SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 12
Downloaden Sie, um offline zu lesen
คำนำ
                                  วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่คอนขางยากในความรูสึกของนักเรียนสวนใหญ และผล
                   สัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยภาพรวมยังอยูในระดับต่ำ มีผูคิดวิธีการแกปญหาการเรียนการสอน
                   คณิตศาสตรมากมายหลากหลายวิธีแตก็ยังคงเปนปญหาอยูอยางตอเนื่อง ดังนั้น ครูที่สอน
                   คณิตศาสตรในระดับประถมศึกษานอกจากจะตองมีความรูในเนื้อหาวิชาที่สอนแลว ยังตองมี
                   ความรูในเรื่องธรรมชาติของเด็กในวัยนี้ที่มักจะชอบการเลนมากกวาการเรียน ครูควรจะหา
                   กิจกรรมที่เปนการเลนนำมาประกอบเขากับกิจกรรมการเรียนการสอนใหกลมกลืนลงตัว เพื่อ
                   จะไดชวยใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรูอยางสนุกสนาน มีทัศนคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร หนังสือ
                   เล ม นี้ ผู เ ขี ย นได เ รี ย บเรี ย งสาระจากการศึ ก ษาเอกสารและงานวิ จั ย ต า ง ๆ รวมทั้ ง จาก
                   ประสบการณจริงในการใชเกมคณิตศาสตรสอนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โดยมี
                   จุดมุงหมายใหผูอานกลุมครูผูสอนและนิสิต นักศึกษาครุศาสตร ศึกษาศาสตร ได มี กิ จ กรรม
                   ที่เปนการเลน เปนตัวเลือกในการสอนคณิตศาสตรและเห็นแนวทางใหม ๆ ในการพัฒนา
                   กิจกรรมที่เปนการเลน สวนกลุม ผูอานที่เปน ผูปกครองนักเรียนจะไดประโยชนในการนำเกม
                   คณิตศาสตรไปใชในการเลนและสอนปนเลนใหกับลูกหลาน เปนการพัฒนาเชาวปญญาทางการ
                   คำนวณดวย สาระในหนังสือเลมนี้จะชวยใหผูอานไดมีความเขาใจในเรื่องธรรมชาติของเด็ก
                   วัยประถมศึกษา ทฤษฎีที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนคณิตศาสตรวัยประถมศึกษา ความ
                   แตกต า งระหว า งการสอนโดยใช เ กมคณิ ต ศาสตร กั บ การสอนปกติ เกมคณิ ต ศาสตร แ ละ
                   การจัดการเรียนการสอนโดยใชเกมคณิตศาสตร ฯลฯ
                                  ขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร.นงลักษณ วิรัชชัย ที่ใหคำแนะนำ
                   จุดประกายในการเขียนหนังสือเลมนี้ขึ้นมา
                                  สุ ด ท า ยนี้ ผู เ ขี ย นหวั ง ว า ผู อ า นจะสามารถนำเนื้ อ หาสาระจากหนั ง สื อ เล ม นี้ ไ ปใช
                   ประโยชนไดบางไมมากก็นอย ครู อาจารยสามารถนำตัวอยางเกมคณิตศาสตรในเลมไปใชสอน
                   นักเรียนได หรือนำไปประยุกตใชเพื่อความเหมาะสมได แตที่สำคัญที่สุดทานสามารถใชเปน
                   แนวทางในการคิดคนเกมคณิตศาสตรอื่น ๆ ขึ้นมาใหมเพื่อใชสอนในเรื่องเดียวกันนี้หรือในเรื่อง
                   อื่น ๆ ไดนั่นเปนเปาหมายสูงสุดของผูเขียน
                                                                                     รุงอรุณ ลียะวณิชย
                                                                      โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ฝายประถม
                                                                            คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




AW_MathGame#final.indd e                                                                                                                  3/15/12 10:19:27 AM
สารบัญ

                           บทที่ 1     บทนำ                                                1

                           บทที่ 2     เกมและเกมคณิตศาสตร                                13

                           บทที่ 3     ความรูสกเชิงจำนวน (number sense)
                                               ึ                                          32

                           บทที่ 4     การสอนคณิตศาสตรเรื่องจำนวนและตัวเลข
                                       โดยใชเกมคณิตศาสตรเพื่อพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวน   56

                           บทที่ 5     การสอนคณิตศาสตรเรื่องการบวก
                                       โดยใชเกมคณิตศาสตรเพื่อพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวน   88

                           บทที่ 6     การสอนคณิตศาสตรเรื่องการลบ
                                       โดยใชเกมคณิตศาสตรเพื่อพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวน   138

                           บทที่ 7     การสอนคณิตศาสตรเรื่องการคูณ
                                       โดยใชเกมคณิตศาสตรเพื่อพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวน   176

                           บทที่ 8  ตัวอยางแผนการสอนคณิตศาสตรโดยใชเกมคณิตศาสตร        218

                           ภาคผนวก รูปภาพการเลนเกมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3       226

                           บรรณานุกรม                                                     229




AW_MathGame#final.indd g                                                                        3/15/12 10:19:28 AM
ครูประถมศึกษานอกจากจะตองมีความรูในเนื้อหาวิชาที่สอนแลวยังตองมีความรูดวยวา
                   ธรรมชาติของเด็กในวัยประถมศึกษามักจะชอบการเลนมากกวาการเรียน ครูควรจะหากิจกรรม
                   ที่เปนการเลนนำมาประกอบเขากับกิจกรรมการเรียนการสอนใหกลมกลืนลงตัว เพื่อจะไดชวยให
                   ผูเรียนไดเกิดการเรียนรูอยางสนุกสนาน มีทัศนคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร ผูเขียนไดเรียบเรียงสาระ
                   จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยตาง ๆ รวมทั้งจากประสบการณจริงในการใชเกมคณิตศาสตร
                   ในการสอนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เพื่อใหผูอานไดมีความเขาใจในเรื่องธรรมชาติของ
                   เด็ กวั ย ประถมศึ ก ษา ทั ศ นคติ ที่ นั ก เรี ย นมี ต อวิ ช าคณิ ต ศาสตร ทฤษฎี ที่ เ หมาะสมกั บ การเรี ย น
                   การสอนคณิ ต ศาสตร วั ย ประถมศึ ก ษา ความแตกต า งระหว า งการสอนโดยใช เ กมคณิ ต ศาสตร
                   กับการสอนปกติ โดยนำเสนอสาระเปน 4 หัวขอดังนี้
                              1. ธรรมชาติของเด็กในวัยเรียนระดับประถมศึกษา
                              2. ทัศนคติตอวิชาคณิตศาสตร
                              3. ทฤษฎีที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนคณิตศาสตรในเด็กวัยประถมศึกษา
                              4. ความแตกตางของการเรียนการสอนโดยใชเกมคณิตศาสตรกับการเรียนการสอนปกติ


                                       ธรรมชาติของเด็กในวัยเรียนระดับประถมศึกษา

                              การสอนให นั ก เรี ย นในวั ย ประถมศึ ก ษาเข า ใจเกี่ ย วกั บ ความคิ ด รวบยอดและทั ก ษะ
                  เบื้องตนทางคณิตศาสตรเปนสิ่งสำคัญยิ่ง และสิ่งที่สำคัญยิ่งกวาคือวิธีการสอน ซึ่งเปนหนาที่ของครู
                  ที่จะตองคิดหาวิธีการสอนวาจะสอนอยางไรใหนักเรียนเขาใจเนื้อหาคณิตศาสตรที่มีธรรมชาติ
                  เป น สาระที่ ย าก นั ก เรี ย นส ว นใหญ ไ ม ช อบ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นก็ ค อ นข า งต่ ำ และที่ ส ำคั ญ
                  นั ก เรี ย นมี ทั ศ นคติ ที่ ไ ม ค อ ยดี ต อ วิ ช าคณิ ต ศาสตร หากครู ส ามารถสอนให นั ก เรี ย นเรี ย นวิ ช า
                  คณิตศาสตรไดอยางมีความสุข เกิดความชอบ มีความสนุกสนาน ไมเครงเครียดจนเกินไปและ
                  ที่ ส ำคั ญที่ สุ ด คื อ มี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต อวิ ช าคณิ ต ศาสตร แ ละยั ง เข า ใจเนื้ อ หาสาระทางคณิ ต ศาสตร ไ ป
                  พรอม ๆ กันดวยแลวจะเปนการดีมากสำหรับนักเรียน ผูปกครองและครู

                         โดยธรรมชาตินักเรียนในวัยประถมศึกษาจะชอบเลนมากกวาเรียน ชอบความสนุกสนาน
                  มากกวาเครงเครียด ชอบเคลื่อนไหวมากกวานั่งนิ่ง ๆ ชอบการแขงขัน ชอบพูดแสดงความคิดเห็น
                  ชอบเลนเกม ชอบใหเพื่อนและครูยอมรับ ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตรที่จะ




