะน้ามันเบนซินที่กลั่นได้ส่วนใหญ่จะ มีเลขออกเทนค่อนข้างต่า การเพิ่มเลขออกเทนทาได้ โดยเติมสารเคมีบางชนิดลงไป เช่น สารประกอบเตตระเอทิลเลด ( ( C2H5 ) 2Pb หรือสารประกอบเตตระเมทิลเลด CH3 ) 4Pb สารทั้งสองชนิดมีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิปกติไมมีสีไม่ละลายน้าแต่ละลายได้ดีในน้ามันเบนซิน ช่วยทาให้เครื่องยนต์ไม่กระตุก แต่เมื่อน้ามันถูกเผาไหม้ในเครื่องยนต์ เตตระเอทิลเลดหรือเตตระเมทิลเลด จะ เปลี่ยนออกไซด์หรือคาร์บอเนตของตะกั่วเป็นละอองอยู่ในอากาศ ซึ่งเป็นพิษต่อมนุษย์และสัตว์โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จะเก็บสะสมไว้ที่ตับทาให้ประสิทธิภาพการทางานของตับต่าลง เพื่อลดภาวะมลพิษในอากาศ บางประเทศได้ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเลิกใช้น้ามันที่มีสารประกอบของตะกั่ว มาใช้น้ามันไร้สารตะกั่วแทน น้ามันเบนซินไร้ สารตะกั่ว หรือยูแอลจี ( ULG ) คือ น้ามันเบนซินที่ใช้สารอื่นเพิ่มเลขออกเทน แทนสารประกอบของตะกั่ว ตัวอย่าง สารเคมีที่ใช้เพิ่มเลขออกเทนแทนสารประกอบของตะกั่ว เช่น เมทิลเทอร์เชียรีบิวทิลอีเทอร์ ( Methyl tertiary butyl etther ) ใช้ตัวย่อว่า MTBEการกาหนดคุณภาพของน้ามันดีเซล การกาหนดคุณภาพของน้ามันดีเซล ใช้วิธีการเปรียบ กับซีเทน และแอลฟาเมทิลแนพทาลีน ( C11H10 ) ดังนั้นจึงได้มีการกาหนดคุณภาพของน้ามันดีเซล เป็นเลขซีเทน และกาหนดให้ซีเทนมีเลขซีเทนเท่ากับ 100 และแอลฟาเมทิลแนพทาลีนมีเลขซีเทนเท่ากับ 0
  • 21. ชื่อ......................................................................................ชั้น............................เลขที.่ ..................... ใบงานเรื่อง ปิโตรเลียม 1. จงอธิบายกระบวนการเกิดปิโตรเลียมและองค์ประกอบของปิโตรเลียม ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………….. 2. การสารวจทางธรณีวิทยาเพื่อหาแหล่งปิโตรเลียมช่วยให้ได้ข้อมูลในการคาดคะเนในเรื่องใด ………………………………………………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………. 3. การสารวจทางธรณีวิทยาเพื่อหาแหล่งปิโตรเลียมได้แก่การสารวจในเรื่องใด และข้อมูลที่ได้มีประโยชน์ อย่างไร ………………………………………………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 4. การปรับปรุงโครงสร้างโมเลกุลของน้ามันโดยวิธีแอลคิเลชันแตกต่างจากวิธีโอลิโกเมอไรเซซันอย่างไร ………………………………………………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 5. น้ามันเบนซินชนิดหนึ่งมีส่วนผสมของไอโซออกเทน 23 ส่วน และเฮปเทน 2 ส่วนโดยมวล น้ามันชนิดนี้มี เลขออกเทนเท่าใด ………………………………………………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………
  • 22. 6. น้ามันดีเซลชนิดหนึ่งมีเลขซีเทน 45 หมายความว่าอย่างไร ………………………………………………………………………………………………..……………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 7. เพราะเหตุใดโรงเกลั่นน้ามันส่วนใหญ่จึงตั้งอยู่ริมทะเลหรือแม่น้า ………………………………………………………………………………………………..……………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………
  • 23. ชื่อ......................................................................................ชั้น............................เลขที.่ ..................... ใบงาน เรื่อง ผลกระทบที่เกิดจากการขนส่ง น้ามันดิบ คาชี้แจง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสถานการณ์ต่อไปนี้ ในประเทศที่ไม่มีแหล่งน้ามันดิบ หรือมีน้อยไม่พอต่อการใช้ในประเทศจาเป็นต้องนาเข้าน้ามันจาก ประเทศผู้ค้าโดยการขนส่งทางเรือมีหลายครั้งที่เรือขนส่งน้ามันเกิดอุบัติเหตุน้ามันรั่วไหลลงในทะเล นักเรียนคิดว่าน้ามันที่รั่วไหลลงสู่ทะเลมีผลต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างไร มีวิธีการแก้ไขอย่างไรและใครเป็น ผู้รับผิดชอบในเหตุการณ์ ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................
  • 24. ชื่อ......................................................................................ชั้น............................เลขที.่ ..................... ใบงาน เรื่อง ปิโตรเลียมกับสังคมและเศรษฐกิจ คาชี้แจง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลและอภิปรายในหัวข้อ ประเทศใดบ้างเป็นแหล่งผลิตน้ามันดิบเป็นสินค้าส่งออกและประชากรของประเทศนั้นมีชีวิตความเป็นอยู่อย่างไร ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................