SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 172
Downloaden Sie, um offline zu lesen
!"#$%&'
                                   !"#"$"#%&'                    ()* &+",&
            !"#$% &. ! '()*++,-,.,-/0" +1-2%334'56"7&89:;(,#<4;=...
   >4+,-"/?/@+AB,?9C+AB,?:-D*? 9-266C,>4 E .6F#,6 '.G-/"*?&H*:=1?IC;
 3)+ +6:100>49-.J55%21- :6)+=B,K;,A1?(H+%.,&"':4)++ALB #M51#'.G- +-,3,(H.
                                                             -0)/)(. LT. NP/VPW/NVNV.
'0-)6LH0(:? !"#$% !"#$%XY ,%?)L# ,%?)L"#) DE4Z(:&[)19F)KF
ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใดยังเป็นเสขะ
           ยังไม่ลุถึงธรรมที่ต้องประสงค์แห่งใจ
     ปรารถนาอยู่ซึ่งโยคเขมธรรมอันไม่มีอะไรยิ่งกว่า;
        ภิกษุเหล่านั้น เมื่อเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว
                   ซึ่งอานาปานสติสมาธิ
     ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย.




  ส่วนภิกษุทั้งหลายเหล่าใด เป็นอรหันต์ สิ้นอาสวะแล้ว
มีพรหมจรรย์อยู่จบแล้ว เป็นผู้หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ
   ภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น เมื่อเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว
                  ซึ่งอานาปานสติสมาธิ
             ย่อมเป็นสุขวิหารในปัจจุบันด้วย
      เพื่อความสมบูรณ์แห่งสติสัมปชัญญะด้วย....


                             มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๑๒ - ๔๒๓ /๑๓๖๔ – ๑๓๖๘.
พุทธวจน
                        !
                   อานาปานสติ
           ฉบับ ๖ !"#$%&'!
                           ()*)!+!!

            !,--.!"%/$0##01 !2345!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
    "!"#$%&'()*+',-./001$&.!213456.47$/789.:&0(71(;<0)+'=>?=3#!
!
พุทธวจน
                  ฉบับ ๖ อานาปานสติ
สื่อธรรมะนี้ จัดทําเพื่อประโยชนทางการศึกษาสูสาธารณชนเปนธรรมทาน
               ลิขสิทธิ์ในตนฉบับนี้ไดรับการสงวนไว
      ไมสงวนสิทธิ์ในการจัดทําจากตนฉบับเพื่อเผยแผในทุกกรณี
        ในการจัดทําหรือเผยแผ โปรดใชความละเอียดรอบคอบ
                   เพื่อรักษาความถูกตองของขอมูล
    ขอคําปรึกษาดานขอมูลในการจัดทําเพื่อความสะดวกและประหยัด
           ติดตอไดที่ คุณศรชา โทร.๐๘๑-๕๑๓-๑๖๑๑
           หรือ คุณอารีวรรณ โทร.๐๘๕-๐๕๘-๖๘๘๘

       พิมพครั้งที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๓ จํานวน ๑๐,๐๐๐ เลม
       พิมพครั้งที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๓ จํานวน ๕,๐๐๐ เลม

                   ศิลปกรรม วิชชุ เสริมสวัสดิ์ศรี
         ที่ปรึกษาศิลปกรรม จํานงค ศรีนวล, ธนา วาสิกศิริ

                    จัดทําโดย มูลนิธิพุทธโฆษณ
                   (เว็บไซต www.buddhakos.org)

      ดําเนินการพิมพโดย บริษท คิว พรินท แมเนจเมนท จํากัด
                             ั        ้
       โทรศัพท ๐-๒๘๐๐-๒๒๙๒ โทรสาร ๐-๒๘๐๐-๓๖๔๙
คําอนุโมทนา

         ขออนุโมทนา กับคณะผูจัดทํา หนังสือพุทธวจน ฉบับ
“ อานาปานสติ ” ในเจตนาอั น เป น กุ ศ ล ที่ มี ค วามตั้ ง ใจเผยแผ
คําสอนขององคสัมมาสัมพุทธเจาที่ออกจากพระโอษฐของพระองค
เอง ทั้งหมดที่ทานตรัสรูในหลายแงมุมที่เกี่ยวกับการใชชีวิต วิธี
แกทุกข ฯลฯ ตามหลักพุทธวจนงาย ๆ เพื่อใหผูสนใจไดศึกษา
และนํามาปฏิบัติเพื่อใหถึงความพนทุกขดวยเหตุอันดีนี้ ขอจง
เปนพลวปจจัย ใหผูมีสวนรวมในการทําหนังสือเลมนี้และผูที่
ไดอาน ไดศึกษา พึงเกิดปญญาไดดวงตาเห็นธรรม พน ทุก ขใ น
ชาตินี้เทอญ

                                                 ขออนุโมทนา
                                          พระคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
คํานํา

           หากมีการจัดอันดับหนังสือที่มีความสําคัญมากที่สุดใน
โลก ฐานะที่จะมีไดคือ หนังสือ อานาปานสติ โดยพระตถาคต นี้
คือหนึ่งในหนังสือที่มีความสําคัญอันดับแรกของโลก
           พุทธวจน ที่เกี่ยวของกับอานาปานสติภาวนาทั้งหมด เมื่อ
พิจารณา ประกอบดวยหลักปฏิจจสมุปบาทของจิตโดยละเอียดแลว
จะพบขอสังเกตอันนาอัศจรรยวา; อานาปานสติ คือการลดอัตรา
ความถี่ในการเกิดของจิต ซึ่งเปนการสรางภาวะที่พรอมที่สุด
สําหรับการบรรลุธรรม
           พระพุทธองคทรงเผยวา อานาปานสติ นี้ แทจริงแลว
ก็คือเครื่องมือในการทําสติปฏฐานทั้งสี่ ใหถึงพรอมบริบูรณซึ่ง
เปนเหตุสงตอใหโพชฌงคทั้งเจ็ดเจริญเต็มรอบ และนําไปสูวิชชา
และวิมุตติ ในที่สุดโดยทั้งหมดนี้เกิดขึ้นได แมในลมหายใจเดียว
ภายใตเงื่อนไขที่วา จะตองเปนการปฏิบัติที่ตรงวิธี ในแบบที่ระบุ
โดยมัคควิทู (ผูรูแจงมรรค) คือ จากการบอกสอนดวยคําพูดของ
พระพุทธเจาเองโดยตรงเทานั้น
สําหรับมนุษยทุกคนที่อยูในขายที่สามารถบรรลุธรรมไดนี่
คือ หนังสือที่จําเปนตองมีไวศึกษา เพราะเนื้อหาทั้งหมด ไดบรรจุ
รายละเอียดในมิติตาง ๆ ของอานาปานสติ เฉพาะที่เปนพุทธวจนลวนๆ
คือตัวสุตตันตะที่เปนตถาคตภาษิตไวอยางครบถวนสมบูรณทุกแงมุม
             เรียกไดวาเปนคูมือพนทุกขดวยมรรควิธีอานาปานสติ
ฉบับแรกของโลก ที่เจาะจงในรายละเอียดของการปฏิบัติ โดย
ไมเ จือ ปนดว ยสาวกภาษิต (ซึ่ง โดยมากมัก จะตัด ทอนตน ฉบับ
พุท ธวจนเดิม หรือ ไมก็เ พีย งอา งถึง ในลัก ษณะสัก แตวา แลว
บัญญัติรายละเอียดตางๆ เพิ่มเติมขึ้นใหมเองอยางวิจิตรพิสดาร
นอกแนว นําไปสูความเขาใจที่ผิดเพี้ยนหรือไมก็บิดเบือนคลาดเคลื่อน
พลัดออกนอกทางในที่สุด)
             การเกิดขึ้นของอานาปานสติฉบับพุทธวจนนี้ ไมใชของ
ง า ยที่ จ ะมี ขึ้ น ได เลย เพราะในเมื่ อ การเกิ ด ขึ้ น ของตถาคตใน
สังสารวัฏ เปนของที่มีไดยาก การรวบรวมนํามรรควิธี ที่ตถาคต
ทรงใช เปน วิ ห ารธรรมเครื่ อ งอยู มารวมไว เป น หนั ง สื อ คู มือ
ชาวพุทธในเลมเดียว จึงไมใชของงายที่จะมีขึ้นได
             การที่ ห นั ง สื อ เล ม นี้ จ ะเป น ที่ แ พร ห ลายในสั ง คมพุ ท ธ
วงกวางหาก็ไมใชของงายเชนกัน ทั้งนี้ ไมใชเพราะเหตุวา พุทธวจน
เปนสิ่งที่หาไดยาก อานยาก หรือทําความเขาใจไดยากและ ไมใช
เพราะเหตุคือ เงื่อนไขในดานบุคลากร ในดานการจัดพิมพ หรือ
ป ญ หาเรื่ อ งเงิ น ทุ น แต เ พราะด ว ยเหตุ ว า พระตถาคตทรงใช
อานาปานสติเปนวิหารธรรมเครื่องอยู และทรงพร่ําสอนไว กําชับ
กับภิกษุ และ กับบุคคลทั่วไปไว บอกรายละเอียดไว แจกแจง
อานิส งสไ ว มากที่สุด ในสัด สวนที่ม ากกวา มาก เมื่อ เทียบกับ
มรรควิธีอื่นๆ
         ในหมูนักปฏิบัติ อานาปานสติ จึงถูกนํามาเผยแพร ถูกมา
บอกสอนกันมาก ซึ่งเมื่อเปนเชนนั้น การปนเปอนดวยคําของ
สาวก ในลักษณะตัดตอเติมแตงก็ดี หรือเขียนทับก็ดี จึงเกิดขึ้น
มาก…...…ไปจนถึงจุดที่เราแทบจะไมพบเจอสํานักปฏิบัติที่ใช
อานาปานสติ ในรูปแบบเดียวกับที่พระพุทธองคทรงใชในครั้ง
พุทธกาลไดอีกแลว
         เมื่อเปนเชนนี้ ในขั้นตอนการเรียนรู จึงหลีกเลี่ยงไมไดที่
จะตองผานกระบวนการนําออก ซึ่งความเขาใจผิดตางๆ รวมถึง
ความเคยชินเดิมๆ ที่มีมาอยูแลวกอนเปนขั้นแรก
         ดังนั้น หากมรรควิธีที่ถูกตอง ในแบบที่ตรงอรรถตรง
พยัญชนะ ถูกนํามาเผยแพรออกไป ไดมากและเร็วเทาไหร;
ขั้นตอน หรือ กระบวนการศึกษา ตลอดจนผลที่ไดรับก็จะเปนไป
ในลักษณะลัดสั้น ตรงทางสูมรรคผลตามไปดวย
          เพราะสําหรับผูที่เริ่มศึกษาจริงๆ ก็จะไดเรียนรูขอมูล
ที่ถูกตองไปเลยแตทีแรก และสําหรับผูที่เขาใจผิดไปกอนแลว
ก็จะไดอาศัยเปนแผนที่ เพื่อหาทางกลับสูมรรคที่ถูกได

      คณะผูจัดพิมพหนังสือเลมนี้ ขอนอบนอมสักการะ
              ตอ ตถาคต ผูอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
                  และ ภิกษุสาวกในธรรมวินัยนี้
               ตั้งแตครั้งพุทธกาล จนถึงยุคปจจุบน
                                                 ั
           ที่มีสวนเกียวของในการสืบทอดพุทธวจน
                       ่
   คือ ธรรม และวินย ทีทรงประกาศไว บริสทธิ์บริบูรณดแลว
                      ั ่                    ุ      ี