AW_MathGame#final.indd 1                                                                                                            3/15/12 10:19:31 AM
ทำใหนักเรียนเรียนรูดวยความเขาใจ สนุกสนาน ชอบคณิตศาสตรไดนั้นครูจะตองจัดการเรียน
                การสอนที่เอื้อใหนักเรียนไดทำกิจกรรมดังกลาวขางตนจะชวยใหนักเรียนทุกคนประสบความสำเร็จ
                ในการเรียนคณิตศาสตรได หรืออยางนอยนักเรียนจะมีทัศนคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตรได

                        วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสำคัญ โดยการใหนักเรียนมีโอกาส
                ไดคิด ไดลงมือทำ ไดสัม ผัสกับโอกาสที่กอใหเกิดการเรียนรู ไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูอื่น
                จะชวยใหผูเรียนไดพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวน (number sense) ได นั่นหมายถึงนักเรียนจะได
                ความรูความเขาใจเกี่ยวกับขนาดของจำนวน ปฏิบัติการเกี่ยวกับจำนวน และความสัมพันธระหวาง
                จำนวนตาง ๆ ไดดขึ้น นักเรียนจะสามารถคิดคำนวณในสถานการณตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ
                                   ี
                สามารถเรียนคณิตศาสตรไดดวยความเขาใจ มีความสุข

                               ดังนั้น สิ่งที่นาสนใจสำหรับนักเรียนคือการเลน แตการเลนโดยไมมีจุดมุงหมายก็จะไดแต
                ความสนุกสนานเพียงอยางเดียวไมเกิดความรูขึ้นมาได แตหากนำการเลนนั้นมาทำใหเกิดการเรียน
                รู ขึ้ น ได ด ว ยจะเป น การดี ม าก เพราะนั ก เรี ย นจะชอบเล น มากกว า เรี ย น และโดยธรรมชาติ ข อง
                นั ก เรี ย นในระดั บ ประถมส ว นใหญ จ ะเรี ย นคณิ ต ศาสตร อ ย า งไม เ ต็ ม ใจ เรี ย นด ว ยความรู สึ กว า
                ถูกบังคับ หรือเรียนไปตามที่ครูบอกความรูให เกิดความรูสึกวาเปนวิชาที่ยาก ไมนาสนใจ ทำใหเกิด
                การป ด กั้ น โอกาสที่ เ ด็ ก จะได พั ฒ นาความรู ท างคณิ ต ศาสตร ตรงกั น ข า มกั บ การเล น ผู เ รี ย น
                จะสนุกสนาน ผอนคลายโดยธรรมชาติของเด็กจะอยากเลนมากกวาอยากเรียน หากครูมีการ
                จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เปนการเลนแตในขณะเดียวกัน ผูเรียนก็เกิดการเรียนรูจากการเลน
                นั้นได จะเปนการเรียนรูที่สมบูรณและนาสนใจเปนอยางมาก

                         นอมศรี เคท (2530) กลาววาการบังคับนักเรียนใหเรียนจากบทเรียนหรือแบบฝกหัด
                เปนสิ่งที่ทำลายความตองการที่แทจริงและไมสัมพันธกับธรรมชาติในการเรียนรูของเด็ก ดังนั้น
                กิจกรรมการเรียนการสอนที่ครูจัดขึ้นเพื่อใหเด็กเกิดความพรอมทางคณิตศาสตรที่เด็กสวนใหญชอบ
                คือ “เกม” เพราะวาเด็กจะไดรับความสนุกสนานและความตื่นเตนควบคูไปกับการเรียนเนื้อหา
                ทำใหชอบคณิตศาสตรและมีเจตคติที่ดีตอการเรียนคณิตศาสตรมากขึ้น




            2


AW_MathGame#final.indd 2                                                                                                          3/15/12 10:19:32 AM
ทัศนคติตอวิชาคณิตศาสตร

                             การที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรต่ำ สาเหตุหนึ่งมาจากนักเรียน
                  ไม ช อบเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ซึ่ ง เป น คุ ณ ลั ก ษณะด า นจิ ต วิ ท ยาอย า งหนึ่ ง ที่ เ รี ย กว า ทั ศ นคติ
                  (attitude) ทัศนคติเปนความรูสึกภายในที่ทำใหเกิดพฤติกรรมตาง ๆ การที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง
                  จะแสดงพฤติกรรมวาชอบหรือไมชอบสิ่งใดขึ้นอยูกับทัศนคติของเขาวาเขามีทัศนคติบวก หรือลบ
                  กับสิ่งนั้น เพราะทัศนคติเปนแรงจูงใจใหบุคคลแสดงออกทางพฤติกรรมอยางสอดคลองกัน ดังนั้น
                  หากนักเรียนมีทัศนคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตรก็ยอมตั้งใจเรียนมากกวาการมีทัศนคติที่ไมดี นั่นคือ
                  ทัศนคติตอวิชาคณิตศาสตร หมายถึง ความชอบ ความพึงพอใจ รูปแบบการคิด ความรูสึกภายใน
                  ที่บุคคลมีตอวิชาคณิตศาสตร การตัดสินวานักเรียนมีทัศนคติตอวิชาคณิตศาสตรในเชิงบวก หรือ
                  เชิงลบจะวัดไดจากการใหนักเรียนทำแบบวัดทัศนคติที่สรางขึ้น ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบเปนไปตาม
                  วัตถุประสงคของผูสรางแบบวัดแตละคน

                  การวัดทัศนคติที่มีตอวิชาคณิตศาสตร
                                     

                         นวลน อ ย เจริ ญ ผล (2533) กล า วถึ ง การวั ด ทั ศ นคติ ต อวิ ช าคณิ ต ศาสตร ว า เป น การ
                  วัดความรูสึกของนักเรียนที่มีตอวิชาคณิตศาสตร ซึ่งอาจพึงพอใจ ไมพึงพอใจ หรือเฉย ๆ หลังจาก
                  มีประสบการณในการทำกิจกรรมคณิตศาสตร

                          การวัดทัศนคติประกอบดวยการวัดดานตาง ๆ รวม 3 ดาน คือ ดานความสำคัญและ
                  คุ ณ ประโยชน ด า นความรู สึ ก ต อ วิ ช าคณิ ต ศาสตร และด า นการแสดงออกและมี ส ว นร ว ม ดั ง
                  รายละเอียดสาระในการวัดแตละดานดังนี้

                            1. ดานความสำคัญและคุณประโยชน เปนการวัดความรูความเขาใจวานักเรียนเห็น
                               ความสำคัญ เห็นประโยชนของการเรียนวิชาคณิตศาสตรมากนอยเพียงไร เรียนวิชา
                               คณิตศาสตรแลวนำไปใชประโยชนอะไรไดบาง
                            2. ดานความรูสึกตอวิชาคณิตศาสตร เปนการวัดความรูสึกวานักเรียนรูสึกชอบหรือ
                               ไมชอบ และ/หรือ รูสึกดีหรือไมดีตอวิชาคณิตศาสตรในระดับใด ความชอบหรือไมชอบ
                               มักจะเกิดจากการไดรับประสบการณในการเรียนในวัยเด็กเล็ก เกิดจากวิธีการสอนของ


                                                                                                                                      3


AW_MathGame#final.indd 3                                                                                                            3/15/12 10:19:33 AM
ครูผูสอน เกิดจากบุคลิกลักษณะของครูผูสอน และเหตุผลอื่น ๆ อีกมากมายแตกตาง
                              กั น ไปแล ว แต บุ ค คล ถึ ง แม ว า นั ก เรี ย นจะตระหนั ก ว า วิ ช าคณิ ต ศาสตร มี ป ระโยชน
                              มีความสำคัญแตหากไดรับประสบการณที่ไมดีจากการเรียน นักเรียนก็จะมีทัศนคติ
                              ที่เปนลบกับวิชาคณิตศาสตรได ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนของครูมีความสำคัญ
                              ต อ ความรู สึ ก ชอบ หรื อ ไม ช อบวิ ช าคณิ ตศาสตร ข องนั ก เรี ย นเป น อย า งมาก เพราะ
                              ครูสามารถทำใหนักเรียนชอบเรียนคณิตศาสตรตั้งแตการเรียนครั้งแรก ๆ หรือสามารถ
                              ทำให นั ก เรี ย นเปลี่ ย นทั ศ นคติ จ ากลบเป น บวกได ด ว ยวิ ธี ก ารจั ด การเรี ย นการสอน
                              ทีนกเรียนชอบ
                                 ่ ั
                           3. ดานการแสดงออกและมีสวนรวม เปนการวัดวานักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนวิชา
                              คณิตศาสตรแบบใด มีสวนรวมในขณะเรียนอยางไร มีพฤติกรรมในการทำแบบฝกหัด
                              เปนแบบใด เชน ทำแบบฝกหัดเสร็จทันทีในชั่วโมงเรียนหลังจากครูมอบหมายงาน
                              หรื อ เก็ บ ไว ท ำเป น การบ า น หรื อ ทำการบ า นเสร็ จ และส ง ทั น เวลาทุ ก ครั้ ง ทำเสร็ จ
                              ทันเวลาเปนสวนใหญ ทำไมเสร็จและสงไมตรงเวลาเปนสวนใหญ นักเรียนที่มีทัศนคติ
                              ที่ ดี จ ะมี พ ฤติ ก รรมแสดงออกในรู ป การขยั น ทำแบบฝ ก หั ด การทำการบ า นเสร็ จ
                              เรียบรอยกอนเวลาที่กำหนด มีความตั้งใจเรียนและสนใจในการเรียน

             ลักษณะสำคัญของทัศนคติ

                    ทัศนคติเปนจิตลักษณะ (psychological characteristics) ชนิดหนึง มีลกษณะสำคัญแตกตาง
                                                                                ่ ั
             จากจิตลักษณะอื่น ๆ สรุปไดเปน 3 ดานดังนี้
                    1. ดานลักษณะ แยกเปน 4 ดาน คือ
                        1.1 ทัศนคติเปนความพรอมในการตอบสนองตอสิ่งเราในทางที่ชอบหรือไมชอบ ซึ่ง
                              เปนความพรอมดานจิตใจมากกวาทางรางกายจึงทำใหไมสามารถมองเห็นได
                              หรือสังเกตไดโดยตรง ตองสังเกตจากพฤติกรรมการแสดงออก
                        1.2 ทัศนคติเปนภาวะทางอารมณที่พรอมตอบสนอง ยอมรับ ชอบ หรือไมชอบของ
                              บุคคล มีความเกี่ยวของกับอารมณอยางแยกไมออกและบางครั้งไมมีเหตุผล
                              อธิบายไมได
                        1.3 ทัศนคติไมใชพฤติกรรม แตเปนลักษณะทางจิตที่มีอิทธิพลตอความรูสึกนึกคิด
                              และเปนตัวกำหนดแนวทางในการแสดงออกของพฤติกรรม
                        1.4 ทัศนคติไมสามารถวัดไดโดยตรง แตสามารถวัดไดจากการสรางเครืองมือวัดพฤติกรรม
                                                                                       ่
                              ที่แสดงออกมา เพื่อใชเปนแนวทางในการทำนายหรืออธิบายทัศนคติได

            4


AW_MathGame#final.indd 4                                                                                                           3/15/12 10:19:34 AM
2. การสรางทัศนคติ
                           ทั ศ นคติ เ กิ ด จากการเรี ย นรู แ ละเกิ ด จากการได รั บ ประสบการณ บุ ค คลแต ล ะคนจะมี
                  ทัศนคติในเรื่องเดียวกันแตกตางกัน หรือเหมือนกันก็ได ซึ่งขึ้นอยูกับเหตุผลตาง ๆ เชน สภาพ
                  แวดลอมทางเศรษฐกิจและสังคม อายุ สติปญญา เปนตน
                           3. ความคงทนของทัศนคติ
                           ทั ศ นคติ มี ค วามคงที่ แ ละแน น อนพอสมควร แต อ าจจะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงได เ นื่ อ งจาก
                  ทัศนคติเปนสิ่งที่เกิดขึ้นมาจากการเรียนรูและประสบการณ และหากมีการเรียนรูใหม หรือไดรับ
                  ประสบการณใหมทัศนคติอาจจะเปลี่ยนแปลงไปได ทัศนคติสามารถเปลี่ยนแปลงไดขึ้นอยูกับ
                  สิ่งแวดลอม การเปลี่ยนทัศนคติอาจเกิดขึ้นหลายลักษณะดังนี้
                                3.1 การยินยอม เปนการยอมรับอิทธิพลจากผูอื่น โดยยอมปฏิบัติตัวไปในทิศทาง
                                        ตามที่เขาตองการ หรือพอใจ
                                3.2 การเลียนแบบ เปนการแสดงพฤติกรรมใหเหมือนกับคนอื่นในสังคม หรือเพื่อให
                                        เปนที่ยอมรับของคนในสังคม จะไดมีสัมพันธภาพที่ดีกับกลุมคนในสังคม
                                3.3 การรับอิทธิพลจากสิ่งตาง ๆ เนื่องจากตรงกับคานิยมที่มีอยูในตนเอง

                  หลักการสรางทัศนคติท่ดีแกนักเรียน
                                       ี

                           ทวี ทอแกวและอบรม สินภิบาล (2530 : 57) กลาวถึงหลักการสรางทัศนคติทดตอนักเรียน
                                                                                               ี่ ี 
                  ดังนี้
                           1.   ใหนักเรียนทราบจุดมุงหมายในเรื่องที่เรียน
                           2.   ใหนักเรียนเห็นประโยชนของวิชานั้น ๆ โดยแทจริง
                           3.   ใหนักเรียนไดมีโอกาสหรือมีสวนรวมในการเรียนการสอน
                           4.   ใหนักเรียนไดทำกิจกรรมที่สอดคลองกับความสามารถ ความถนัด เพื่อจะไดเกิดความ
                                สำเร็จในการเรียน อันเปนผลใหมีทัศนคติที่ดีตอไป
                           5.   การสอนของครูจะตองมีการเตรียมตัวอยางดี ใชวิธีสอนที่ดี เด็กเขาใจอยางแจมแจง
                           6.   ครูจะตองสรางความอบอุนและความเปนกันเองกับนักเรียน
                           7.   ครูจะตองสรางเสริมบุคลิกภาพใหเปนที่นาเลื่อมใส
                           8.   จัดสภาพแวดลอมตาง ๆ ในหองเรียนใหมีบรรยากาศที่นาอยูและนาสนใจ




                                                                                                                     5


AW_MathGame#final.indd 5                                                                                           3/15/12 10:19:34 AM
ครู เ ป น บุ ค คลที่ มี ค วามสำคั ญ ในการสร า งทั ศ นคติ ใ ห กั บ นั ก เรี ย น โดยการจั ด กิ จ กรรม
             การเรี ย นการสอนที่ น า สนใจ สามารถพั ฒนาทั ศ นคติ ใ นทางบวกให กั บ นั ก เรี ย นได เพราะหาก
             นั ก เรี ย นมี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต อ นั ก เรี ย นจะตั้ ง ใจเรี ย น เอาใจใส ต อ การเรี ย น ซึ่ ง จะมี ผ ลต อ ผลสั ม ฤทธิ์
             ทางการเรียนที่ดีขึ้นได

                       จากลั ก ษณะสำคั ญ ของทั ศ นคติ โ ดยทั่ ว ไปทั้ ง 3 ด า นข า งต น เพื่ อ นำมาประยุ กต ใ ช กั บ
             ทั ศ นคติ ต อ วิ ช าคณิ ต ศาสตร สรุ ป ได ว า ทั ศ นคติ ต อ วิ ช าคณิ ต ศาสตร มี ลั ก ษณะเป น นามธรรม
             ที่ไมสามารถวัดไดโดยตรง เปนสิ่งที่สามารถพัฒนาไดโดยการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร
             ใหนักเรียนมีทัศนคติทางบวกตอวิชาคณิตศาสตร

                     นักเรียนสวนใหญจะเรียนคณิตศาสตรอยางไมเต็มใจ รูสึกวาถูกบังคับใหเรียน หรือเรียนไป
             ตามที่ครูบอก เพราะนักเรียนรูสึกวาวิชาคณิตศาสตรยาก ไมนาสนใจ ทำใหนักเรียนไมมีโอกาส
             ไดพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวน ตรงกันขามกับการเลน นักเรียนจะเกิดความสนุกสนาน ผอนคลาย
             หากครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สนุกควบคูไปกับไดเกิดการเรียนรูในเนื้อหาสาระวิชา
             คณิตศาสตรไปดวย จะทำใหนักเรียนเกิดการเรียนรูไดอยางยั่งยืน และที่สำคัญจะทำใหนักเรียนเกิด
             ทัศนคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร เมื่อรูสึกชอบนักเรียนก็จะเรียนไดดีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี
             ตามไปดวย


                                          ทฤษฎีที่เหมาะสมกับการเรียนการสอน
                                           คณิตศาสตรในเด็กวัยประถมศึกษา