                                           คณะศิษยพระตถาคต
                                             มกราคม ๒๕๕๓
สารบัญ
                                                           หนา
อานิสงสสูงสุดแหงอานาปานสติ ๒ ประการ                        ๑
อานิสงสแหงอานาปานสติ ๗ ประการ                              ๕
เจริญอานาปานสติ เปนเหตุให สติปฏฐาน ๔ –                   ๑๑
โพชฌงค ๗ – วิชชา และวิมุตติ บริบูรณ
       อานาปานสติบริบูรณ ยอมทําสติปฏฐานใหบริบูรณ      ๑๒
       สติปฏฐานบริบูรณ ยอมทําโพชฌงคใหบริบูรณ         ๑๘
       โพชฌงคบริบูรณ ยอมทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ   ๒๒
เจริญอานาปานสติ เปนเหตุให สติปฏฐาน ๔ – โพฌชงค ๗ –      ๒๕
วิชชาและวิมุตติ บริบูรณ (อีกสูตรหนึ่ง)
       สติปฏฐานบริบูรณ เพราะอานาปานสติบริบูรณ           ๓๐
       โพชฌงคบริบูรณ เพราะสติปฏฐานบริบูรณ              ๓๗
       วิชชาและวิมุตติบริบูรณ เพราะโพชฌงคบริบูรณ        ๔๓
การเจริญอานาปานสติ (ตามนัยแหงมหาสติปฏฐานสูตร)            ๔๕
เมื่อเจริญอานาปานสติ ก็ชื่อวาเจริญกายคตาสติ               ๔๗
อานาปานสติ เปนเหตุใหถึงซึ่งนิพพาน                        ๔๙
อานาปานสติสมาธิ เปนเหตุใหละสังโยชนได                   ๕๐
อานาปานสติสมาธิ สามารถกําจัดเสียไดซึ่งอนุสัย              ๕๒
หนา
อานาปานสติสมาธิ เปนเหตุใหรอบรูซึ่งทางไกล (อวิชชา)     ๕๔
อานาปานสติสมาธิ เปนเหตุใหสิ้นอาสวะ                      ๕๖
แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่หนึ่ง)            ๕๘
เจริญอานาปานสติ มีอานิสงสเปนเอนกประการ                  ๖๐
     จิตหลุดพนจากอาสวะ                                   ๖๑
     ละความดําริอันอาศัยเรือน                             ๖๑
     ควบคุมความรูสึกเกี่ยวความไมปฏิกูล                 ๖๒
     เปนเหตุใหไดสมาธิในระดับรูปสัญญาทั้งสี่            ๖๓
     เปนเหตุใหไดสมาธิในระดับอรูปสัญญาทั้งสี่           ๖๕
     เปนเหตุใหไดสัญญาเวทยิตนิโรธ                       ๖๗
     รูตอเวทนาทุกประการ                                 ๖๗
แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่สอง)               ๗๑
เจริญอานาปานสติมีอานิสงสเปนเอนกประการ (อีกสูตรหนึ่ง)   ๗๓
     ไดบรรลุมรรคผลในปจจุบัน                            ๗๔
       เพื่อประโยชนมาก                                  ๗๕
      เพื่อความเกษมจากโยคะมาก                             ๗๖
      เพื่อความสังเวชมาก                                 ๗๗
      เพื่ออยูเปนผาสุกมาก                              ๗๘
เจริญอานาปานสติ ชื่อวาไมเหินหางจากฌาน                  ๘๑
อานาปานสติ : เปนสุขวิหาร ระงับไดซึ่งอกุศล              ๘๓
หนา
อานาปานสติ : สามารถกําจัดบาปอกุศลไดทุกทิศทาง                  ๘๖
อานาปานสติ : ละไดเสียซึ่งความฟุงซาน                         ๙๓
อานาปานสติ : ละเสียไดซึ่งความคับแคน                          ๙๕
อานาปานสติ : วิหารธรรมของพระอริยเจา                           ๙๗
เจริญอานาปานสติ : กายไมโยกโคลง จิตไมหวั่นไหว                ๑๐๐
เจริญอานาปานสติ เปนเหตุให รูลมหายใจอันมีเปนครั้งสุดทาย   ๑๐๓
กอนเสียชีวิต
ธรรมเปนเครื่องถอนอัส๎มิมานะในปจจุบัน                        ๑๐๕
วิธีการบมวิมุตติใหถึงที่สุด                                 ๑๐๙
ธรรมสัญญา ในฐานะแหงการรักษาโรคดวยอํานาจสมาธิ                ๑๑๒
ธรรมะแวดลอม                                                  ๑๒๓
ธรรมเปนอุปการะเฉพาะแกอานาปานสติภาวนา
         (นัยที่หนึ่ง)                                        ๑๒๔
         (นัยที่สอง)                                          ๑๒๖
         (นัยที่สาม)                                          ๑๒๘
นิวรณเปนเครื่องทํากระแสจิตไมใหรวมกําลัง                   ๑๓๐
นิวรณ – ขาศึกแหงสมาธิ                                      ๑๓๓
ขอควรระวัง ในการเจริญสติปฏฐานสี่                            ๑๓๕
เหตุปจจัยที่พระศาสนาจะตั้งอยูนานภายหลังพุทธปรินิพพาน        ๑๓๙
อานิสงสแหงกายคตาสติ                                         ๑๔๑
!
                          !
                          !
           !"#$%&"'()*+,-,./!!01!!"#$%&"!
!"#$%&"'()2*3456,26-35*78*!"9-:9;<*,-,./#!=!!"#$%&"!
                                   +
   !"#$%&"2;(>?78*!@&:5>%:A*.#A8-B("C!=!!"#$%&"!
        "?-!"#$%&"'84/6-;!=0!!"#$%&"!
       D""-#@?;.<5-'()27()>?E<5/!1!!"#$%&"




!
อานาปานสติ ๑

       อานิสงสสงสุดแหงอานาปานสติ
                ู
                  ๒ ประการ
         ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญ กระทํา
ใหมากแลว ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ ก็อานาปานสติ
อันบุคคลเจริญแลวอยางไร กระทําใหมากแลวอยางไร
จึงมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ ?
         ภิกษุ ท. ! ในกรณี นี้ ภิ ก ษุ ไ ปแล ว สู ป า หรื อ
โคนไม หรือเรือนวางก็ตาม นั่งคูขาเขามาโดยรอบ
ตั้งกายตรง ดํารงสติเฉพาะหนา เธอนั้น มีสติหายใจเขา
มีสติหายใจออก :
         เมื่อหายใจเขายาว ก็รูชัดวาเราหายใจเขายาว,
เมื่อหายใจออกยาว ก็รูชัดวาเราหายใจออกยาว;
         เมื่อหายใจเขาสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจเขาสั้น,
เมื่อหายใจออกสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจออกสั้น;
         เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งกายทั้งปวง (สพฺพกายปฏิสํเวที) หายใจเขา”,
วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก”;
๒ พุทธวจน

         เธอย อ มทํา การฝ ก หั ด ศึ ก ษาว า “เราเป น ผูทํา
กายสังขารใหรํางับอยู (ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ) หายใจเขา”,
วา “เราเปนผูทํากายสังขารใหรํางับอยู หายใจออก”;
         เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งปติ (ปติปฏิสํเวที) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรู
พรอมเฉพาะซึงปติ หายใจออก”;
                   ่
         เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งสุข (สุขปฏิสํเวที) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรู
พรอมเฉพาะซึงสุข หายใจออก”;
                 ่
         เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งจิตตสังขาร (จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที) หายใจเขา”,
วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก”;
         เธอยอ มทํา การฝ ก หั ด ศึก ษาว า “เราเป น ผูทํา
จิตตสังขารใหรํางับอยู (ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขารํ) หายใจเขา”,
วา “เราเปนผูทําจิตตสังขารใหรํางับอยู หายใจออก”;
               
         เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งจิต (จิตฺตปฏิสํเวที) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรู
พรอมเฉพาะซึงจิต หายใจออก”;
                     ่
อานาปานสติ ๓

           เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให
ปราโมทย ยิ่ ง อยู (อภิ ปฺ ป โมทยํ จิ ตฺ ตํ ) หายใจเข า ”, ว า
“เราเปนผูทําจิตใหปราโมทยยิ่งอยู หายใจออก”;
           เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให
ตั้งมั่นอยู (สมาทหํ จิตฺตํ) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิต
ใหตั้งมั่นอยู หายใจออก”;
           เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให
ปลอยอยู (วิโมจยํ จิตฺตํ) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทาจิต ํ
ใหปลอยอยู หายใจออก”;
           เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง
ความไมเที่ยงอยูเปนประจํา (อนิจฺจานุปสฺสี) หายใจเขา”,
วา “เราเปนผูเห็นซึ่งความไมเทียงอยูเ ปนประจํา หายใจออก”;
                                 ่
           เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่งความ
จางคลายอยูเปนประจํา (วิราคานุปสฺสี) หายใจเขา”, วา
“เราเปนผูเห็นซึ่งความจางคลายอยูเปนประจํา หายใจออก”;
           เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง
ความดับไมเหลืออยูเปนประจํา (นิโรธานุปสฺสี) หายใจเขา”, วา
“เราเปนผูเห็นซึงความดับไมเหลืออยูเปนประจํา หายใจออก”;
                  ่
๔ พุทธวจน

          เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง
ความสลัดคืนอยูเปนประจํา (ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี) หายใจเขา”,
วา “เราเปนผูเห็นซึ่งความสลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจออก”;
          ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว
กระทําใหมากแลว อยางนีแล ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ.
                           ้
          ภิกษุ ท. ! เมื่ออานาปานสติ อันบุคคลเจริญ
ทําใหมากแลวอยูอยางนี้ ผลอานิสงสอยางใดอยางหนึ่ง
ในบรรดาผล ๒ ประการ เปนสิ่งที่หวังได; คือ
อรหัตตผลในปจจุบัน หรือวาถายังมีอุปาทิเหลืออยู
ก็จักเปน อนาคามี.

             ปฐมพลสูตร มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๖ - ๓๙๗/๑๓๑๑ - ๑๓๑๓.
อานาปานสติ ๕

          อานิสงสแหงอานาปานสติ
                 ๗ ประการ

         ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญ กระทํา
ใหมากแลว ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ ก็อานาปานสติ
อันบุคคลเจริญแลวอยางไร กระทําใหมากแลวอยางไร
จึงมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ ?
         ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุไปแลวสูปา หรือโคนไม
หรือเรือนวางก็ตาม นั่งคูขาเขามาโดยรอบ ตังกายตรง ดํารง
                                           ้
สติเฉพาะหนา เธอนั้น มีสติหายใจเขา มีสติหายใจออก :
         เมื่อหายใจเขายาว ก็รูชัดวาเราหายใจเขายาว,
เมื่อหายใจออกยาว ก็รูชัดวาเราหายใจออกยาว;
         เมื่อหายใจเขาสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจเขาสั้น,
เมื่อหายใจออกสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจออกสั้น;
         เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก”;
๖ พุทธวจน

          เธอยอ มทํา การฝ ก หั ด ศึ ก ษาว า “เราเป น ผูทํา
กายสัง ขารให รํา งับอยู หายใจเข า”, ว า “เราเป น ผูทํา
กายสังขารใหรํางับอยู หายใจออก”;
          เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งปติ หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่งปติ หายใจออก”;
          เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งสุข หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่งสุข หายใจออก”;
          เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก”;
         เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทาจิตต-ํ
สังขารใหรํางับอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตต-
สังขารใหรํางับอยู หายใจออก”;
         เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งจิต หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่งจิต หายใจออก”;
อานาปานสติ ๗

           เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิต
ใหปราโมทยยิ่งอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตให
ปราโมทยยิ่งอยู หายใจออก”;
           เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิต
ใหตั้งมั่นอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู
หายใจออก”;
           เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิต
ใหปลอยอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตใหปลอยอยู
หายใจออก”;
           เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง
ความไมเที่ยงอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปน
ผูเห็นซึ่งความไมเที่ยงอยูเปนประจํา หายใจออก”;
           เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง
ความจางคลายอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปน
ผูเห็นซึ่งความจางคลายอยูเปนประจํา หายใจออก”;
           เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง
ความดับไมเหลืออยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปน
ผูเห็นซึ่งความดับไมเหลืออยูเปนประจํา หายใจออก”;
๘ พุทธวจน

            เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง
ความสลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปน
ผูเห็นซึ่งความสลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจออก”;
            ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว กระทํา
ใหมากแลว อยางนี้แล ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ.
            ภิกษุ ท. ! เมื่ออานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว
กระทําใหมากแลว อยูอยางนี้ ผลอานิสงส ๗ ประการ
ยอมเปนสิ่งทีหวังได.
                ่
            ผลอานิสงส ๗ ประการ เปนอยางไรเลา ?
            ผลอานิสงส ๗ ประการ คือ :-
            ๑. การบรรลุอรหัตตผลทันทีในปจจุบันนี้.
            ๒. ถาไมเชนนั้น ยอมบรรลุอรหัตตผลในกาล
แหงมรณะ.
            ๓. ถาไมเชนนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕
ยอมเปนอันตราปรินิพพายี (ผูจะปรินิพพานในระหวางอายุยัง
ไมถึงกึ่ง).
            ๔. ถาไมเชนนัน เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕
                            ้
ยอมเปนอุปหัจจปรินพพายี (ผูจะปรินิพพานเมื่อใกลจะสิ้นอายุ).
                        ิ
อานาปานสติ ๙

          ๕. ถาไมเชนนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕
ยอมเปนอสังขารปรินิพพายี (ผูจะปรินิพพานโดยไมตองใช
ความเพียรมากนัก).
          ๖. ถาไมเชนนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕
ยอมเปนสสังขารปรินิพพายี (ผูจะปรินิพพานโดยตองใช
ความเพียรมาก).
          ๗. ถาไมเชนนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕
ยอมเปนอุทธังโสโตอกนิฏฐคามี (ผูมีกระแสในเบื้องบนไปสู
อกนิฏฐภพ).
          ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว
กระทําใหมากแลวอยางนี้แล ผลอานิสงส ๗ ประการ
เหลานี้ ยอมหวังได ดังนี.้

                  ทุติยผลสูตร มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๗/๑๓๑๔ - ๑๓๑๖.
10 พุทธวจน
   ฉบับ ๖    อานาปานสติ
อานาปานสติ ๑๑

     เจริญอานาปานสติ เปนเหตุให
    สติปฏฐาน ๔ – โพชฌงค ๗ – วิชชา
            และวิมุตติบริบูรณ

         ภิกษุ ท. ! ธรรมอันเอกนันมีอยู ซึ่งเมื่อบุคคล
                                  ้
เจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําธรรมทัง ๔ ใหบริบูรณ;
                                      ้
ครั้นธรรมทัง ๔ นั้น อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว
            ้
ยอมทําธรรมทัง ๗ ใหบริบูรณ; ครั้นธรรมทั้ง ๗ นั้น
               ้
อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําธรรมทั้ง ๒
ใหบริบูรณได.
         ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธินี้แล เปนธรรม
อันเอก ซึ่งเมื่อบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทํา
สติปฏฐานทั้ง ๔ ใหบริบูรณ; สติปฏฐาน ๔ อันบุคคล
เจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําโพชฌงคทั้ง ๗ ใหบริบูรณ;
โพชฌงคทั้ง ๗ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทํา
วิชชาและวิมุตติใหบริบูรณได.
๑๒ พุทธวจน

                  อานาปานสติบริบูรณ
              ยอมทําสติปฏฐานใหบริบูรณ

           ภิกษุ ท. ! ก็อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว
ทํ า ให ม ากแล ว อย า งไรเล า จึ ง ทํ า สติ ป ฏ ฐานทั้ ง ๔ ให
บริบูรณได ?
           ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
           เมื่อหายใจเขายาว ก็รูชัดวาเราหายใจเขายาว,
เมื่อหายใจออกยาว ก็รูชัดวาเราหายใจออกยาว;
           เมื่อหายใจเขาสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจเขาสั้น ,
เมื่อหายใจออกสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจออกสั้น;
           ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก”;
           ย อ มทํา การฝ ก หั ด ศึ ก ษาว า “เราเป น ผู ทํา
กายสั ง ขารให รํา งั บ อยู หายใจเข า ”, ว า “เราเป น ผู ทํา
กายสังขารใหรํางับอยู หายใจออก”;
อานาปานสติ ๑๓

         ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวา เปนผูตาม
เห็นกายในกายอยูเปนประจํา เปนผูมีความเพียรเผากิเลส
มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลก
ออกเสียได.
         ภิกษุ ท. ! เราย อ มกล า วลมหายใจเขา และ
ลมหายใจออก วาเปนกายอยางหนึ่ง ๆ ในบรรดากายทั้งหลาย.
         ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้น
ยอมชื่อวา เปนผูตามเห็นกายในกายอยูเปนประจํา มีความ
เพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัส
ในโลกออกเสียได.
         ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่งปติ หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ
หายใจออก”;
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่งสุข หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข
หายใจออก”;
๑๔ พุทธวจน

          ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่งจิตตสังขาร หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก”;
          ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตตสังขาร
ใหรํางับอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตตสังขารให
รํางับอยู” หายใจออก”;
          ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวา เปนผูตาม
เห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยูเปนประจํา เปนผูมีความ
เพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัส
ในโลกออกเสียได.
          ภิกษุ ท. ! เรายอมกลาววา การทําในใจเปน
อยางดีถึงลมหายใจเขา และลมหายใจออก วาเปนเวทนา
อยางหนึงๆ ในบรรดาเวทนาทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะ
           ่
เหตุนั้น ในกรณีนี้ ภิกษุนั้นยอมชื่อวาเปนผูตามเห็นเวทนา
                                             
ในเวทนาทั้งหลายอยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มี
สัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได.
          ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
อานาปานสติ ๑๕

          ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่ง จิต หายใจเข า ”, ว า “เราเป น ผู รู พ ร อ มเฉพาะซึ่ ง จิต
หายใจออก”;
          ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให
ปราโมทยยงอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทาจิตใหปราโมทย
             ิ่                                    ํ
ยิ่งอยู หายใจออก”;
          ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให
ตั้งมั่นอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู
หายใจออก”;
          ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให
ปลอยอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทาจิตใหปลอยอยู
                                                 ํ
หายใจออก”;
          ภิ ก ษุ ท. ! สมั ย นั้ น ภิ ก ษุ นั้ น ชื่ อ ว า เป น
ผูตามเห็นจิตในจิต อยูเปนประจํา เปนผูมีความเพียร
เผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัส
ในโลกออกเสียได.
          ภิกษุ ท. ! เราไมกลาววาอานาปานสติ เปนสิ่ง
ที่มีไดแกบุคคลผูมีสติอันลืมหลงแลว ผูไมมีสัมปชัญญะ.
๑๖ พุทธวจน

         ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้น
ยอมชื่อวา เปนผูตามเห็นจิตในจิตอยูเปนประจํา มีความ
เพี ย รเผากิ เ ลส มี สั ม ปชั ญ ญะ มี ส ติ นํ า อภิ ช ฌาและ
โทมนัสในโลกออกเสียได.
         ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง
ความไมเที่ยงอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็น
ซึ่งความไมเที่ยงอยูเปนประจํา หายใจออก”;
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่งความ
จางคลายอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็น
ซึ่งความจางคลายอยูเปนประจํา หายใจออก”;
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่งความ
ดับไมเหลืออยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็น
ซึ่งความดับไมเหลืออยูเปนประจํา หายใจออก”;
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่งความ
สลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็น
ซึ่งความสลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจออก”;
อานาปานสติ ๑๗

           ภิ ก ษุ ท. ! สมั ย นั้ น ภิ ก ษุ นั้ น ชื่ อ ว า เป น ผู
ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยูเปนประจํา มีความ
เพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัส
ในโลกออกเสียได.
           ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เปนผูเขาไปเพงเฉพาะเปน
อยางดีแลว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัส
ทั้งหลายของเธอนั้นดวยปญญา.
           ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้นยอม
ชื่อวาเปนผูตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยูเปนประจํา
มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและ
โทมนัสในโลกออกเสียได.
           ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว
ทํ า ให ม ากแล ว อย า งนี้ แ ล ย อ มทํ า สติ ป ฏ ฐานทั้ ง ๔
ใหบริบูรณได.
๑๘ พุทธวจน

                   สติปฏฐานบริบูรณ
               ยอมทําโพชฌงคใหบริบรณ
                                     ู

            ภิกษุ ท. ! ก็สติปฏฐานทั้ง ๔ อันบุคคลเจริญแลว
ทําใหมากแลวอยางไรเลา จึงทําโพชฌงคทั้ง ๗ ใหบริบูรณ
ได ?
            ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเปนผูตามเห็นกายในกาย
อยูเปนประจําก็ดี, เปนผูตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย
                               
อยูเปนประจําก็ด;ี เปนผูตามเห็นจิตในจิต อยูเปนประจําก็ดี;
เปนผูตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยูเปนประจําก็ดี;
มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและ
โทมนัสในโลกออกเสียได; สมัยนั้น สติที่ภิกษุเขาไป
ตั้งไวแลว ก็เปนธรรมชาติไมลืมหลง.
            ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผูเขาไปตังไวแลว
                                                         ้
เป น ธรรมชาติ ไ ม ลื ม หลง, สมั ย นั้ น สติ สั ม โพชฌงค
ก็ เ ปน อัน วาภิ ก ษุนั้ น ปรารภแล ว ; สมั ย นั้น ภิก ษุชื่ อวา
ยอมเจริญสติสัมโพชฌงค; สมัยนั้นสติสัมโพชฌงคของ
อานาปานสติ ๑๙

ภิกษุนั้น ชื่อวาถึงความเต็มรอบแหงการเจริญ; ภิกษุนั้น
เมื่อเปน ผูมีสติเชนนั้นอยู ชื่อวายอมทําการเลือก ยอมทํา
การเฟน ยอมทําการใครครวญซึ่งธรรมนันดวยปญญา.
                                             ้
            ภิ ก ษุ ท. ! สมั ย ใด ภิกษุเปนผูมีสติเชนนั้นอยู
ทําการเลือกเฟน ทําการใครครวญซึ่งธรรมนั้นอยูดวยปญญา,
สมัยนัน ธัมมวิจยสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว;
        ้
สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวา ยอมเจริญธัมมวิจยสัมโพชฌงค;
สมัยนัน ธัมมวิจยสัมโพชฌงคของภิกษุนน ชื่อวาถึงความ
          ้                                    ั้
เต็มรอบแหงการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อเลือกเฟน ใครครวญ
ซึ่งธรรมนั้น ดวยปญญาอยู ความเพียรอันไมยอหยอน
ก็ชื่อวาเปนธรรมอันภิกษุนนปรารภแลว.
                              ั้
            ภิกษุ ท. ! สมัยใด ความเพียรอันไมยอหยอน อัน
ภิกษุผูเลือกเฟน ใครครวญธรรมดวยปญญาไดปรารภแลว;
สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว;
สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวายอมเจริญวิริยสัมโพชฌงค; สมัยนัน  ้
วิริยสัมโพชฌงคของภิกษุนั้น ชื่อวาถึงความเต็มรอบแหง
การเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อมีความเพียรอันปรารภแลว
เชนนั้น ปติอันเปนนิรามิส (ไมอิงอามิส) ก็เกิดขึ้น.
๒๐ พุทธวจน

             ภิกษุ ท. ! สมัยใด ปติอันเปนนิรามิส เกิดขึ้นแก
ภิกษุผูมีความเพียรอันปรารภแลว; สมัยนันปติสัมโพชฌงค
                                               ้
ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว; สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวา
ยอมเจริญปติสัมโพชฌงค; สมัยนั้นปติสัมโพชฌงคของ
ภิกษุนน ชื่อวาถึงความเต็มรอบแหงการเจริญ. ภิกษุนน
         ั้                                                        ั้
เมื่อมีใจประกอบดวยปติ แมกายก็รางับ แมจิตก็รํางับ.
                                       ํ
             ภิกษุ ท. ! สมั ย ใด ทั้ ง กายและทั้ ง จิ ต ของ
ภิ ก ษุ ผู มี ใ จประกอบด ว ยป ติ ย อ มรํา งั บ ; สมั ย นั้ น
ปสสัทธิสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว;
สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวายอมเจริญปสสัทธิสัมโพชฌงค;
สมัยนั้น ปสสัทธิสัมโพชฌงคของภิกษุนั้น ชื่อวาถึง
ความเต็มรอบแหงการเจริญ. ภิกษุนน เมื่อมีกายอันรํางับแลว
                                    ั้
มีความสุขอยู จิตยอมตั้งมั่นเปนสมาธิ.
             ภิ ก ษุ ท. ! สมั ย ใด       จิ ต ของภิ ก ษุ ผู มี ก าย
อั น รํางับแลวมีความสุขอยู ยอมเปนจิตตั้งมั่น; สมัยนั้น
สมาธิสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว; สมัยนั้น
ภิกษุนั้นชื่อวายอมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค; สมัยนั้น
สมาธิสัมโพชฌงคของภิกษุนั้น ชื่อวาถึงความเต็มรอบ
อานาปานสติ ๒๑

แหงการเจริญ. ภิกษุน้ัน ยอมเปนผูเขาไปเพงเฉพาะ
ซึ่งจิตอันตั้งมั่นแลวอยางนั้นเปนอยางดี.
          ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเปนผูเขาไปเพงเฉพาะ
ซึ่งจิตอันตั้งมั่นแลวอยางนั้น เปนอยางดี; สมัยนั้น
อุเบกขาสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว;
สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวา ยอมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค;
สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงคของภิกษุนน ชื่อวาถึงความ
                                           ั้
เต็มรอบแหงการเจริญ.
          ภิกษุ ท. ! สติปฏฐานทั้ง ๔ อันบุคคลเจริญแลว
ทําใหมากแลวอยางนี้แล ยอมทําโพชฌงคทั้ง ๗ ให
บริบูรณได.
๒๒ พุทธวจน

                 โพชฌงคบริบูรณ
          ยอมทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ

        ภิกษุ ท. ! โพชฌงคทั้ง ๗ อันบุคคลเจริญแลว
ทําใหมากแลวอยางไรเลา จึงจะทําวิชชาและวิมุตติให
บริบูรณได ?
        ภิกษุ ท.! ภิ ก ษุ ใ นกรณี นี้ ย อ มเจริ ญ สติ -
สัมโพชฌงค อันอาศัยวิเวก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ
อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ;
        ยอมเจริญ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค อันอาศัยวิเวก
อันอาศัยวิราคะ (ความจางคลาย) อันอาศัยนิโรธ (ความดับ)
อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ (ความสละ, ความปลอย);
        ยอ มเจริญ วิ ริย สั ม โพชฌงค อัน อาศัย วิเ วก
อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ;
        ย อ มเจริ ญ ป ติ สั ม โพชฌงค อั น อาศั ย วิ เ วก
อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ;
อานาปานสติ ๒๓

          ยอมเจริญ ปสสัทธิสัมโพชฌงค อันอาศัยวิเวก
อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ;
          ยอมเจริญ สมาธิสัม โพชฌงค อัน อาศัย วิเ วก
อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ;
          ยอมเจริญ อุเบกขาสัมโพชฌงค อันอาศัยวิเวก
อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ;
          ภิกษุ ท. ! โพชฌงคทั้ง ๗ อันบุคคลเจริญแลว
ทํา ใหม ากแลว อยางนี้แ ล ยอมทําวิช ชาและวิมุตติใ ห
บริบูรณได, ดังนี้.
                   ปฐมภิกขุสูตร มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๔/๑๔๐๒ - ๑๔๐๓.

            (หมายเหตุผูรวบรวม พระสูตรที่ทรงตรัสเหมือนกันกับพระสูตร
ขางบนนี้ ยังมีอีกคือ ปฐมอานันทสูตร มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๑๗-๔๒๓/๑๓๘๑ -
๑๓๙๘. ทุติยอานันทสูตร มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๓-๔๒๔/๑๓๙๙ - ๑๔๐๑.
ทุติยภิกขุสูตร มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๕/๑๔๐๔ - ๑๔๐๕.)
24 พุทธวจน
    ฉบับ ๖   อานาปานสติ
อานาปานสติ ๒๕

        เจริญอานาปานสติ เปนเหตุให
       สติปฏฐาน ๔ – โพชฌงค ๗ – วิชชา
               และวิมุตติบริบูรณ
                            (อีกสูตรหนึ่ง)

           ภิกษุ ท. ! เราเป น ผู มั่ น แล ว ในข อ ปฏิ บั ติ นี้ .
ภิกษุ ท. ! เราเปนผูมีจิตมั่นแลวในขอปฏิบัตินี้. ภิกษุ ท. !
เพราะฉะนั้นในเรื่องนี้ พวกเธอทั้งหลาย จงปรารภความ
เพียรใหยิ่งกวาประมาณ เพื่อถึงสิ่งที่ยังไมถึง เพื่อบรรลุ
สิ่งที่ยังไมบรรลุ เพื่อทําใหแจงสิ่งที่ยังไมทําใหแจง.
เราจักรอคอยพวกเธอทั้งหลายอยู ณ ที่นครสาวัตถีนี้แล
จนกวาจะถึงวันทายแหงฤดูฝนครบสี่เดือน เปนฤดูที่
บานแหงดอกโกมุท (เพ็ญเดือนสิบสอง).
        พวกภิกษุเปนพวกชาวชนบทไดทราบขาวนี้ ก็พากัน
หลั่งไหลไปสูนครสาวัตถี เพื่อเฝาเยียมพระผูมีพระภาคเจา.
                                    ่
ฝายพระเถระผูมีชื่อเสียงคนรูจักมาก ซึ่งมีทานพระสารีบุตร
๒๖ พุทธวจน