                     ทฤษฎีที่นำมาใชคูกับการเรียนการสอนแบบยึดผูเรียนเปนสำคัญ การเลนเกม การไดมี
             โอกาสได ล งมื อ ทำสิ่ ง ต า ง ๆ ด ว ยตั ว นั ก เรี ย นเองเพื่ อ ช ว ยให เ กิ ด การเรี ย นรู ไ ด ดี นั้ น คื อ ทฤษฎี
             คอนสตรัคติวิสต (constructivist theory) หรือ คอนสตรัคติวิซึม (constructivism) ของ Piaget
             ซึงมีแนวคิดหลักวา บุคคลเรียนรูโดยการสรางความรู ดวยวิธการทีแตกตางกัน โดยอาศัยประสบการณ
               ่                                                                  ี ่
             เดิม โครงสรางทางปญญาเดิมที่มีอยู ความสนใจและแรงจูงใจภายในเปนพื้นฐาน (Noddings.
             1990) โดยที่ ค วามขั ด แย ง ทางป ญ ญา (cognitive conflict) ซึ่ ง เกิ ด จากการที่ บุ ค คลเผชิ ญ กั บ
             สถานการณทเปนปญหา หรือมีปฏิสมพันธกบผูอน จะเปนแรงจูงใจใหเกิดการไตรตรอง (reflection)
                         ี่                          ั          ั  ื่


            6


AW_MathGame#final.indd 6                                                                                                                   3/15/12 10:19:35 AM
ซึ่งนำไปสูการสรางโครงสรางทางปญญาใหม (cognitive restructuring) ที่ไดรับการตรวจสอบ
                  ทั้งตนเองและผูอื่น วาสามารถแกปญหาตาง ๆ ที่อยูในกรอบของโครงสรางนั้น และใชเปนเครื่องมือ
                  สำหรับการสรางโครงสรางใหมอ่น ๆ
                                                ื

                         หลักการของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต (constructivist theory) ซึ่งเปนทฤษฎีพัฒนาการ
                  ทางสติปญญาของ Piaget ซึ่งมี 3 ขั้นตอนดังนี้
                         1. ประสบการณ ท างกายภาพ (physical experience) เกิดจากผู เ รีย นไดมีโอกาส
                            ทำกิจกรรมตาง ๆ โดยใชวัสดุอุปกรณที่หลากหลาย และไดสัมผัสทุกสิ่งดวยตนเองและ
                            เกิดการเรียนรูได
                         2. ประสบการณทางสังคม (social experience) เกิดจากผูเรียนไดมปฏิสมพันธกบเพือน
                                                                                          ี ั         ั ่
                            ไดเขาสังคมทำใหมีโอกาสพูดคุยกับผูอื่น กอใหเกิดความขัดแยงทั้งภายในตัวเองและ
                            กับผูอื่น จะทำใหผูเรียนสนใจในความคิด ความเปนตัวตนลดลง ใหความสนใจหรือ
                            ใหความสำคัญกับความคิดของผูอื่นมากขึ้น
                         3. กระบวนการสรางความสมดุล (equilibration) เปนสิ่งที่มีความสำคัญมากและมี
                            ผลกระทบตอการพัฒนาความคิดของเด็กมากที่สุด



                                     ความแตกตางระหวางการเรียนการสอน
                                  โดยใชเกมคณิตศาสตรกับการเรียนการสอนปกติ

                          ความแตกตางระหวางการเรียนการสอนแบบปกติกบการเรียนการสอนโดยใชเกมคณิตศาสตร
                                                                      ั
                  มีหลายอยางดวยกัน เชน ขั้นตอนการสอน สื่ออุปกรณ ขนาดกลุมของนักเรียน ลักษณะการนั่งเรียน
                  กิจกรรมทีนกเรียนทำ พฤติกรรมการแสดงออกของผูเรียน ทัศนคติของผูเรียนทีมตอวิชาคณิตศาสตร
                           ่ ั                                                        ่ ี 
                  ดังมีรายละเอียดเฉพาะหัวขอที่สำคัญดังนี้




                                                                                                               7


AW_MathGame#final.indd 7                                                                                     3/15/12 10:19:36 AM
1. ขั้นตอนการสอน

                           การเรียนการสอนปกติ
                           การเรียนการสอนปกติมีขั้นตอนในการดำเนินการสอนดังนี้
                           1. ขั้นนำเขาสูบทเรียน
                              1.1 ครูทบทวนความรูเดิมเพื่อเปนพื้นฐานของการเรียนรูเรื่องใหม
                              1.2 ครูจัดกิจกรรมเพื่อดึงดูดใหนักเรียนสนใจเรื่องที่จะเรียนใหม
                           2. ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู
                              2.1 ครูยกตัวอยางโจทยคณิตศาสตรเพื่อสาธิตใหนักเรียนดู
                              2.3 ครูอธิบาย – สาธิตใหนักเรียนดู
                              2.3 นักเรียนบางคนออกมาอธิบาย – สาธิตใหเพื่อนดู
                           3. ขั้นสรุปบทเรียน
                              3.1 ครูและนักเรียนถามตอบเพื่อสรุปมโนทัศน
                              3.2 นักเรียนทำแบบฝกหัด

                           การเรียนการสอนโดยใชเกมคณิตศาสตร
                           การเรียนการสอนโดยใชเกมคณิตศาสตรมีขั้นตอนในการดำเนินการสอนดังนี้
                           1. ขั้นสรางความขัดแยงทางปญญา
                              1.1 ครูเสนอปญหาที่นำไปสูการสรางโครงสรางใหมทางปญญาใหนักเรียนฟง
                           2. ขั้นดำเนินกิจกรรมไตรตรอง
                              2.1 นักเรียนเขากลุมยอยและใชกระบวนการกลุมในการเลนเกมคณิตศาสตร
                              2.2 ครูแจกอุปกรณในการเลนเกมคณิตศาสตร
                              2.3 ครูอธิบายวิธการเลนเกมคณิตศาสตร
                                                ี
                              2.4 นักเรียนเลนเกมคณิตศาสตร
                           3. ขั้นสรุปผลการสรางโครงสรางใหมทางปญญา
                              3.1 ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปมโนทัศน
                              3.2 นักเรียนทำแบบฝกหัด




            8


AW_MathGame#final.indd 8                                                                              3/15/12 10:19:36 AM
2. สื่ออุปกรณ

                         สื่ออุปกรณการสอนแบบปกติใชสื่อการสอนตามลักษณะเนื้อหาที่สอน เชน บัตรคำ แถบ
                  ประโยค รูปภาพ ของจริง ฯลฯ สวนสื่อการสอนโดยใชเกมคณิตศาสตรจะเปนเกมคณิตศาสตร
                  และอุปกรณในการเลนเกมที่ครูผลิตขึ้นเพื่อใหผูเรียนไดเลนแลวเกิดการเรียนรูในเนื้อหาคณิตศาสตร
                  ในแตละเรื่อง หนึ่งเกมตอเนื้อหาคณิตศาสตรหนึ่งเรื่อง และใบบันทึกการเลนเกมตาง ๆ

                  3. กิจกรรมและพฤติกรรมการเรียน

                           การเรียนแบบปกติผูเรียนจะนั่งเรียนตามปกติ มีการถามตอบและมีตัวแทนผูเรียนออกมา
                  รวมกิจกรรมหนาหองเปนบางโอกาส สวนการเรียนแบบใชเกมคณิตศาสตรผูเรียนนั่งเรียนเปนกลุม
                  กลุมละ 4 คน โดยในแตละกลุมจะคละกันระหวางเด็กเกง กลาง ออน ในทุกชั่วโมงที่เรียนทุกคน
                  จะไดมีโอกาสสัม ผัสอุปกรณการเลนเกมมีหนาที่ไดรับผิดชอบทำในกลุม ทุกคนมีการชวยเหลือกัน
                  ในกลุม ไดลุกขึ้นยืน เดิน วิ่ง ในเวลาเลนเกม ทำใหทุกคนกระฉับกระเฉง ตื่นตัว สนุกสนาน ทุกคน
                  มีโอกาสไดพูดแสดงความคิดเห็น คนที่เรียนเกงจะชวยเพื่อนที่เรียนไมคอยเกง คนที่เรียนไมเกง
                  จะไดรับการยอมรับจากเพื่อนในหลาย ๆ กิจกรรมที่ไดมีโอกาสไดทำ ไดชวยเหลือเพื่อน ทำใหเกิด
                  ความภาคภูมิใจ เพื่อนยอมรับ มีความสุขในการเรียน มีทัศนคติที่ดีตอการเรียนวิชาคณิตศาสตร
                  และนอกเวลาเรียนผูเรียนจะพูดถึงการเลนเกมในชั่วโมง หรือนำเกมมาเลนนอกเวลาเรียน เชน หลัง
                  เลิกเรียน พักกลางวัน เปนกลุม ๆ

                            สิ่ ง ที่ ก ล า วมาข า งต น เป น สิ่ ง ที่ ผู เ ขี ย นได ค น พบจากประสบการณ จริ ง ที่ ใ ช ใ นการสอนกั บ
                  ผูเรียนจริงในการเรียนการสอนกับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ผลจากการเรียนการสอน
                  วิ ช าคณิ ต ศาสตร ไ ด ผ ลเป น ที่ พึ ง พอใจ นั ก เรี ย นมี ทั ศ นคติ ต อวิ ช าคณิ ต ศาสตร ดี ขึ้ น มาก ผู เ ขี ย น
                  จึ ง ประมวลประสบการณ แ ละความรู จ ากแนวคิ ด ทฤษฎี มาเขี ย นหนั ง สื อ เล ม นี้ ขึ้ น เพื่ อ แบ ง ป น
                  ประสบการณใหครูอื่น ๆ ไดนำไปประยุกตใช หรือใชเปนแนวทางในการสรางสรรคเกมอื่น ๆ ขึ้นมา
                  เพื่อใชสอนนักเรียนไดอยางหลากหลายเพื่อใชในการสอนเพื่อพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวนใหกับ
                  นักเรียนได
                            สาระในหนังสือเลมนี้แบงเปน 8 บท ดังสังเขปสาระแตละบทในตารางตอไปนี้




                                                                                                                                           9


AW_MathGame#final.indd 9                                                                                                                 3/15/12 10:19:37 AM
ตาราง 1.1 แสดงเนื้อหาที่นำเสนอในหนังสือเลมนี้แบงเปน 8 บทดังนี้

                 บทที่                    ชื่อบท                               เนื้อหา/สาระ

                   1        บทนำ                            ธรรมชาติของเด็กในวัยเรียนระดับประถมศึกษา,
                                                            ทฤษฎีทเี่ หมาะสมกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร
                                                            ในเด็กวัยประถมศึกษา, ความแตกตางระหวาง
                                                            การเรี ย นการสอนโดยใช เ กมคณิ ต ศาสตร กั บ
                                                            การเรียนการสอนปกติ

                   2        เกมและเกมคณิตศาสตร             ความหมายของเกม, ประโยชน ข องเกม, ชนิ ด
                                                            ของเกม, เกมคณิ ต ศาสตร , หลั ก ในการนำเกม
                                                            มาใช ใ นการสอนคณิ ต ศาสตร , ขั้ น ตอนในการ
                                                            ใชเกมประกอบการสอนคณิตศาสตร, การสราง
                                                            เกมคณิ ต ศาสตร เ พื่ อ พั ฒนา number sense,
                                                            คำแนะนำในการใชเกมคณิตศาสตรในการเรียน
                                                            การสอนวิชาคณิตศาสตร, ขั้นตอนของการสอน
                                                            เกมคณิ ต ศาสตร เ พื่ อ พั ฒ นา number sense

                   3        ความรูสึกเชิงจำนวน             ความรู สึ ก เชิ ง จำนวน, ความแตกต า งระหว า ง
                                                            การสอนธรรมดากับการสอนเพื่อพัฒนา number
                                                            sense, ลักษณะของผูที่มีความรูสึกเชิงจำนวน
                                                            ที่ดี, การประเมินผลผูที่มีความรูสึกเชิงจำนวนที่ดี,
                                                            ตัวอยางแบบวัดความรูสึกเชิงจำนวน, เกณฑการ
                                                            ให ค ะแนนแบบสอบความรู สึ ก เชิ ง จำนวนและ
                                                            การแปลความ, นักเรียนที่มีความรูสึกเชิงจำนวน
                                                            ที่ดี, แนวทางการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา
                                                            ความรูสึกเชิงจำนวน, ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต




           10


AW_MathGame#final.indd 10                                                                                          3/15/12 10:19:37 AM

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพKobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่Kobwit Piriyawat
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาJirathorn Buenglee
 
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยAekapong Hemathulin
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับsayunwanlor
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8Jirathorn Buenglee
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1Siwaphon Tonpui
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
Math website
Math websiteMath website
Math websitezensation
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 

Was ist angesagt? (17)

โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
ตัวอย่างคู่มือค่ายคณิตศาสตร์
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
Math website
Math websiteMath website
Math website
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
 

Ähnlich wie 9789740329497

วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาsuchinmam
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
ปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซตปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซตteachersaman
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการRatchada Kaewwongta
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะsuchinmam
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้Jiraprapa Suwannajak
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการRsmay Saengkaew
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาsuchinmam
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษาsuchinmam
 

Ähnlich wie 9789740329497 (20)

วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
ปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซตปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซต
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้เรขาคณิตด้วยก้านไม้
เรขาคณิตด้วยก้านไม้
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 

Mehr von CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Mehr von CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740329497