พระมหาโมคคัลลานะ พระมหากัสสปะ พระมหากัจจายนะ
พระมหาโกฏฐิตะ พระมหากัปปนะ พระมหาจุนทะ
พระเรวตะ พระอานนท และพระเถระรูปอื่นอีกหลายทาน
แบงกันเปนพวก ๆ พากันสั่งสอน พร่ําชี้แจง พวกภิกษุใหม ๆ
อยางเต็มที: พวกละสิบรูปบาง ยี่สิบรูปบาง สามสิบรูปบาง
             ่
สี่สิบรูปบาง. สวนภิกษุใหม ๆ เหลานั้น เมื่อไดรับคําสั่งสอน
ไดรับคําพร่ําชี้แจง ของพระเถระผูมีชื่อเสียงทั้งหลายอยู
ก็ยอมรูคุณวิเศษอันกวางขวางอยางอื่น ๆ ยิ่งกวาแตกอน.
จนกระทั่งถึงวันเพ็ญเดือนสิบสอง.
           ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคเจา จึงไดตรัสกับภิกษุ
ทั้งหลายสืบไปวา :
           ภิกษุ ท. ! ภิก ษุบ ริษัท นี ้ ไมเ หลวไหลเลย.
ภิกษุ ท. ! ภิกษุบริษัทนี้ไมเหลวแหลกเลย. ภิกษุบริษทนี้      ั
ตั้งอยูแลวในธรรมที่เปนสาระลวน.
           ภิกษุ ท. ! บริษัทเชนใด มีรูปลักษณะที่นาบูชา
นาตอนรับ นารับทักษินาทาน นาไหว เปนเนื้อนาบุญ
ชั้นดีเยี่ยมของโลก; หมูภิกษุนี้ ก็มีรูปลักษณะเชนนั้น,
ภิกษุบริษัทนี้ ก็มีรูปลักษณะเชนนั้น.
อานาปานสติ ๒๗

          ภิกษุ ท. ! บริษัทเชนใด มีรูปลักษณะที่ทาน
อันบุคคลใหนอย แตกลับมีผลมาก ทานที่ใหมาก ก็มีผล
                
มากทวียิ่งขึ้น; หมูภกษุนี้ ก็มีรูปลักษณะเชนนัน, ภิกษุ
                         ิ                     ้
บริษัทนี้ ก็มีรูปลักษณะเชนนั้น.
          ภิกษุ ท. ! บริษัทเชนใด มีรูปลักษณะยากที่
ชาวโลกจะไดเห็น; หมูภิกษุนี้ ก็มีรูปลักษณะเชนนั้น,
ภิกษุบริษัทนี้ ก็มีรูปลักษณะเชนนั้น.
          ภิกษุ ท. ! บริษัทเชนใด มีรูปลักษณะที่ควร
จะไปดูไปเห็น แมจะตองเดินสิ้นหนทางนับดวยโยชน ๆ
ถึงกับตองเอาหอสะเบียงไปดวยก็ตาม; หมูภิกษุน้ี ก็มี
รูปลักษณะเชนนั้น ภิกษุบริษัทนี้ ก็มีรูปลักษณะ
เชนนั้น.
          ภิกษุ ท. ! ในหมูภิก ษุนี้ มีพวกภิก ษุซึ่ง เปน
พระอรหันต ผูสิ้นอาสวะแลว ผูอยูจบพรหมจรรยแลว
มีกิจที่ควรทําไดทําสําเร็จแลว มีภาระปลงลงไดแลว มี
ประโยชนของตนเองบรรลุแลวโดยลําดับ มีสัญโญชน
ในภพสิ้น แลว หลุด พน แลว เพราะรูทั่ว ถึง โดยชอบ,
พวกภิกษุแมเห็นปานนี้ ก็มีอยูในหมูภิกษุนี้.
๒๘ พุทธวจน

          ภิกษุ ท. ! ในหมูภิก ษุนี้ มีพ วกภิก ษุซึ่ง สิ้น
สัญโญชนเบื้องต่ําหา เปนโอปปาติกะแลว จักปรินิพพาน
ในที่นั้น ไมเ วีย นกลับ มาจากโลกนั้น เปน ธรรมดา,
พวกภิกษุแมเห็นปานนี้ ก็มีอยูในหมูภิกษุนี้.
          ภิกษุ ท. ! ในหมูภิกษุนี้ มีพวกภิกษุซึ่งสิ้น
สัญโญชนสาม และมีความเบาบางไปของราคะ โทสะ โมหะ
เปน สกทาคามี มาสูเทวโลกอีกครั้งเดียวเทานัน แลวจักกระทํา
                                              ้
ที่สุดแหงทุกขได, พวกภิกษุแมเห็นปานนี้ ก็มีอยูในหมูภกษุน.ี้
                                                         ิ
          ภิกษุ ท. ! ในหมูภิก ษุนี้ มีพ วกภิก ษุซึ่ง สิ้น
สัญโญชนสาม เปน โสดาบัน มีอันไมตกต่ําเปนธรรมดา
ผูเที่ยงแท ผูแนที่จะตรัสรูขางหนา, พวกภิกษุแมเห็น
ปานนี้ ก็มีอยูในหมูภิกษุนี้.
          ภิกษุ ท. ! ในหมูภกษุนี้ มีพวกภิกษุซึ่งประกอบ
                                ิ
ความเพียรเปนเครื่องตองทําเนือง ๆ ในการอบรมสติปฏฐานสี่,
สัมมัปปธานสี่, อิทธิบาทสี่, อินทรียหา, พละหา, โพชฌงคเจ็ด,
อริยมรรคมีองคแปด, เมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา,
อสุภ, อนิจจสัญญา, และอานาปานสติ, พวกภิกษุแมเห็น
ปานนี้ก็มีอยูในหมูภกษุน.้ี
                       ิ
อานาปานสติ ๒๙

          ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธินี้แล ซึ่งเมื่อ
บุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําสติปฏฐานทัง ๔
                                                ้
ใหบริบูรณ; สติปฏฐานทั้ง ๔ อันบุคคลเจริญแลว
ทําใหมากแลว ยอมทําโพชฌงคทั้ง ๗ ใหบริบูรณ;
โพชฌงคท้ัง ๗ อัน บุ คคลเจริ ญแล วทํา ให ม ากแลว
ย อมทํา วิช ชาและวิ มุต ติใ ห บ ริ บูรณไ ด.
๓๐ พุทธวจน

                 สติปฏฐานบริบูรณ
              เพราะอานาปานสติบริบูรณ
        ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อั น บุ ค คลเจริ ญ แล ว
อยางไร ทําใหมากแลวอยางไร จึงทําสติปฏฐานทั้งสี่ให
บริบูรณได ?
[หมวดกายานุปสสนา]
           ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
           เมื่อหายใจเขายาว ก็รูชัดวาเราหายใจเขายาว,
เมื่อหายใจออกยาว ก็รูชัดวาเราหายใจออกยาว;
           เมื่อหายใจเขาสั้น    ก็รูชัดวาเราหายใจเขาสั้น,
เมื่อหายใจออกสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจออกสั้น;
           ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่งกายทั้งปวง หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก”;
           ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทํากายสังขาร
ใหรํางับอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทํากายสังขารให
                                             
รํางับอยู หายใจออก”;
อานาปานสติ ๓๑

         ภิกษุ ท. ! สมัยนัน ภิกษุชอวาเปนผู ตามเห็นกาย
                           ้        ื่
ในกาย อยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ
มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได.
         ภิ กษุ ท. ! เราย อมกล าว ลมหายใจเข าและลม
หายใจออก วาเปนกายอันหนึ่ง ๆ ในกายทั้งหลาย. ภิกษุ ท. !
เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นยอมชื่อวาเปนผูตามเห็น
กายในกายอยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ
มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสีย ได ในสมัยนั้น.

[หมวดเวทนานุปสสนา]
         ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม
เฉพาะซึ่งปติ หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่ง
ปติ หายใจออก”;
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่งสุข หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข
หายใจออก”;
๓๒ พุทธวจน

          ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่งจิตตสังขาร หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ
ซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก”;
           ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตตสังขาร
ใหรํางับอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตตสังขารให
รํางับอยู หายใจออก”;
           ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อวาเปนผูตามเห็น
เวทนาในเวทนาทั้งหลายอยูเ ปนประจํา มีความเพียรเผา
กิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลก
ออกเสียได.
           ภิกษุ ท. ! เรายอมกลาวการทําในใจเปนอยางดี
ตอลมหายใจเขาและลมหายใจออกทั้งหลายวา เปนเวทนา
อันหนึ่ง ๆ ในเวทนาทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนน        ั้
ในเรื่องนี้ ภิกษุนน ยอมชื่อวาเปนผูตามเห็นเวทนาใน
                     ั้
เวทนาทั้งหลายอยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มี
สัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออก
เสียได ในสมัยนั้น.
อานาปานสติ ๓๓

[หมวดจิตตานุปสสนา]
         ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ ยอมทําการฝกหัด
ศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเขา”,
วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก”;
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทาจิตให
                                                    ํ
ปราโมทยยิ่งอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตให
ปราโมทยยิ่งอยู หายใจออก”;
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให
ตั้งมั่นอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู
หายใจออก”;
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให
ปลอยอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตใหปลอยอยู
หายใจออก”;
         ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อวาเปนผูตามเห็น
จิตในจิตอยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ
มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได.
         ภิกษุ ท. ! เราไมกลาวอานาปานสติ วาเปนสิ่งที่
มีไดแกบุคคลผูมีสติอันลืมหลงแลว ไมมีสัมปชัญญะ.
๓๔ พุทธวจน

          ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ภิกษุนั้น ยอม
ชื่อวาเปนผูตามเห็นจิตในจิตอยูเปนประจํา มีความเพียร
เผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัส
ในโลกออกเสียได ในสมัยนั้น.

[หมวดธัมมานุปสสนา]
         ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึงความ่
ไมเที่ยงอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็นซึ่ง
ความไมเทียงอยูเปนประจํา หายใจออก”;
           ่
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึงความ
                                                    ่
จางคลายอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็นซึง  ่
ความจางคลายอยูเปนประจํา หายใจออก”;
         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึงความ
                                                      ่
ดับไมเหลืออยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็น
ซึ่งความดับไมเหลืออยูเ ปนประจํา หายใจออก ”;
อานาปานสติ ๓๕

         ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่งความ
สลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็น
ซึ่งความสลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจออก”;
         ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อวาเปนผูตามเห็น
ธรรมในธรรมทั้งหลาย อยูเปนประจํา มีความเพียรเผา
กิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลก
ออกเสียได.
         ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เปนผูเขาไปเพงเฉพาะเปน
อยางดีแลว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัส
ทั้งหลายของเธอนั้นดวยปญญา. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น
ในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นยอมชื่อวาเปนผูตามเห็นธรรมในธรรม
ทั้งหลายอยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ
มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได ในสมัยนั้น.
         ภิกษุ ท. !       อานาปานสติอันบุคคลเจริญแลว
อยางนี้ ทําใหมากแลวอยางนี้แล ชื่อวาทําสติปฏฐานทังสี่
                                                       ้
ใหบริบูรณได.
36 พุทธวจน
   ฉบับ ๖    อานาปานสติ
อานาปานสติ ๓๗

                โพชฌงคบริบูรณ
             เพราะสติปฏฐานบริบูรณ

        ภิกษุ ท. ! สติปฏฐานทั้งสี่ อันบุคคลเจริญแลว
อยางไร ทําใหมากแลวอยางไร จึงทําโพชฌงคทั้งเจ็ดให
บริบูรณได ?

[โพชฌงคเจ็ด หมวดกายานุปสสนา]
          ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเปนผูตามเห็นกายใน
กาย อยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ
มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได, สมัยนัน      ้
สติของภิกษุผูเขาไปตั้งไวแลวก็เปนธรรมชาติไมลืมหลง.
          ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผูเขาไปตั้งไว
แลว เปนธรรมชาติไมลืมหลง, สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค
ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว, สมัยนันภิกษุชื่อวายอม
                                         ้
เจริญสติสัมโพชฌงค, สมัยนั้นสติสัมโพชฌงคของภิกษุ
ชื่อวาถึงความเต็มรอบแหงการเจริญ.
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัวdentyomaraj
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี Panuwat Beforetwo
 
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcoolTongsamut vorasan
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวRachabodin Suwannakanthi
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapanaTongsamut vorasan
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมniralai
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลีkannika2264
 
คู่มือโสดาบัน
คู่มือโสดาบันคู่มือโสดาบัน
คู่มือโสดาบันpiak120
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการniralai
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดานTongsamut vorasan
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 

Was ist angesagt? (18)

หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
 
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลี
 
tes
testes
tes
 
คู่มือโสดาบัน
คู่มือโสดาบันคู่มือโสดาบัน
คู่มือโสดาบัน
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการ
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 

Andere mochten auch

2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔Tongsamut vorasan
 
2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔
2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔
2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔Tongsamut vorasan
 
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียดข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียดTongsamut vorasan
 
6 52+ตติยสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+มหาวรรค+ตอน+๒
6 52+ตติยสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+มหาวรรค+ตอน+๒6 52+ตติยสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+มหาวรรค+ตอน+๒
6 52+ตติยสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+มหาวรรค+ตอน+๒Tongsamut vorasan
 
1ฆราวาสชั้นเลิศ 1stclasspeople
1ฆราวาสชั้นเลิศ 1stclasspeople1ฆราวาสชั้นเลิศ 1stclasspeople
1ฆราวาสชั้นเลิศ 1stclasspeopleTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
สคิปัฏฐานทาง
สคิปัฏฐานทางสคิปัฏฐานทาง
สคิปัฏฐานทางTongsamut vorasan
 
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 21 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2Tongsamut vorasan
 
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕Tongsamut vorasan
 
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓Tongsamut vorasan
 
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+11 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1Tongsamut vorasan
 
9 79+อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา+สห+อภิธรรมฺมภตฺวิภาวินีนาม+อภิธมฺมตฺถสงฺคหฎีกา
9 79+อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา+สห+อภิธรรมฺมภตฺวิภาวินีนาม+อภิธมฺมตฺถสงฺคหฎีกา9 79+อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา+สห+อภิธรรมฺมภตฺวิภาวินีนาม+อภิธมฺมตฺถสงฺคหฎีกา
9 79+อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา+สห+อภิธรรมฺมภตฺวิภาวินีนาม+อภิธมฺมตฺถสงฺคหฎีกาTongsamut vorasan
 