  • 1. คำนำ วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่คอนขางยากในความรูสึกของนักเรียนสวนใหญ และผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยภาพรวมยังอยูในระดับต่ำ มีผูคิดวิธีการแกปญหาการเรียนการสอน คณิตศาสตรมากมายหลากหลายวิธีแตก็ยังคงเปนปญหาอยูอยางตอเนื่อง ดังนั้น ครูที่สอน คณิตศาสตรในระดับประถมศึกษานอกจากจะตองมีความรูในเนื้อหาวิชาที่สอนแลว ยังตองมี ความรูในเรื่องธรรมชาติของเด็กในวัยนี้ที่มักจะชอบการเลนมากกวาการเรียน ครูควรจะหา กิจกรรมที่เปนการเลนนำมาประกอบเขากับกิจกรรมการเรียนการสอนใหกลมกลืนลงตัว เพื่อ จะไดชวยใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรูอยางสนุกสนาน มีทัศนคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร หนังสือ เล ม นี้ ผู เ ขี ย นได เ รี ย บเรี ย งสาระจากการศึ ก ษาเอกสารและงานวิ จั ย ต า ง ๆ รวมทั้ ง จาก ประสบการณจริงในการใชเกมคณิตศาสตรสอนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โดยมี จุดมุงหมายใหผูอานกลุมครูผูสอนและนิสิต นักศึกษาครุศาสตร ศึกษาศาสตร ได มี กิ จ กรรม ที่เปนการเลน เปนตัวเลือกในการสอนคณิตศาสตรและเห็นแนวทางใหม ๆ ในการพัฒนา กิจกรรมที่เปนการเลน สวนกลุม ผูอานที่เปน ผูปกครองนักเรียนจะไดประโยชนในการนำเกม คณิตศาสตรไปใชในการเลนและสอนปนเลนใหกับลูกหลาน เปนการพัฒนาเชาวปญญาทางการ คำนวณดวย สาระในหนังสือเลมนี้จะชวยใหผูอานไดมีความเขาใจในเรื่องธรรมชาติของเด็ก วัยประถมศึกษา ทฤษฎีที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนคณิตศาสตรวัยประถมศึกษา ความ แตกต า งระหว า งการสอนโดยใช เ กมคณิ ต ศาสตร กั บ การสอนปกติ เกมคณิ ต ศาสตร แ ละ การจัดการเรียนการสอนโดยใชเกมคณิตศาสตร ฯลฯ ขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร.นงลักษณ วิรัชชัย ที่ใหคำแนะนำ จุดประกายในการเขียนหนังสือเลมนี้ขึ้นมา สุ ด ท า ยนี้ ผู เ ขี ย นหวั ง ว า ผู อ า นจะสามารถนำเนื้ อ หาสาระจากหนั ง สื อ เล ม นี้ ไ ปใช ประโยชนไดบางไมมากก็นอย ครู อาจารยสามารถนำตัวอยางเกมคณิตศาสตรในเลมไปใชสอน นักเรียนได หรือนำไปประยุกตใชเพื่อความเหมาะสมได แตที่สำคัญที่สุดทานสามารถใชเปน แนวทางในการคิดคนเกมคณิตศาสตรอื่น ๆ ขึ้นมาใหมเพื่อใชสอนในเรื่องเดียวกันนี้หรือในเรื่อง อื่น ๆ ไดนั่นเปนเปาหมายสูงสุดของผูเขียน รุงอรุณ ลียะวณิชย โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ฝายประถม คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย AW_MathGame#final.indd e 3/15/12 10:19:27 AM
  • 2. สารบัญ บทที่ 1 บทนำ 1 บทที่ 2 เกมและเกมคณิตศาสตร 13 บทที่ 3 ความรูสกเชิงจำนวน (number sense) ึ 32 บทที่ 4 การสอนคณิตศาสตรเรื่องจำนวนและตัวเลข โดยใชเกมคณิตศาสตรเพื่อพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวน 56 บทที่ 5 การสอนคณิตศาสตรเรื่องการบวก โดยใชเกมคณิตศาสตรเพื่อพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวน 88 บทที่ 6 การสอนคณิตศาสตรเรื่องการลบ โดยใชเกมคณิตศาสตรเพื่อพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวน 138 บทที่ 7 การสอนคณิตศาสตรเรื่องการคูณ โดยใชเกมคณิตศาสตรเพื่อพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวน 176 บทที่ 8 ตัวอยางแผนการสอนคณิตศาสตรโดยใชเกมคณิตศาสตร 218 ภาคผนวก รูปภาพการเลนเกมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 226 บรรณานุกรม 229 AW_MathGame#final.indd g 3/15/12 10:19:28 AM
  • 3. ครูประถมศึกษานอกจากจะตองมีความรูในเนื้อหาวิชาที่สอนแลวยังตองมีความรูดวยวา ธรรมชาติของเด็กในวัยประถมศึกษามักจะชอบการเลนมากกวาการเรียน ครูควรจะหากิจกรรม ที่เปนการเลนนำมาประกอบเขากับกิจกรรมการเรียนการสอนใหกลมกลืนลงตัว เพื่อจะไดชวยให ผูเรียนไดเกิดการเรียนรูอยางสนุกสนาน มีทัศนคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร ผูเขียนไดเรียบเรียงสาระ จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยตาง ๆ รวมทั้งจากประสบการณจริงในการใชเกมคณิตศาสตร ในการสอนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เพื่อใหผูอานไดมีความเขาใจในเรื่องธรรมชาติของ เด็ กวั ย ประถมศึ ก ษา ทั ศ นคติ ที่ นั ก เรี ย นมี ต อวิ ช าคณิ ต ศาสตร ทฤษฎี ที่ เ หมาะสมกั บ การเรี ย น การสอนคณิ ต ศาสตร วั ย ประถมศึ ก ษา ความแตกต า งระหว า งการสอนโดยใช เ กมคณิ ต ศาสตร กับการสอนปกติ โดยนำเสนอสาระเปน 4 หัวขอดังนี้ 1. ธรรมชาติของเด็กในวัยเรียนระดับประถมศึกษา 2. ทัศนคติตอวิชาคณิตศาสตร 3. ทฤษฎีที่เหมาะสมกับการเรียนการสอนคณิตศาสตรในเด็กวัยประถมศึกษา 4. ความแตกตางของการเรียนการสอนโดยใชเกมคณิตศาสตรกับการเรียนการสอนปกติ ธรรมชาติของเด็กในวัยเรียนระดับประถมศึกษา การสอนให นั ก เรี ย นในวั ย ประถมศึ ก ษาเข า ใจเกี่ ย วกั บ ความคิ ด รวบยอดและทั ก ษะ เบื้องตนทางคณิตศาสตรเปนสิ่งสำคัญยิ่ง และสิ่งที่สำคัญยิ่งกวาคือวิธีการสอน ซึ่งเปนหนาที่ของครู ที่จะตองคิดหาวิธีการสอนวาจะสอนอยางไรใหนักเรียนเขาใจเนื้อหาคณิตศาสตรที่มีธรรมชาติ เป น สาระที่ ย าก นั ก เรี ย นส ว นใหญ ไ ม ช อบ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นก็ ค อ นข า งต่ ำ และที่ ส ำคั ญ นั ก เรี ย นมี ทั ศ นคติ ที่ ไ ม ค อ ยดี ต อ วิ ช าคณิ ต ศาสตร หากครู ส ามารถสอนให นั ก เรี ย นเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรไดอยางมีความสุข เกิดความชอบ มีความสนุกสนาน ไมเครงเครียดจนเกินไปและ ที่ ส ำคั ญที่ สุ ด คื อ มี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต อวิ ช าคณิ ต ศาสตร แ ละยั ง เข า ใจเนื้ อ หาสาระทางคณิ ต ศาสตร ไ ป พรอม ๆ กันดวยแลวจะเปนการดีมากสำหรับนักเรียน ผูปกครองและครู โดยธรรมชาตินักเรียนในวัยประถมศึกษาจะชอบเลนมากกวาเรียน ชอบความสนุกสนาน มากกวาเครงเครียด ชอบเคลื่อนไหวมากกวานั่งนิ่ง ๆ ชอบการแขงขัน ชอบพูดแสดงความคิดเห็น ชอบเลนเกม ชอบใหเพื่อนและครูยอมรับ ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตรที่จะ AW_MathGame#final.indd 1 3/15/12 10:19:31 AM