อานาปานทีปนี
อานาปานทีปนีอานาปานทีปนี
อานาปานทีปนีTongsamut vorasan
 
กลอนนักเรียนผู้อาภัพ แต่งเนื่องในวันครู
กลอนนักเรียนผู้อาภัพ แต่งเนื่องในวันครูกลอนนักเรียนผู้อาภัพ แต่งเนื่องในวันครู
กลอนนักเรียนผู้อาภัพ แต่งเนื่องในวันครูTongsamut vorasan
 
ปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกาย
ปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกายปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกาย
ปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกายTongsamut vorasan
 
งานทำบุญมหารำลึกที่วัดวชิรธรรมปทีป นิวยอร์ค
งานทำบุญมหารำลึกที่วัดวชิรธรรมปทีป นิวยอร์คงานทำบุญมหารำลึกที่วัดวชิรธรรมปทีป นิวยอร์ค
งานทำบุญมหารำลึกที่วัดวชิรธรรมปทีป นิวยอร์คTongsamut vorasan
 

Andere mochten auch (19)

2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
 
2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔
2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔
2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔
 
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียดข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
ข้อมูลเตรียมการประชุมสัมมนาโดยละเอียด
 
6 52+ตติยสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+มหาวรรค+ตอน+๒
6 52+ตติยสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+มหาวรรค+ตอน+๒6 52+ตติยสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+มหาวรรค+ตอน+๒
6 52+ตติยสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+มหาวรรค+ตอน+๒
 
1ฆราวาสชั้นเลิศ 1stclasspeople
1ฆราวาสชั้นเลิศ 1stclasspeople1ฆราวาสชั้นเลิศ 1stclasspeople
1ฆราวาสชั้นเลิศ 1stclasspeople
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
สคิปัฏฐานทาง
สคิปัฏฐานทางสคิปัฏฐานทาง
สคิปัฏฐานทาง
 
Book78
Book78Book78
Book78
 
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
2 15+ธมฺมปทฏฐกถา+(ปฐโม+ภาโค)
 
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 21 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
 
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
 
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
2 25คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๓
 
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+11 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
1 12+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+1
 
9 79+อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา+สห+อภิธรรมฺมภตฺวิภาวินีนาม+อภิธมฺมตฺถสงฺคหฎีกา
9 79+อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา+สห+อภิธรรมฺมภตฺวิภาวินีนาม+อภิธมฺมตฺถสงฺคหฎีกา9 79+อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา+สห+อภิธรรมฺมภตฺวิภาวินีนาม+อภิธมฺมตฺถสงฺคหฎีกา
9 79+อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา+สห+อภิธรรมฺมภตฺวิภาวินีนาม+อภิธมฺมตฺถสงฺคหฎีกา
 
อานาปานทีปนี
อานาปานทีปนีอานาปานทีปนี
อานาปานทีปนี
 
กลอนนักเรียนผู้อาภัพ แต่งเนื่องในวันครู
กลอนนักเรียนผู้อาภัพ แต่งเนื่องในวันครูกลอนนักเรียนผู้อาภัพ แต่งเนื่องในวันครู
กลอนนักเรียนผู้อาภัพ แต่งเนื่องในวันครู
 
8. ----------------- ---8
8. ----------------- ---88. ----------------- ---8
8. ----------------- ---8
 
ปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกาย
ปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกายปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกาย
ปาฏิโมกข์แปล ของวัดพระธรรมกาย
 
งานทำบุญมหารำลึกที่วัดวชิรธรรมปทีป นิวยอร์ค
งานทำบุญมหารำลึกที่วัดวชิรธรรมปทีป นิวยอร์คงานทำบุญมหารำลึกที่วัดวชิรธรรมปทีป นิวยอร์ค
งานทำบุญมหารำลึกที่วัดวชิรธรรมปทีป นิวยอร์ค
 

Ähnlich wie 4 อานาปานสติ anapanasati

2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวKaiwan Hongladaromp
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวTum Nuttaporn Voonklinhom
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓
7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓
7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓Tongsamut vorasan
 
บาลี 61 80
บาลี 61 80บาลี 61 80
บาลี 61 80Rose Banioki
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒Tongsamut vorasan
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒Wataustin Austin
 
บาลี 42 80
บาลี 42 80บาลี 42 80
บาลี 42 80Rose Banioki
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย Maha Duangthip Dhamma
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 

Ähnlich wie 4 อานาปานสติ anapanasati (20)

2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
 
17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓
7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓
7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓
 
บาลี 61 80
บาลี 61 80บาลี 61 80
บาลี 61 80
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
 
บาลี 42 80
บาลี 42 80บาลี 42 80
บาลี 42 80
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 

Mehr von Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

Mehr von Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

4 อานาปานสติ anapanasati

  • 1. !"#$%&' !"#"$"#%&' ()* &+",& !"#$% &. ! '()*++,-,.,-/0" +1-2%334'56"7&89:;(,#<4;=... >4+,-"/?/@+AB,?9C+AB,?:-D*? 9-266C,>4 E .6F#,6 '.G-/"*?&H*:=1?IC; 3)+ +6:100>49-.J55%21- :6)+=B,K;,A1?(H+%.,&"':4)++ALB #M51#'.G- +-,3,(H. -0)/)(. LT. NP/VPW/NVNV. '0-)6LH0(:? !"#$% !"#$%XY ,%?)L# ,%?)L"#) DE4Z(:&[)19F)KF
  • 2. ภิกษุ ท. ! ภิกษุเหล่าใดยังเป็นเสขะ ยังไม่ลุถึงธรรมที่ต้องประสงค์แห่งใจ ปรารถนาอยู่ซึ่งโยคเขมธรรมอันไม่มีอะไรยิ่งกว่า; ภิกษุเหล่านั้น เมื่อเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ซึ่งอานาปานสติสมาธิ ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย. ส่วนภิกษุทั้งหลายเหล่าใด เป็นอรหันต์ สิ้นอาสวะแล้ว มีพรหมจรรย์อยู่จบแล้ว เป็นผู้หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น เมื่อเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ซึ่งอานาปานสติสมาธิ ย่อมเป็นสุขวิหารในปัจจุบันด้วย เพื่อความสมบูรณ์แห่งสติสัมปชัญญะด้วย.... มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๑๒ - ๔๒๓ /๑๓๖๔ – ๑๓๖๘.
  • 3. พุทธวจน ! อานาปานสติ ฉบับ ๖ !"#$%&'! ()*)!+!! !,--.!"%/$0##01 !2345! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! "!"#$%&'()*+',-./001$&.!213456.47$/789.:&0(71(;<0)+'=>?=3#! !
  • 4. พุทธวจน ฉบับ ๖ อานาปานสติ สื่อธรรมะนี้ จัดทําเพื่อประโยชนทางการศึกษาสูสาธารณชนเปนธรรมทาน ลิขสิทธิ์ในตนฉบับนี้ไดรับการสงวนไว ไมสงวนสิทธิ์ในการจัดทําจากตนฉบับเพื่อเผยแผในทุกกรณี ในการจัดทําหรือเผยแผ โปรดใชความละเอียดรอบคอบ เพื่อรักษาความถูกตองของขอมูล ขอคําปรึกษาดานขอมูลในการจัดทําเพื่อความสะดวกและประหยัด ติดตอไดที่ คุณศรชา โทร.๐๘๑-๕๑๓-๑๖๑๑ หรือ คุณอารีวรรณ โทร.๐๘๕-๐๕๘-๖๘๘๘ พิมพครั้งที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๓ จํานวน ๑๐,๐๐๐ เลม พิมพครั้งที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๓ จํานวน ๕,๐๐๐ เลม ศิลปกรรม วิชชุ เสริมสวัสดิ์ศรี ที่ปรึกษาศิลปกรรม จํานงค ศรีนวล, ธนา วาสิกศิริ จัดทําโดย มูลนิธิพุทธโฆษณ (เว็บไซต www.buddhakos.org) ดําเนินการพิมพโดย บริษท คิว พรินท แมเนจเมนท จํากัด ั ้ โทรศัพท ๐-๒๘๐๐-๒๒๙๒ โทรสาร ๐-๒๘๐๐-๓๖๔๙
  • 5. คําอนุโมทนา ขออนุโมทนา กับคณะผูจัดทํา หนังสือพุทธวจน ฉบับ “ อานาปานสติ ” ในเจตนาอั น เป น กุ ศ ล ที่ มี ค วามตั้ ง ใจเผยแผ คําสอนขององคสัมมาสัมพุทธเจาที่ออกจากพระโอษฐของพระองค เอง ทั้งหมดที่ทานตรัสรูในหลายแงมุมที่เกี่ยวกับการใชชีวิต วิธี แกทุกข ฯลฯ ตามหลักพุทธวจนงาย ๆ เพื่อใหผูสนใจไดศึกษา และนํามาปฏิบัติเพื่อใหถึงความพนทุกขดวยเหตุอันดีนี้ ขอจง เปนพลวปจจัย ใหผูมีสวนรวมในการทําหนังสือเลมนี้และผูที่ ไดอาน ไดศึกษา พึงเกิดปญญาไดดวงตาเห็นธรรม พน ทุก ขใ น ชาตินี้เทอญ ขออนุโมทนา พระคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
  • 6.
  • 7. คํานํา หากมีการจัดอันดับหนังสือที่มีความสําคัญมากที่สุดใน โลก ฐานะที่จะมีไดคือ หนังสือ อานาปานสติ โดยพระตถาคต นี้ คือหนึ่งในหนังสือที่มีความสําคัญอันดับแรกของโลก พุทธวจน ที่เกี่ยวของกับอานาปานสติภาวนาทั้งหมด เมื่อ พิจารณา ประกอบดวยหลักปฏิจจสมุปบาทของจิตโดยละเอียดแลว จะพบขอสังเกตอันนาอัศจรรยวา; อานาปานสติ คือการลดอัตรา ความถี่ในการเกิดของจิต ซึ่งเปนการสรางภาวะที่พรอมที่สุด สําหรับการบรรลุธรรม พระพุทธองคทรงเผยวา อานาปานสติ นี้ แทจริงแลว ก็คือเครื่องมือในการทําสติปฏฐานทั้งสี่ ใหถึงพรอมบริบูรณซึ่ง เปนเหตุสงตอใหโพชฌงคทั้งเจ็ดเจริญเต็มรอบ และนําไปสูวิชชา และวิมุตติ ในที่สุดโดยทั้งหมดนี้เกิดขึ้นได แมในลมหายใจเดียว ภายใตเงื่อนไขที่วา จะตองเปนการปฏิบัติที่ตรงวิธี ในแบบที่ระบุ โดยมัคควิทู (ผูรูแจงมรรค) คือ จากการบอกสอนดวยคําพูดของ พระพุทธเจาเองโดยตรงเทานั้น
  • 8. สําหรับมนุษยทุกคนที่อยูในขายที่สามารถบรรลุธรรมไดนี่ คือ หนังสือที่จําเปนตองมีไวศึกษา เพราะเนื้อหาทั้งหมด ไดบรรจุ รายละเอียดในมิติตาง ๆ ของอานาปานสติ เฉพาะที่เปนพุทธวจนลวนๆ คือตัวสุตตันตะที่เปนตถาคตภาษิตไวอยางครบถวนสมบูรณทุกแงมุม เรียกไดวาเปนคูมือพนทุกขดวยมรรควิธีอานาปานสติ ฉบับแรกของโลก ที่เจาะจงในรายละเอียดของการปฏิบัติ โดย ไมเ จือ ปนดว ยสาวกภาษิต (ซึ่ง โดยมากมัก จะตัด ทอนตน ฉบับ พุท ธวจนเดิม หรือ ไมก็เ พีย งอา งถึง ในลัก ษณะสัก แตวา แลว บัญญัติรายละเอียดตางๆ เพิ่มเติมขึ้นใหมเองอยางวิจิตรพิสดาร นอกแนว นําไปสูความเขาใจที่ผิดเพี้ยนหรือไมก็บิดเบือนคลาดเคลื่อน พลัดออกนอกทางในที่สุด) การเกิดขึ้นของอานาปานสติฉบับพุทธวจนนี้ ไมใชของ ง า ยที่ จ ะมี ขึ้ น ได เลย เพราะในเมื่ อ การเกิ ด ขึ้ น ของตถาคตใน สังสารวัฏ เปนของที่มีไดยาก การรวบรวมนํามรรควิธี ที่ตถาคต ทรงใช เปน วิ ห ารธรรมเครื่ อ งอยู มารวมไว เป น หนั ง สื อ คู มือ ชาวพุทธในเลมเดียว จึงไมใชของงายที่จะมีขึ้นได การที่ ห นั ง สื อ เล ม นี้ จ ะเป น ที่ แ พร ห ลายในสั ง คมพุ ท ธ วงกวางหาก็ไมใชของงายเชนกัน ทั้งนี้ ไมใชเพราะเหตุวา พุทธวจน
  • 9. เปนสิ่งที่หาไดยาก อานยาก หรือทําความเขาใจไดยากและ ไมใช เพราะเหตุคือ เงื่อนไขในดานบุคลากร ในดานการจัดพิมพ หรือ ป ญ หาเรื่ อ งเงิ น ทุ น แต เ พราะด ว ยเหตุ ว า พระตถาคตทรงใช อานาปานสติเปนวิหารธรรมเครื่องอยู และทรงพร่ําสอนไว กําชับ กับภิกษุ และ กับบุคคลทั่วไปไว บอกรายละเอียดไว แจกแจง อานิส งสไ ว มากที่สุด ในสัด สวนที่ม ากกวา มาก เมื่อ เทียบกับ มรรควิธีอื่นๆ ในหมูนักปฏิบัติ อานาปานสติ จึงถูกนํามาเผยแพร ถูกมา บอกสอนกันมาก ซึ่งเมื่อเปนเชนนั้น การปนเปอนดวยคําของ สาวก ในลักษณะตัดตอเติมแตงก็ดี หรือเขียนทับก็ดี จึงเกิดขึ้น มาก…...…ไปจนถึงจุดที่เราแทบจะไมพบเจอสํานักปฏิบัติที่ใช อานาปานสติ ในรูปแบบเดียวกับที่พระพุทธองคทรงใชในครั้ง พุทธกาลไดอีกแลว เมื่อเปนเชนนี้ ในขั้นตอนการเรียนรู จึงหลีกเลี่ยงไมไดที่ จะตองผานกระบวนการนําออก ซึ่งความเขาใจผิดตางๆ รวมถึง ความเคยชินเดิมๆ ที่มีมาอยูแลวกอนเปนขั้นแรก ดังนั้น หากมรรควิธีที่ถูกตอง ในแบบที่ตรงอรรถตรง พยัญชนะ ถูกนํามาเผยแพรออกไป ไดมากและเร็วเทาไหร;
  • 10. ขั้นตอน หรือ กระบวนการศึกษา ตลอดจนผลที่ไดรับก็จะเปนไป ในลักษณะลัดสั้น ตรงทางสูมรรคผลตามไปดวย เพราะสําหรับผูที่เริ่มศึกษาจริงๆ ก็จะไดเรียนรูขอมูล ที่ถูกตองไปเลยแตทีแรก และสําหรับผูที่เขาใจผิดไปกอนแลว ก็จะไดอาศัยเปนแผนที่ เพื่อหาทางกลับสูมรรคที่ถูกได คณะผูจัดพิมพหนังสือเลมนี้ ขอนอบนอมสักการะ ตอ ตถาคต ผูอรหันตสัมมาสัมพุทธะ และ ภิกษุสาวกในธรรมวินัยนี้ ตั้งแตครั้งพุทธกาล จนถึงยุคปจจุบน ั ที่มีสวนเกียวของในการสืบทอดพุทธวจน ่ คือ ธรรม และวินย ทีทรงประกาศไว บริสทธิ์บริบูรณดแลว ั ่ ุ ี คณะศิษยพระตถาคต มกราคม ๒๕๕๓
  • 11. สารบัญ หนา อานิสงสสูงสุดแหงอานาปานสติ ๒ ประการ ๑ อานิสงสแหงอานาปานสติ ๗ ประการ ๕ เจริญอานาปานสติ เปนเหตุให สติปฏฐาน ๔ – ๑๑ โพชฌงค ๗ – วิชชา และวิมุตติ บริบูรณ อานาปานสติบริบูรณ ยอมทําสติปฏฐานใหบริบูรณ ๑๒ สติปฏฐานบริบูรณ ยอมทําโพชฌงคใหบริบูรณ ๑๘ โพชฌงคบริบูรณ ยอมทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ ๒๒ เจริญอานาปานสติ เปนเหตุให สติปฏฐาน ๔ – โพฌชงค ๗ – ๒๕ วิชชาและวิมุตติ บริบูรณ (อีกสูตรหนึ่ง) สติปฏฐานบริบูรณ เพราะอานาปานสติบริบูรณ ๓๐ โพชฌงคบริบูรณ เพราะสติปฏฐานบริบูรณ ๓๗ วิชชาและวิมุตติบริบูรณ เพราะโพชฌงคบริบูรณ ๔๓ การเจริญอานาปานสติ (ตามนัยแหงมหาสติปฏฐานสูตร) ๔๕ เมื่อเจริญอานาปานสติ ก็ชื่อวาเจริญกายคตาสติ ๔๗ อานาปานสติ เปนเหตุใหถึงซึ่งนิพพาน ๔๙ อานาปานสติสมาธิ เปนเหตุใหละสังโยชนได ๕๐ อานาปานสติสมาธิ สามารถกําจัดเสียไดซึ่งอนุสัย ๕๒
  • 12. หนา อานาปานสติสมาธิ เปนเหตุใหรอบรูซึ่งทางไกล (อวิชชา) ๕๔ อานาปานสติสมาธิ เปนเหตุใหสิ้นอาสวะ ๕๖ แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่หนึ่ง) ๕๘ เจริญอานาปานสติ มีอานิสงสเปนเอนกประการ ๖๐ จิตหลุดพนจากอาสวะ ๖๑ ละความดําริอันอาศัยเรือน ๖๑ ควบคุมความรูสึกเกี่ยวความไมปฏิกูล ๖๒ เปนเหตุใหไดสมาธิในระดับรูปสัญญาทั้งสี่ ๖๓ เปนเหตุใหไดสมาธิในระดับอรูปสัญญาทั้งสี่ ๖๕ เปนเหตุใหไดสัญญาเวทยิตนิโรธ ๖๗ รูตอเวทนาทุกประการ ๖๗ แบบการเจริญอานาปานสติที่มีผลมาก (แบบที่สอง) ๗๑ เจริญอานาปานสติมีอานิสงสเปนเอนกประการ (อีกสูตรหนึ่ง) ๗๓ ไดบรรลุมรรคผลในปจจุบัน ๗๔ เพื่อประโยชนมาก ๗๕ เพื่อความเกษมจากโยคะมาก ๗๖ เพื่อความสังเวชมาก ๗๗ เพื่ออยูเปนผาสุกมาก ๗๘ เจริญอานาปานสติ ชื่อวาไมเหินหางจากฌาน ๘๑ อานาปานสติ : เปนสุขวิหาร ระงับไดซึ่งอกุศล ๘๓
  • 13. หนา อานาปานสติ : สามารถกําจัดบาปอกุศลไดทุกทิศทาง ๘๖ อานาปานสติ : ละไดเสียซึ่งความฟุงซาน ๙๓ อานาปานสติ : ละเสียไดซึ่งความคับแคน ๙๕ อานาปานสติ : วิหารธรรมของพระอริยเจา ๙๗ เจริญอานาปานสติ : กายไมโยกโคลง จิตไมหวั่นไหว ๑๐๐ เจริญอานาปานสติ เปนเหตุให รูลมหายใจอันมีเปนครั้งสุดทาย ๑๐๓ กอนเสียชีวิต ธรรมเปนเครื่องถอนอัส๎มิมานะในปจจุบัน ๑๐๕ วิธีการบมวิมุตติใหถึงที่สุด ๑๐๙ ธรรมสัญญา ในฐานะแหงการรักษาโรคดวยอํานาจสมาธิ ๑๑๒ ธรรมะแวดลอม ๑๒๓ ธรรมเปนอุปการะเฉพาะแกอานาปานสติภาวนา (นัยที่หนึ่ง) ๑๒๔ (นัยที่สอง) ๑๒๖ (นัยที่สาม) ๑๒๘ นิวรณเปนเครื่องทํากระแสจิตไมใหรวมกําลัง ๑๓๐ นิวรณ – ขาศึกแหงสมาธิ ๑๓๓ ขอควรระวัง ในการเจริญสติปฏฐานสี่ ๑๓๕ เหตุปจจัยที่พระศาสนาจะตั้งอยูนานภายหลังพุทธปรินิพพาน ๑๓๙ อานิสงสแหงกายคตาสติ ๑๔๑
  • 14. ! ! ! !"#$%&"'()*+,-,./!!01!!"#$%&"! !"#$%&"'()2*3456,26-35*78*!"9-:9;<*,-,./#!=!!"#$%&"! + !"#$%&"2;(>?78*!@&:5>%:A*.#A8-B("C!=!!"#$%&"! "?-!"#$%&"'84/6-;!=0!!"#$%&"! D""-#@?;.<5-'()27()>?E<5/!1!!"#$%&" !
  • 15. อานาปานสติ ๑ อานิสงสสงสุดแหงอานาปานสติ ู ๒ ประการ ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญ กระทํา ใหมากแลว ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ ก็อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลวอยางไร กระทําใหมากแลวอยางไร จึงมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ ? ภิกษุ ท. ! ในกรณี นี้ ภิ ก ษุ ไ ปแล ว สู ป า หรื อ โคนไม หรือเรือนวางก็ตาม นั่งคูขาเขามาโดยรอบ ตั้งกายตรง ดํารงสติเฉพาะหนา เธอนั้น มีสติหายใจเขา มีสติหายใจออก : เมื่อหายใจเขายาว ก็รูชัดวาเราหายใจเขายาว, เมื่อหายใจออกยาว ก็รูชัดวาเราหายใจออกยาว; เมื่อหายใจเขาสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจเขาสั้น, เมื่อหายใจออกสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจออกสั้น; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งกายทั้งปวง (สพฺพกายปฏิสํเวที) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก”;
  • 16. ๒ พุทธวจน เธอย อ มทํา การฝ ก หั ด ศึ ก ษาว า “เราเป น ผูทํา กายสังขารใหรํางับอยู (ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทํากายสังขารใหรํางับอยู หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งปติ (ปติปฏิสํเวที) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรู พรอมเฉพาะซึงปติ หายใจออก”; ่ เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งสุข (สุขปฏิสํเวที) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรู พรอมเฉพาะซึงสุข หายใจออก”; ่ เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งจิตตสังขาร (จิตฺตสงฺขารปฏิสํเวที) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก”; เธอยอ มทํา การฝ ก หั ด ศึก ษาว า “เราเป น ผูทํา จิตตสังขารใหรํางับอยู (ปสฺสมฺภยํ จิตฺตสงฺขารํ) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตตสังขารใหรํางับอยู หายใจออก”;  เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งจิต (จิตฺตปฏิสํเวที) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรู พรอมเฉพาะซึงจิต หายใจออก”; ่
  • 17. อานาปานสติ ๓ เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให ปราโมทย ยิ่ ง อยู (อภิ ปฺ ป โมทยํ จิ ตฺ ตํ ) หายใจเข า ”, ว า “เราเปนผูทําจิตใหปราโมทยยิ่งอยู หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให ตั้งมั่นอยู (สมาทหํ จิตฺตํ) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิต ใหตั้งมั่นอยู หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให ปลอยอยู (วิโมจยํ จิตฺตํ) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทาจิต ํ ใหปลอยอยู หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง ความไมเที่ยงอยูเปนประจํา (อนิจฺจานุปสฺสี) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็นซึ่งความไมเทียงอยูเ ปนประจํา หายใจออก”; ่ เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่งความ จางคลายอยูเปนประจํา (วิราคานุปสฺสี) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็นซึ่งความจางคลายอยูเปนประจํา หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง ความดับไมเหลืออยูเปนประจํา (นิโรธานุปสฺสี) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็นซึงความดับไมเหลืออยูเปนประจํา หายใจออก”; ่
  • 18. ๔ พุทธวจน เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง ความสลัดคืนอยูเปนประจํา (ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสี) หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็นซึ่งความสลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจออก”; ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว กระทําใหมากแลว อยางนีแล ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ. ้ ภิกษุ ท. ! เมื่ออานาปานสติ อันบุคคลเจริญ ทําใหมากแลวอยูอยางนี้ ผลอานิสงสอยางใดอยางหนึ่ง ในบรรดาผล ๒ ประการ เปนสิ่งที่หวังได; คือ อรหัตตผลในปจจุบัน หรือวาถายังมีอุปาทิเหลืออยู ก็จักเปน อนาคามี. ปฐมพลสูตร มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๖ - ๓๙๗/๑๓๑๑ - ๑๓๑๓.