  • 4. ทำใหนักเรียนเรียนรูดวยความเขาใจ สนุกสนาน ชอบคณิตศาสตรไดนั้นครูจะตองจัดการเรียน การสอนที่เอื้อใหนักเรียนไดทำกิจกรรมดังกลาวขางตนจะชวยใหนักเรียนทุกคนประสบความสำเร็จ ในการเรียนคณิตศาสตรได หรืออยางนอยนักเรียนจะมีทัศนคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตรได วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสำคัญ โดยการใหนักเรียนมีโอกาส ไดคิด ไดลงมือทำ ไดสัม ผัสกับโอกาสที่กอใหเกิดการเรียนรู ไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูอื่น จะชวยใหผูเรียนไดพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวน (number sense) ได นั่นหมายถึงนักเรียนจะได ความรูความเขาใจเกี่ยวกับขนาดของจำนวน ปฏิบัติการเกี่ยวกับจำนวน และความสัมพันธระหวาง จำนวนตาง ๆ ไดดขึ้น นักเรียนจะสามารถคิดคำนวณในสถานการณตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ี สามารถเรียนคณิตศาสตรไดดวยความเขาใจ มีความสุข ดังนั้น สิ่งที่นาสนใจสำหรับนักเรียนคือการเลน แตการเลนโดยไมมีจุดมุงหมายก็จะไดแต ความสนุกสนานเพียงอยางเดียวไมเกิดความรูขึ้นมาได แตหากนำการเลนนั้นมาทำใหเกิดการเรียน รู ขึ้ น ได ด ว ยจะเป น การดี ม าก เพราะนั ก เรี ย นจะชอบเล น มากกว า เรี ย น และโดยธรรมชาติ ข อง นั ก เรี ย นในระดั บ ประถมส ว นใหญ จ ะเรี ย นคณิ ต ศาสตร อ ย า งไม เ ต็ ม ใจ เรี ย นด ว ยความรู สึ กว า ถูกบังคับ หรือเรียนไปตามที่ครูบอกความรูให เกิดความรูสึกวาเปนวิชาที่ยาก ไมนาสนใจ ทำใหเกิด การป ด กั้ น โอกาสที่ เ ด็ ก จะได พั ฒ นาความรู ท างคณิ ต ศาสตร ตรงกั น ข า มกั บ การเล น ผู เ รี ย น จะสนุกสนาน ผอนคลายโดยธรรมชาติของเด็กจะอยากเลนมากกวาอยากเรียน หากครูมีการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เปนการเลนแตในขณะเดียวกัน ผูเรียนก็เกิดการเรียนรูจากการเลน นั้นได จะเปนการเรียนรูที่สมบูรณและนาสนใจเปนอยางมาก นอมศรี เคท (2530) กลาววาการบังคับนักเรียนใหเรียนจากบทเรียนหรือแบบฝกหัด เปนสิ่งที่ทำลายความตองการที่แทจริงและไมสัมพันธกับธรรมชาติในการเรียนรูของเด็ก ดังนั้น กิจกรรมการเรียนการสอนที่ครูจัดขึ้นเพื่อใหเด็กเกิดความพรอมทางคณิตศาสตรที่เด็กสวนใหญชอบ คือ “เกม” เพราะวาเด็กจะไดรับความสนุกสนานและความตื่นเตนควบคูไปกับการเรียนเนื้อหา ทำใหชอบคณิตศาสตรและมีเจตคติที่ดีตอการเรียนคณิตศาสตรมากขึ้น 2 AW_MathGame#final.indd 2 3/15/12 10:19:32 AM
  • 5. ทัศนคติตอวิชาคณิตศาสตร การที่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรต่ำ สาเหตุหนึ่งมาจากนักเรียน ไม ช อบเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ซึ่ ง เป น คุ ณ ลั ก ษณะด า นจิ ต วิ ท ยาอย า งหนึ่ ง ที่ เ รี ย กว า ทั ศ นคติ (attitude) ทัศนคติเปนความรูสึกภายในที่ทำใหเกิดพฤติกรรมตาง ๆ การที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง จะแสดงพฤติกรรมวาชอบหรือไมชอบสิ่งใดขึ้นอยูกับทัศนคติของเขาวาเขามีทัศนคติบวก หรือลบ กับสิ่งนั้น เพราะทัศนคติเปนแรงจูงใจใหบุคคลแสดงออกทางพฤติกรรมอยางสอดคลองกัน ดังนั้น หากนักเรียนมีทัศนคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตรก็ยอมตั้งใจเรียนมากกวาการมีทัศนคติที่ไมดี นั่นคือ ทัศนคติตอวิชาคณิตศาสตร หมายถึง ความชอบ ความพึงพอใจ รูปแบบการคิด ความรูสึกภายใน ที่บุคคลมีตอวิชาคณิตศาสตร การตัดสินวานักเรียนมีทัศนคติตอวิชาคณิตศาสตรในเชิงบวก หรือ เชิงลบจะวัดไดจากการใหนักเรียนทำแบบวัดทัศนคติที่สรางขึ้น ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบเปนไปตาม วัตถุประสงคของผูสรางแบบวัดแตละคน การวัดทัศนคติที่มีตอวิชาคณิตศาสตร  นวลน อ ย เจริ ญ ผล (2533) กล า วถึ ง การวั ด ทั ศ นคติ ต อวิ ช าคณิ ต ศาสตร ว า เป น การ วัดความรูสึกของนักเรียนที่มีตอวิชาคณิตศาสตร ซึ่งอาจพึงพอใจ ไมพึงพอใจ หรือเฉย ๆ หลังจาก มีประสบการณในการทำกิจกรรมคณิตศาสตร การวัดทัศนคติประกอบดวยการวัดดานตาง ๆ รวม 3 ดาน คือ ดานความสำคัญและ คุ ณ ประโยชน ด า นความรู สึ ก ต อ วิ ช าคณิ ต ศาสตร และด า นการแสดงออกและมี ส ว นร ว ม ดั ง รายละเอียดสาระในการวัดแตละดานดังนี้ 1. ดานความสำคัญและคุณประโยชน เปนการวัดความรูความเขาใจวานักเรียนเห็น ความสำคัญ เห็นประโยชนของการเรียนวิชาคณิตศาสตรมากนอยเพียงไร เรียนวิชา คณิตศาสตรแลวนำไปใชประโยชนอะไรไดบาง 2. ดานความรูสึกตอวิชาคณิตศาสตร เปนการวัดความรูสึกวานักเรียนรูสึกชอบหรือ ไมชอบ และ/หรือ รูสึกดีหรือไมดีตอวิชาคณิตศาสตรในระดับใด ความชอบหรือไมชอบ มักจะเกิดจากการไดรับประสบการณในการเรียนในวัยเด็กเล็ก เกิดจากวิธีการสอนของ 3 AW_MathGame#final.indd 3 3/15/12 10:19:33 AM
  • 6. ครูผูสอน เกิดจากบุคลิกลักษณะของครูผูสอน และเหตุผลอื่น ๆ อีกมากมายแตกตาง กั น ไปแล ว แต บุ ค คล ถึ ง แม ว า นั ก เรี ย นจะตระหนั ก ว า วิ ช าคณิ ต ศาสตร มี ป ระโยชน มีความสำคัญแตหากไดรับประสบการณที่ไมดีจากการเรียน นักเรียนก็จะมีทัศนคติ ที่เปนลบกับวิชาคณิตศาสตรได ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนของครูมีความสำคัญ ต อ ความรู สึ ก ชอบ หรื อ ไม ช อบวิ ช าคณิ ตศาสตร ข องนั ก เรี ย นเป น อย า งมาก เพราะ ครูสามารถทำใหนักเรียนชอบเรียนคณิตศาสตรตั้งแตการเรียนครั้งแรก ๆ หรือสามารถ ทำให นั ก เรี ย นเปลี่ ย นทั ศ นคติ จ ากลบเป น บวกได ด ว ยวิ ธี ก ารจั ด การเรี ย นการสอน ทีนกเรียนชอบ ่ ั 3. ดานการแสดงออกและมีสวนรวม เปนการวัดวานักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนวิชา คณิตศาสตรแบบใด มีสวนรวมในขณะเรียนอยางไร มีพฤติกรรมในการทำแบบฝกหัด เปนแบบใด เชน ทำแบบฝกหัดเสร็จทันทีในชั่วโมงเรียนหลังจากครูมอบหมายงาน หรื อ เก็ บ ไว ท ำเป น การบ า น หรื อ ทำการบ า นเสร็ จ และส ง ทั น เวลาทุ ก ครั้ ง ทำเสร็ จ ทันเวลาเปนสวนใหญ ทำไมเสร็จและสงไมตรงเวลาเปนสวนใหญ นักเรียนที่มีทัศนคติ ที่ ดี จ ะมี พ ฤติ ก รรมแสดงออกในรู ป การขยั น ทำแบบฝ ก หั ด การทำการบ า นเสร็ จ เรียบรอยกอนเวลาที่กำหนด มีความตั้งใจเรียนและสนใจในการเรียน ลักษณะสำคัญของทัศนคติ ทัศนคติเปนจิตลักษณะ (psychological characteristics) ชนิดหนึง มีลกษณะสำคัญแตกตาง ่ ั จากจิตลักษณะอื่น ๆ สรุปไดเปน 3 ดานดังนี้ 1. ดานลักษณะ แยกเปน 4 ดาน คือ 1.1 ทัศนคติเปนความพรอมในการตอบสนองตอสิ่งเราในทางที่ชอบหรือไมชอบ ซึ่ง เปนความพรอมดานจิตใจมากกวาทางรางกายจึงทำใหไมสามารถมองเห็นได หรือสังเกตไดโดยตรง ตองสังเกตจากพฤติกรรมการแสดงออก 1.2 ทัศนคติเปนภาวะทางอารมณที่พรอมตอบสนอง ยอมรับ ชอบ หรือไมชอบของ บุคคล มีความเกี่ยวของกับอารมณอยางแยกไมออกและบางครั้งไมมีเหตุผล อธิบายไมได 1.3 ทัศนคติไมใชพฤติกรรม แตเปนลักษณะทางจิตที่มีอิทธิพลตอความรูสึกนึกคิด และเปนตัวกำหนดแนวทางในการแสดงออกของพฤติกรรม 1.4 ทัศนคติไมสามารถวัดไดโดยตรง แตสามารถวัดไดจากการสรางเครืองมือวัดพฤติกรรม ่ ที่แสดงออกมา เพื่อใชเปนแนวทางในการทำนายหรืออธิบายทัศนคติได 4 AW_MathGame#final.indd 4 3/15/12 10:19:34 AM