  • 19. อานาปานสติ ๕ อานิสงสแหงอานาปานสติ ๗ ประการ ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญ กระทํา ใหมากแลว ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ ก็อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลวอยางไร กระทําใหมากแลวอยางไร จึงมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ ? ภิกษุ ท. ! ในกรณีนี้ ภิกษุไปแลวสูปา หรือโคนไม หรือเรือนวางก็ตาม นั่งคูขาเขามาโดยรอบ ตังกายตรง ดํารง ้ สติเฉพาะหนา เธอนั้น มีสติหายใจเขา มีสติหายใจออก : เมื่อหายใจเขายาว ก็รูชัดวาเราหายใจเขายาว, เมื่อหายใจออกยาว ก็รูชัดวาเราหายใจออกยาว; เมื่อหายใจเขาสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจเขาสั้น, เมื่อหายใจออกสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจออกสั้น; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก”;
  • 20. ๖ พุทธวจน เธอยอ มทํา การฝ ก หั ด ศึ ก ษาว า “เราเป น ผูทํา กายสัง ขารให รํา งับอยู หายใจเข า”, ว า “เราเป น ผูทํา กายสังขารใหรํางับอยู หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งปติ หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งปติ หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งสุข หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งสุข หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทาจิตต-ํ สังขารใหรํางับอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตต- สังขารใหรํางับอยู หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งจิต หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิต หายใจออก”;
  • 21. อานาปานสติ ๗ เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิต ใหปราโมทยยิ่งอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตให ปราโมทยยิ่งอยู หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิต ใหตั้งมั่นอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิต ใหปลอยอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตใหปลอยอยู หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง ความไมเที่ยงอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปน ผูเห็นซึ่งความไมเที่ยงอยูเปนประจํา หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง ความจางคลายอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปน ผูเห็นซึ่งความจางคลายอยูเปนประจํา หายใจออก”; เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง ความดับไมเหลืออยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปน ผูเห็นซึ่งความดับไมเหลืออยูเปนประจํา หายใจออก”;
  • 22. ๘ พุทธวจน เธอยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง ความสลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปน ผูเห็นซึ่งความสลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจออก”; ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว กระทํา ใหมากแลว อยางนี้แล ยอมมีผลใหญ มีอานิสงสใหญ. ภิกษุ ท. ! เมื่ออานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว กระทําใหมากแลว อยูอยางนี้ ผลอานิสงส ๗ ประการ ยอมเปนสิ่งทีหวังได. ่ ผลอานิสงส ๗ ประการ เปนอยางไรเลา ? ผลอานิสงส ๗ ประการ คือ :- ๑. การบรรลุอรหัตตผลทันทีในปจจุบันนี้. ๒. ถาไมเชนนั้น ยอมบรรลุอรหัตตผลในกาล แหงมรณะ. ๓. ถาไมเชนนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕ ยอมเปนอันตราปรินิพพายี (ผูจะปรินิพพานในระหวางอายุยัง ไมถึงกึ่ง). ๔. ถาไมเชนนัน เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕ ้ ยอมเปนอุปหัจจปรินพพายี (ผูจะปรินิพพานเมื่อใกลจะสิ้นอายุ). ิ
  • 23. อานาปานสติ ๙ ๕. ถาไมเชนนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕ ยอมเปนอสังขารปรินิพพายี (ผูจะปรินิพพานโดยไมตองใช ความเพียรมากนัก). ๖. ถาไมเชนนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕ ยอมเปนสสังขารปรินิพพายี (ผูจะปรินิพพานโดยตองใช ความเพียรมาก). ๗. ถาไมเชนนั้น เพราะสิ้นโอรัมภาคิยสัญโญชน ๕ ยอมเปนอุทธังโสโตอกนิฏฐคามี (ผูมีกระแสในเบื้องบนไปสู อกนิฏฐภพ). ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว กระทําใหมากแลวอยางนี้แล ผลอานิสงส ๗ ประการ เหลานี้ ยอมหวังได ดังนี.้ ทุติยผลสูตร มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๗/๑๓๑๔ - ๑๓๑๖.
  • 24. 10 พุทธวจน ฉบับ ๖ อานาปานสติ
  • 25. อานาปานสติ ๑๑ เจริญอานาปานสติ เปนเหตุให สติปฏฐาน ๔ – โพชฌงค ๗ – วิชชา และวิมุตติบริบูรณ ภิกษุ ท. ! ธรรมอันเอกนันมีอยู ซึ่งเมื่อบุคคล ้ เจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําธรรมทัง ๔ ใหบริบูรณ; ้ ครั้นธรรมทัง ๔ นั้น อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ้ ยอมทําธรรมทัง ๗ ใหบริบูรณ; ครั้นธรรมทั้ง ๗ นั้น ้ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําธรรมทั้ง ๒ ใหบริบูรณได. ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธินี้แล เปนธรรม อันเอก ซึ่งเมื่อบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทํา สติปฏฐานทั้ง ๔ ใหบริบูรณ; สติปฏฐาน ๔ อันบุคคล เจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําโพชฌงคทั้ง ๗ ใหบริบูรณ; โพชฌงคทั้ง ๗ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทํา วิชชาและวิมุตติใหบริบูรณได.
  • 26. ๑๒ พุทธวจน อานาปานสติบริบูรณ ยอมทําสติปฏฐานใหบริบูรณ ภิกษุ ท. ! ก็อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทํ า ให ม ากแล ว อย า งไรเล า จึ ง ทํ า สติ ป ฏ ฐานทั้ ง ๔ ให บริบูรณได ? ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เมื่อหายใจเขายาว ก็รูชัดวาเราหายใจเขายาว, เมื่อหายใจออกยาว ก็รูชัดวาเราหายใจออกยาว; เมื่อหายใจเขาสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจเขาสั้น , เมื่อหายใจออกสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจออกสั้น; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก”; ย อ มทํา การฝ ก หั ด ศึ ก ษาว า “เราเป น ผู ทํา กายสั ง ขารให รํา งั บ อยู หายใจเข า ”, ว า “เราเป น ผู ทํา กายสังขารใหรํางับอยู หายใจออก”;
  • 27. อานาปานสติ ๑๓ ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวา เปนผูตาม เห็นกายในกายอยูเปนประจํา เปนผูมีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลก ออกเสียได. ภิกษุ ท. ! เราย อ มกล า วลมหายใจเขา และ ลมหายใจออก วาเปนกายอยางหนึ่ง ๆ ในบรรดากายทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้น ยอมชื่อวา เปนผูตามเห็นกายในกายอยูเปนประจํา มีความ เพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งปติ หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งสุข หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก”;
  • 28. ๑๔ พุทธวจน ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิตตสังขาร หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตตสังขาร ใหรํางับอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตตสังขารให รํางับอยู” หายใจออก”; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวา เปนผูตาม เห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยูเปนประจํา เปนผูมีความ เพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได. ภิกษุ ท. ! เรายอมกลาววา การทําในใจเปน อยางดีถึงลมหายใจเขา และลมหายใจออก วาเปนเวทนา อยางหนึงๆ ในบรรดาเวทนาทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะ ่ เหตุนั้น ในกรณีนี้ ภิกษุนั้นยอมชื่อวาเปนผูตามเห็นเวทนา  ในเวทนาทั้งหลายอยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มี สัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ
  • 29. อานาปานสติ ๑๕ ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่ง จิต หายใจเข า ”, ว า “เราเป น ผู รู พ ร อ มเฉพาะซึ่ ง จิต หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให ปราโมทยยงอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทาจิตใหปราโมทย ิ่ ํ ยิ่งอยู หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให ตั้งมั่นอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให ปลอยอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทาจิตใหปลอยอยู ํ หายใจออก”; ภิ ก ษุ ท. ! สมั ย นั้ น ภิ ก ษุ นั้ น ชื่ อ ว า เป น ผูตามเห็นจิตในจิต อยูเปนประจํา เปนผูมีความเพียร เผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได. ภิกษุ ท. ! เราไมกลาววาอานาปานสติ เปนสิ่ง ที่มีไดแกบุคคลผูมีสติอันลืมหลงแลว ผูไมมีสัมปชัญญะ.
  • 30. ๑๖ พุทธวจน ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้น ยอมชื่อวา เปนผูตามเห็นจิตในจิตอยูเปนประจํา มีความ เพี ย รเผากิ เ ลส มี สั ม ปชั ญ ญะ มี ส ติ นํ า อภิ ช ฌาและ โทมนัสในโลกออกเสียได. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่ง ความไมเที่ยงอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็น ซึ่งความไมเที่ยงอยูเปนประจํา หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่งความ จางคลายอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็น ซึ่งความจางคลายอยูเปนประจํา หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่งความ ดับไมเหลืออยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็น ซึ่งความดับไมเหลืออยูเปนประจํา หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่งความ สลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็น ซึ่งความสลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจออก”;
  • 31. อานาปานสติ ๑๗ ภิ ก ษุ ท. ! สมั ย นั้ น ภิ ก ษุ นั้ น ชื่ อ ว า เป น ผู ตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยูเปนประจํา มีความ เพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เปนผูเขาไปเพงเฉพาะเปน อยางดีแลว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัส ทั้งหลายของเธอนั้นดวยปญญา. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในกรณีนี้ ภิกษุนั้นยอม ชื่อวาเปนผูตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลายอยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและ โทมนัสในโลกออกเสียได. ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อันบุคคลเจริญแลว ทํ า ให ม ากแล ว อย า งนี้ แ ล ย อ มทํ า สติ ป ฏ ฐานทั้ ง ๔ ใหบริบูรณได.
  • 32. ๑๘ พุทธวจน สติปฏฐานบริบูรณ ยอมทําโพชฌงคใหบริบรณ ู ภิกษุ ท. ! ก็สติปฏฐานทั้ง ๔ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลวอยางไรเลา จึงทําโพชฌงคทั้ง ๗ ใหบริบูรณ ได ? ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเปนผูตามเห็นกายในกาย อยูเปนประจําก็ดี, เปนผูตามเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย  อยูเปนประจําก็ด;ี เปนผูตามเห็นจิตในจิต อยูเปนประจําก็ดี; เปนผูตามเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยูเปนประจําก็ดี; มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและ โทมนัสในโลกออกเสียได; สมัยนั้น สติที่ภิกษุเขาไป ตั้งไวแลว ก็เปนธรรมชาติไมลืมหลง. ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผูเขาไปตังไวแลว ้ เป น ธรรมชาติ ไ ม ลื ม หลง, สมั ย นั้ น สติ สั ม โพชฌงค ก็ เ ปน อัน วาภิ ก ษุนั้ น ปรารภแล ว ; สมั ย นั้น ภิก ษุชื่ อวา ยอมเจริญสติสัมโพชฌงค; สมัยนั้นสติสัมโพชฌงคของ
  • 33. อานาปานสติ ๑๙ ภิกษุนั้น ชื่อวาถึงความเต็มรอบแหงการเจริญ; ภิกษุนั้น เมื่อเปน ผูมีสติเชนนั้นอยู ชื่อวายอมทําการเลือก ยอมทํา การเฟน ยอมทําการใครครวญซึ่งธรรมนันดวยปญญา. ้ ภิ ก ษุ ท. ! สมั ย ใด ภิกษุเปนผูมีสติเชนนั้นอยู ทําการเลือกเฟน ทําการใครครวญซึ่งธรรมนั้นอยูดวยปญญา, สมัยนัน ธัมมวิจยสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว; ้ สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวา ยอมเจริญธัมมวิจยสัมโพชฌงค; สมัยนัน ธัมมวิจยสัมโพชฌงคของภิกษุนน ชื่อวาถึงความ ้ ั้ เต็มรอบแหงการเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อเลือกเฟน ใครครวญ ซึ่งธรรมนั้น ดวยปญญาอยู ความเพียรอันไมยอหยอน ก็ชื่อวาเปนธรรมอันภิกษุนนปรารภแลว. ั้ ภิกษุ ท. ! สมัยใด ความเพียรอันไมยอหยอน อัน ภิกษุผูเลือกเฟน ใครครวญธรรมดวยปญญาไดปรารภแลว; สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว; สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวายอมเจริญวิริยสัมโพชฌงค; สมัยนัน ้ วิริยสัมโพชฌงคของภิกษุนั้น ชื่อวาถึงความเต็มรอบแหง การเจริญ. ภิกษุนั้น เมื่อมีความเพียรอันปรารภแลว เชนนั้น ปติอันเปนนิรามิส (ไมอิงอามิส) ก็เกิดขึ้น.
  • 34. ๒๐ พุทธวจน ภิกษุ ท. ! สมัยใด ปติอันเปนนิรามิส เกิดขึ้นแก ภิกษุผูมีความเพียรอันปรารภแลว; สมัยนันปติสัมโพชฌงค ้ ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว; สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวา ยอมเจริญปติสัมโพชฌงค; สมัยนั้นปติสัมโพชฌงคของ ภิกษุนน ชื่อวาถึงความเต็มรอบแหงการเจริญ. ภิกษุนน ั้ ั้ เมื่อมีใจประกอบดวยปติ แมกายก็รางับ แมจิตก็รํางับ. ํ ภิกษุ ท. ! สมั ย ใด ทั้ ง กายและทั้ ง จิ ต ของ ภิ ก ษุ ผู มี ใ จประกอบด ว ยป ติ ย อ มรํา งั บ ; สมั ย นั้ น ปสสัทธิสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว; สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวายอมเจริญปสสัทธิสัมโพชฌงค; สมัยนั้น ปสสัทธิสัมโพชฌงคของภิกษุนั้น ชื่อวาถึง ความเต็มรอบแหงการเจริญ. ภิกษุนน เมื่อมีกายอันรํางับแลว ั้ มีความสุขอยู จิตยอมตั้งมั่นเปนสมาธิ. ภิ ก ษุ ท. ! สมั ย ใด จิ ต ของภิ ก ษุ ผู มี ก าย อั น รํางับแลวมีความสุขอยู ยอมเปนจิตตั้งมั่น; สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว; สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวายอมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค; สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงคของภิกษุนั้น ชื่อวาถึงความเต็มรอบ
  • 35. อานาปานสติ ๒๑ แหงการเจริญ. ภิกษุน้ัน ยอมเปนผูเขาไปเพงเฉพาะ ซึ่งจิตอันตั้งมั่นแลวอยางนั้นเปนอยางดี. ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเปนผูเขาไปเพงเฉพาะ ซึ่งจิตอันตั้งมั่นแลวอยางนั้น เปนอยางดี; สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว; สมัยนั้น ภิกษุนั้นชื่อวา ยอมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค; สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงคของภิกษุนน ชื่อวาถึงความ ั้ เต็มรอบแหงการเจริญ. ภิกษุ ท. ! สติปฏฐานทั้ง ๔ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลวอยางนี้แล ยอมทําโพชฌงคทั้ง ๗ ให บริบูรณได.
  • 36. ๒๒ พุทธวจน โพชฌงคบริบูรณ ยอมทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ ภิกษุ ท. ! โพชฌงคทั้ง ๗ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลวอยางไรเลา จึงจะทําวิชชาและวิมุตติให บริบูรณได ? ภิกษุ ท.! ภิ ก ษุ ใ นกรณี นี้ ย อ มเจริ ญ สติ - สัมโพชฌงค อันอาศัยวิเวก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ; ยอมเจริญ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค อันอาศัยวิเวก อันอาศัยวิราคะ (ความจางคลาย) อันอาศัยนิโรธ (ความดับ) อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ (ความสละ, ความปลอย); ยอ มเจริญ วิ ริย สั ม โพชฌงค อัน อาศัย วิเ วก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ; ย อ มเจริ ญ ป ติ สั ม โพชฌงค อั น อาศั ย วิ เ วก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ;
  • 37. อานาปานสติ ๒๓ ยอมเจริญ ปสสัทธิสัมโพชฌงค อันอาศัยวิเวก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ; ยอมเจริญ สมาธิสัม โพชฌงค อัน อาศัย วิเ วก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ; ยอมเจริญ อุเบกขาสัมโพชฌงค อันอาศัยวิเวก อันอาศัยวิราคะ อันอาศัยนิโรธ อันนอมไปเพื่อโวสสัคคะ; ภิกษุ ท. ! โพชฌงคทั้ง ๗ อันบุคคลเจริญแลว ทํา ใหม ากแลว อยางนี้แ ล ยอมทําวิช ชาและวิมุตติใ ห บริบูรณได, ดังนี้. ปฐมภิกขุสูตร มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๔/๑๔๐๒ - ๑๔๐๓. (หมายเหตุผูรวบรวม พระสูตรที่ทรงตรัสเหมือนกันกับพระสูตร ขางบนนี้ ยังมีอีกคือ ปฐมอานันทสูตร มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๑๗-๔๒๓/๑๓๘๑ - ๑๓๙๘. ทุติยอานันทสูตร มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๓-๔๒๔/๑๓๙๙ - ๑๔๐๑. ทุติยภิกขุสูตร มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๒๕/๑๔๐๔ - ๑๔๐๕.)
  • 38. 24 พุทธวจน ฉบับ ๖ อานาปานสติ
  • 39. อานาปานสติ ๒๕ เจริญอานาปานสติ เปนเหตุให สติปฏฐาน ๔ – โพชฌงค ๗ – วิชชา และวิมุตติบริบูรณ (อีกสูตรหนึ่ง) ภิกษุ ท. ! เราเป น ผู มั่ น แล ว ในข อ ปฏิ บั ติ นี้ . ภิกษุ ท. ! เราเปนผูมีจิตมั่นแลวในขอปฏิบัตินี้. ภิกษุ ท. ! เพราะฉะนั้นในเรื่องนี้ พวกเธอทั้งหลาย จงปรารภความ เพียรใหยิ่งกวาประมาณ เพื่อถึงสิ่งที่ยังไมถึง เพื่อบรรลุ สิ่งที่ยังไมบรรลุ เพื่อทําใหแจงสิ่งที่ยังไมทําใหแจง. เราจักรอคอยพวกเธอทั้งหลายอยู ณ ที่นครสาวัตถีนี้แล จนกวาจะถึงวันทายแหงฤดูฝนครบสี่เดือน เปนฤดูที่ บานแหงดอกโกมุท (เพ็ญเดือนสิบสอง). พวกภิกษุเปนพวกชาวชนบทไดทราบขาวนี้ ก็พากัน หลั่งไหลไปสูนครสาวัตถี เพื่อเฝาเยียมพระผูมีพระภาคเจา.  ่ ฝายพระเถระผูมีชื่อเสียงคนรูจักมาก ซึ่งมีทานพระสารีบุตร
  • 40. ๒๖ พุทธวจน พระมหาโมคคัลลานะ พระมหากัสสปะ พระมหากัจจายนะ พระมหาโกฏฐิตะ พระมหากัปปนะ พระมหาจุนทะ พระเรวตะ พระอานนท และพระเถระรูปอื่นอีกหลายทาน แบงกันเปนพวก ๆ พากันสั่งสอน พร่ําชี้แจง พวกภิกษุใหม ๆ อยางเต็มที: พวกละสิบรูปบาง ยี่สิบรูปบาง สามสิบรูปบาง ่ สี่สิบรูปบาง. สวนภิกษุใหม ๆ เหลานั้น เมื่อไดรับคําสั่งสอน ไดรับคําพร่ําชี้แจง ของพระเถระผูมีชื่อเสียงทั้งหลายอยู ก็ยอมรูคุณวิเศษอันกวางขวางอยางอื่น ๆ ยิ่งกวาแตกอน. จนกระทั่งถึงวันเพ็ญเดือนสิบสอง. ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคเจา จึงไดตรัสกับภิกษุ ทั้งหลายสืบไปวา : ภิกษุ ท. ! ภิก ษุบ ริษัท นี ้ ไมเ หลวไหลเลย. ภิกษุ ท. ! ภิกษุบริษัทนี้ไมเหลวแหลกเลย. ภิกษุบริษทนี้ ั ตั้งอยูแลวในธรรมที่เปนสาระลวน. ภิกษุ ท. ! บริษัทเชนใด มีรูปลักษณะที่นาบูชา นาตอนรับ นารับทักษินาทาน นาไหว เปนเนื้อนาบุญ ชั้นดีเยี่ยมของโลก; หมูภิกษุนี้ ก็มีรูปลักษณะเชนนั้น, ภิกษุบริษัทนี้ ก็มีรูปลักษณะเชนนั้น.
  • 41. อานาปานสติ ๒๗ ภิกษุ ท. ! บริษัทเชนใด มีรูปลักษณะที่ทาน อันบุคคลใหนอย แตกลับมีผลมาก ทานที่ใหมาก ก็มีผล  มากทวียิ่งขึ้น; หมูภกษุนี้ ก็มีรูปลักษณะเชนนัน, ภิกษุ ิ ้ บริษัทนี้ ก็มีรูปลักษณะเชนนั้น. ภิกษุ ท. ! บริษัทเชนใด มีรูปลักษณะยากที่ ชาวโลกจะไดเห็น; หมูภิกษุนี้ ก็มีรูปลักษณะเชนนั้น, ภิกษุบริษัทนี้ ก็มีรูปลักษณะเชนนั้น. ภิกษุ ท. ! บริษัทเชนใด มีรูปลักษณะที่ควร จะไปดูไปเห็น แมจะตองเดินสิ้นหนทางนับดวยโยชน ๆ ถึงกับตองเอาหอสะเบียงไปดวยก็ตาม; หมูภิกษุน้ี ก็มี รูปลักษณะเชนนั้น ภิกษุบริษัทนี้ ก็มีรูปลักษณะ เชนนั้น. ภิกษุ ท. ! ในหมูภิก ษุนี้ มีพวกภิก ษุซึ่ง เปน พระอรหันต ผูสิ้นอาสวะแลว ผูอยูจบพรหมจรรยแลว มีกิจที่ควรทําไดทําสําเร็จแลว มีภาระปลงลงไดแลว มี ประโยชนของตนเองบรรลุแลวโดยลําดับ มีสัญโญชน ในภพสิ้น แลว หลุด พน แลว เพราะรูทั่ว ถึง โดยชอบ, พวกภิกษุแมเห็นปานนี้ ก็มีอยูในหมูภิกษุนี้.
  • 42. ๒๘ พุทธวจน ภิกษุ ท. ! ในหมูภิก ษุนี้ มีพ วกภิก ษุซึ่ง สิ้น สัญโญชนเบื้องต่ําหา เปนโอปปาติกะแลว จักปรินิพพาน ในที่นั้น ไมเ วีย นกลับ มาจากโลกนั้น เปน ธรรมดา, พวกภิกษุแมเห็นปานนี้ ก็มีอยูในหมูภิกษุนี้. ภิกษุ ท. ! ในหมูภิกษุนี้ มีพวกภิกษุซึ่งสิ้น สัญโญชนสาม และมีความเบาบางไปของราคะ โทสะ โมหะ เปน สกทาคามี มาสูเทวโลกอีกครั้งเดียวเทานัน แลวจักกระทํา ้ ที่สุดแหงทุกขได, พวกภิกษุแมเห็นปานนี้ ก็มีอยูในหมูภกษุน.ี้ ิ ภิกษุ ท. ! ในหมูภิก ษุนี้ มีพ วกภิก ษุซึ่ง สิ้น สัญโญชนสาม เปน โสดาบัน มีอันไมตกต่ําเปนธรรมดา ผูเที่ยงแท ผูแนที่จะตรัสรูขางหนา, พวกภิกษุแมเห็น ปานนี้ ก็มีอยูในหมูภิกษุนี้. ภิกษุ ท. ! ในหมูภกษุนี้ มีพวกภิกษุซึ่งประกอบ  ิ ความเพียรเปนเครื่องตองทําเนือง ๆ ในการอบรมสติปฏฐานสี่, สัมมัปปธานสี่, อิทธิบาทสี่, อินทรียหา, พละหา, โพชฌงคเจ็ด, อริยมรรคมีองคแปด, เมตตา, กรุณา, มุทิตา, อุเบกขา, อสุภ, อนิจจสัญญา, และอานาปานสติ, พวกภิกษุแมเห็น ปานนี้ก็มีอยูในหมูภกษุน.้ี ิ
  • 43. อานาปานสติ ๒๙ ภิกษุ ท. ! อานาปานสติสมาธินี้แล ซึ่งเมื่อ บุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําสติปฏฐานทัง ๔ ้ ใหบริบูรณ; สติปฏฐานทั้ง ๔ อันบุคคลเจริญแลว ทําใหมากแลว ยอมทําโพชฌงคทั้ง ๗ ใหบริบูรณ; โพชฌงคท้ัง ๗ อัน บุ คคลเจริ ญแล วทํา ให ม ากแลว ย อมทํา วิช ชาและวิ มุต ติใ ห บ ริ บูรณไ ด.
  • 44. ๓๐ พุทธวจน สติปฏฐานบริบูรณ เพราะอานาปานสติบริบูรณ ภิกษุ ท. ! อานาปานสติ อั น บุ ค คลเจริ ญ แล ว อยางไร ทําใหมากแลวอยางไร จึงทําสติปฏฐานทั้งสี่ให บริบูรณได ? [หมวดกายานุปสสนา] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ เมื่อหายใจเขายาว ก็รูชัดวาเราหายใจเขายาว, เมื่อหายใจออกยาว ก็รูชัดวาเราหายใจออกยาว; เมื่อหายใจเขาสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจเขาสั้น, เมื่อหายใจออกสั้น ก็รูชัดวาเราหายใจออกสั้น; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งกายทั้งปวง หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งกายทั้งปวง หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทํากายสังขาร ใหรํางับอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทํากายสังขารให  รํางับอยู หายใจออก”;
  • 45. อานาปานสติ ๓๑ ภิกษุ ท. ! สมัยนัน ภิกษุชอวาเปนผู ตามเห็นกาย ้ ื่ ในกาย อยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได. ภิ กษุ ท. ! เราย อมกล าว ลมหายใจเข าและลม หายใจออก วาเปนกายอันหนึ่ง ๆ ในกายทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นยอมชื่อวาเปนผูตามเห็น กายในกายอยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสีย ได ในสมัยนั้น. [หมวดเวทนานุปสสนา] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอม เฉพาะซึ่งปติ หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่ง ปติ หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งสุข หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข หายใจออก”;
  • 46. ๓๒ พุทธวจน ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิตตสังขาร หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะ ซึ่งจิตตสังขาร หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตตสังขาร ใหรํางับอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตตสังขารให รํางับอยู หายใจออก”; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อวาเปนผูตามเห็น เวทนาในเวทนาทั้งหลายอยูเ ปนประจํา มีความเพียรเผา กิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลก ออกเสียได. ภิกษุ ท. ! เรายอมกลาวการทําในใจเปนอยางดี ตอลมหายใจเขาและลมหายใจออกทั้งหลายวา เปนเวทนา อันหนึ่ง ๆ ในเวทนาทั้งหลาย. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนน ั้ ในเรื่องนี้ ภิกษุนน ยอมชื่อวาเปนผูตามเห็นเวทนาใน ั้ เวทนาทั้งหลายอยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มี สัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออก เสียได ในสมัยนั้น.
  • 47. อานาปานสติ ๓๓ [หมวดจิตตานุปสสนา] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ ยอมทําการฝกหัด ศึกษาวา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต หายใจเขา”, วา “เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทาจิตให ํ ปราโมทยยิ่งอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตให ปราโมทยยิ่งอยู หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให ตั้งมั่นอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูทําจิตให ปลอยอยู หายใจเขา”, วา “เราเปนผูทําจิตใหปลอยอยู หายใจออก”; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อวาเปนผูตามเห็น จิตในจิตอยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได. ภิกษุ ท. ! เราไมกลาวอานาปานสติ วาเปนสิ่งที่ มีไดแกบุคคลผูมีสติอันลืมหลงแลว ไมมีสัมปชัญญะ.
  • 48. ๓๔ พุทธวจน ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้นในเรื่องนี้ภิกษุนั้น ยอม ชื่อวาเปนผูตามเห็นจิตในจิตอยูเปนประจํา มีความเพียร เผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัส ในโลกออกเสียได ในสมัยนั้น. [หมวดธัมมานุปสสนา] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุ ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึงความ่ ไมเที่ยงอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็นซึ่ง ความไมเทียงอยูเปนประจํา หายใจออก”; ่ ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึงความ ่ จางคลายอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็นซึง ่ ความจางคลายอยูเปนประจํา หายใจออก”; ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึงความ ่ ดับไมเหลืออยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็น ซึ่งความดับไมเหลืออยูเ ปนประจํา หายใจออก ”;
  • 49. อานาปานสติ ๓๕ ยอมทําการฝกหัดศึกษาวา “เราเปนผูเห็นซึ่งความ สลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจเขา”, วา “เราเปนผูเห็น ซึ่งความสลัดคืนอยูเปนประจํา หายใจออก”; ภิกษุ ท. ! สมัยนั้น ภิกษุชื่อวาเปนผูตามเห็น ธรรมในธรรมทั้งหลาย อยูเปนประจํา มีความเพียรเผา กิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลก ออกเสียได. ภิกษุ ท. ! ภิกษุนั้น เปนผูเขาไปเพงเฉพาะเปน อยางดีแลว เพราะเธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัส ทั้งหลายของเธอนั้นดวยปญญา. ภิกษุ ท. ! เพราะเหตุนั้น ในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นยอมชื่อวาเปนผูตามเห็นธรรมในธรรม ทั้งหลายอยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได ในสมัยนั้น. ภิกษุ ท. ! อานาปานสติอันบุคคลเจริญแลว อยางนี้ ทําใหมากแลวอยางนี้แล ชื่อวาทําสติปฏฐานทังสี่ ้ ใหบริบูรณได.
  • 50. 36 พุทธวจน ฉบับ ๖ อานาปานสติ
  • 51. อานาปานสติ ๓๗ โพชฌงคบริบูรณ เพราะสติปฏฐานบริบูรณ ภิกษุ ท. ! สติปฏฐานทั้งสี่ อันบุคคลเจริญแลว อยางไร ทําใหมากแลวอยางไร จึงทําโพชฌงคทั้งเจ็ดให บริบูรณได ? [โพชฌงคเจ็ด หมวดกายานุปสสนา] ภิกษุ ท. ! สมัยใด ภิกษุเปนผูตามเห็นกายใน กาย อยูเปนประจํา มีความเพียรเผากิเลส มีสัมปชัญญะ มีสติ นําอภิชฌาและโทมนัสในโลกออกเสียได, สมัยนัน ้ สติของภิกษุผูเขาไปตั้งไวแลวก็เปนธรรมชาติไมลืมหลง. ภิกษุ ท. ! สมัยใด สติของภิกษุผูเขาไปตั้งไว แลว เปนธรรมชาติไมลืมหลง, สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค ก็เปนอันวาภิกษุนั้นปรารภแลว, สมัยนันภิกษุชื่อวายอม ้ เจริญสติสัมโพชฌงค, สมัยนั้นสติสัมโพชฌงคของภิกษุ ชื่อวาถึงความเต็มรอบแหงการเจริญ.