  • 7. 2. การสรางทัศนคติ ทั ศ นคติ เ กิ ด จากการเรี ย นรู แ ละเกิ ด จากการได รั บ ประสบการณ บุ ค คลแต ล ะคนจะมี ทัศนคติในเรื่องเดียวกันแตกตางกัน หรือเหมือนกันก็ได ซึ่งขึ้นอยูกับเหตุผลตาง ๆ เชน สภาพ แวดลอมทางเศรษฐกิจและสังคม อายุ สติปญญา เปนตน 3. ความคงทนของทัศนคติ ทั ศ นคติ มี ค วามคงที่ แ ละแน น อนพอสมควร แต อ าจจะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงได เ นื่ อ งจาก ทัศนคติเปนสิ่งที่เกิดขึ้นมาจากการเรียนรูและประสบการณ และหากมีการเรียนรูใหม หรือไดรับ ประสบการณใหมทัศนคติอาจจะเปลี่ยนแปลงไปได ทัศนคติสามารถเปลี่ยนแปลงไดขึ้นอยูกับ สิ่งแวดลอม การเปลี่ยนทัศนคติอาจเกิดขึ้นหลายลักษณะดังนี้ 3.1 การยินยอม เปนการยอมรับอิทธิพลจากผูอื่น โดยยอมปฏิบัติตัวไปในทิศทาง ตามที่เขาตองการ หรือพอใจ 3.2 การเลียนแบบ เปนการแสดงพฤติกรรมใหเหมือนกับคนอื่นในสังคม หรือเพื่อให เปนที่ยอมรับของคนในสังคม จะไดมีสัมพันธภาพที่ดีกับกลุมคนในสังคม 3.3 การรับอิทธิพลจากสิ่งตาง ๆ เนื่องจากตรงกับคานิยมที่มีอยูในตนเอง หลักการสรางทัศนคติท่ดีแกนักเรียน ี ทวี ทอแกวและอบรม สินภิบาล (2530 : 57) กลาวถึงหลักการสรางทัศนคติทดตอนักเรียน ี่ ี  ดังนี้ 1. ใหนักเรียนทราบจุดมุงหมายในเรื่องที่เรียน 2. ใหนักเรียนเห็นประโยชนของวิชานั้น ๆ โดยแทจริง 3. ใหนักเรียนไดมีโอกาสหรือมีสวนรวมในการเรียนการสอน 4. ใหนักเรียนไดทำกิจกรรมที่สอดคลองกับความสามารถ ความถนัด เพื่อจะไดเกิดความ สำเร็จในการเรียน อันเปนผลใหมีทัศนคติที่ดีตอไป 5. การสอนของครูจะตองมีการเตรียมตัวอยางดี ใชวิธีสอนที่ดี เด็กเขาใจอยางแจมแจง 6. ครูจะตองสรางความอบอุนและความเปนกันเองกับนักเรียน 7. ครูจะตองสรางเสริมบุคลิกภาพใหเปนที่นาเลื่อมใส 8. จัดสภาพแวดลอมตาง ๆ ในหองเรียนใหมีบรรยากาศที่นาอยูและนาสนใจ 5 AW_MathGame#final.indd 5 3/15/12 10:19:34 AM
  • 8. ครู เ ป น บุ ค คลที่ มี ค วามสำคั ญ ในการสร า งทั ศ นคติ ใ ห กั บ นั ก เรี ย น โดยการจั ด กิ จ กรรม การเรี ย นการสอนที่ น า สนใจ สามารถพั ฒนาทั ศ นคติ ใ นทางบวกให กั บ นั ก เรี ย นได เพราะหาก นั ก เรี ย นมี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต อ นั ก เรี ย นจะตั้ ง ใจเรี ย น เอาใจใส ต อ การเรี ย น ซึ่ ง จะมี ผ ลต อ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนที่ดีขึ้นได จากลั ก ษณะสำคั ญ ของทั ศ นคติ โ ดยทั่ ว ไปทั้ ง 3 ด า นข า งต น เพื่ อ นำมาประยุ กต ใ ช กั บ ทั ศ นคติ ต อ วิ ช าคณิ ต ศาสตร สรุ ป ได ว า ทั ศ นคติ ต อ วิ ช าคณิ ต ศาสตร มี ลั ก ษณะเป น นามธรรม ที่ไมสามารถวัดไดโดยตรง เปนสิ่งที่สามารถพัฒนาไดโดยการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ใหนักเรียนมีทัศนคติทางบวกตอวิชาคณิตศาสตร นักเรียนสวนใหญจะเรียนคณิตศาสตรอยางไมเต็มใจ รูสึกวาถูกบังคับใหเรียน หรือเรียนไป ตามที่ครูบอก เพราะนักเรียนรูสึกวาวิชาคณิตศาสตรยาก ไมนาสนใจ ทำใหนักเรียนไมมีโอกาส ไดพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวน ตรงกันขามกับการเลน นักเรียนจะเกิดความสนุกสนาน ผอนคลาย หากครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สนุกควบคูไปกับไดเกิดการเรียนรูในเนื้อหาสาระวิชา คณิตศาสตรไปดวย จะทำใหนักเรียนเกิดการเรียนรูไดอยางยั่งยืน และที่สำคัญจะทำใหนักเรียนเกิด ทัศนคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร เมื่อรูสึกชอบนักเรียนก็จะเรียนไดดีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดี ตามไปดวย ทฤษฎีที่เหมาะสมกับการเรียนการสอน คณิตศาสตรในเด็กวัยประถมศึกษา ทฤษฎีที่นำมาใชคูกับการเรียนการสอนแบบยึดผูเรียนเปนสำคัญ การเลนเกม การไดมี โอกาสได ล งมื อ ทำสิ่ ง ต า ง ๆ ด ว ยตั ว นั ก เรี ย นเองเพื่ อ ช ว ยให เ กิ ด การเรี ย นรู ไ ด ดี นั้ น คื อ ทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต (constructivist theory) หรือ คอนสตรัคติวิซึม (constructivism) ของ Piaget ซึงมีแนวคิดหลักวา บุคคลเรียนรูโดยการสรางความรู ดวยวิธการทีแตกตางกัน โดยอาศัยประสบการณ ่  ี ่ เดิม โครงสรางทางปญญาเดิมที่มีอยู ความสนใจและแรงจูงใจภายในเปนพื้นฐาน (Noddings. 1990) โดยที่ ค วามขั ด แย ง ทางป ญ ญา (cognitive conflict) ซึ่ ง เกิ ด จากการที่ บุ ค คลเผชิ ญ กั บ สถานการณทเปนปญหา หรือมีปฏิสมพันธกบผูอน จะเปนแรงจูงใจใหเกิดการไตรตรอง (reflection) ี่ ั ั  ื่ 6 AW_MathGame#final.indd 6 3/15/12 10:19:35 AM
  • 9. ซึ่งนำไปสูการสรางโครงสรางทางปญญาใหม (cognitive restructuring) ที่ไดรับการตรวจสอบ ทั้งตนเองและผูอื่น วาสามารถแกปญหาตาง ๆ ที่อยูในกรอบของโครงสรางนั้น และใชเปนเครื่องมือ สำหรับการสรางโครงสรางใหมอ่น ๆ ื หลักการของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต (constructivist theory) ซึ่งเปนทฤษฎีพัฒนาการ ทางสติปญญาของ Piaget ซึ่งมี 3 ขั้นตอนดังนี้ 1. ประสบการณ ท างกายภาพ (physical experience) เกิดจากผู เ รีย นไดมีโอกาส ทำกิจกรรมตาง ๆ โดยใชวัสดุอุปกรณที่หลากหลาย และไดสัมผัสทุกสิ่งดวยตนเองและ เกิดการเรียนรูได 2. ประสบการณทางสังคม (social experience) เกิดจากผูเรียนไดมปฏิสมพันธกบเพือน  ี ั ั ่ ไดเขาสังคมทำใหมีโอกาสพูดคุยกับผูอื่น กอใหเกิดความขัดแยงทั้งภายในตัวเองและ กับผูอื่น จะทำใหผูเรียนสนใจในความคิด ความเปนตัวตนลดลง ใหความสนใจหรือ ใหความสำคัญกับความคิดของผูอื่นมากขึ้น 3. กระบวนการสรางความสมดุล (equilibration) เปนสิ่งที่มีความสำคัญมากและมี ผลกระทบตอการพัฒนาความคิดของเด็กมากที่สุด ความแตกตางระหวางการเรียนการสอน โดยใชเกมคณิตศาสตรกับการเรียนการสอนปกติ ความแตกตางระหวางการเรียนการสอนแบบปกติกบการเรียนการสอนโดยใชเกมคณิตศาสตร ั มีหลายอยางดวยกัน เชน ขั้นตอนการสอน สื่ออุปกรณ ขนาดกลุมของนักเรียน ลักษณะการนั่งเรียน กิจกรรมทีนกเรียนทำ พฤติกรรมการแสดงออกของผูเรียน ทัศนคติของผูเรียนทีมตอวิชาคณิตศาสตร ่ ั   ่ ี  ดังมีรายละเอียดเฉพาะหัวขอที่สำคัญดังนี้ 7 AW_MathGame#final.indd 7 3/15/12 10:19:36 AM
  • 10. 1. ขั้นตอนการสอน การเรียนการสอนปกติ การเรียนการสอนปกติมีขั้นตอนในการดำเนินการสอนดังนี้ 1. ขั้นนำเขาสูบทเรียน 1.1 ครูทบทวนความรูเดิมเพื่อเปนพื้นฐานของการเรียนรูเรื่องใหม 1.2 ครูจัดกิจกรรมเพื่อดึงดูดใหนักเรียนสนใจเรื่องที่จะเรียนใหม 2. ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู 2.1 ครูยกตัวอยางโจทยคณิตศาสตรเพื่อสาธิตใหนักเรียนดู 2.3 ครูอธิบาย – สาธิตใหนักเรียนดู 2.3 นักเรียนบางคนออกมาอธิบาย – สาธิตใหเพื่อนดู 3. ขั้นสรุปบทเรียน 3.1 ครูและนักเรียนถามตอบเพื่อสรุปมโนทัศน 3.2 นักเรียนทำแบบฝกหัด การเรียนการสอนโดยใชเกมคณิตศาสตร การเรียนการสอนโดยใชเกมคณิตศาสตรมีขั้นตอนในการดำเนินการสอนดังนี้ 1. ขั้นสรางความขัดแยงทางปญญา 1.1 ครูเสนอปญหาที่นำไปสูการสรางโครงสรางใหมทางปญญาใหนักเรียนฟง 2. ขั้นดำเนินกิจกรรมไตรตรอง 2.1 นักเรียนเขากลุมยอยและใชกระบวนการกลุมในการเลนเกมคณิตศาสตร 2.2 ครูแจกอุปกรณในการเลนเกมคณิตศาสตร 2.3 ครูอธิบายวิธการเลนเกมคณิตศาสตร ี 2.4 นักเรียนเลนเกมคณิตศาสตร 3. ขั้นสรุปผลการสรางโครงสรางใหมทางปญญา 3.1 ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปมโนทัศน 3.2 นักเรียนทำแบบฝกหัด 8 AW_MathGame#final.indd 8 3/15/12 10:19:36 AM
  • 11. 2. สื่ออุปกรณ สื่ออุปกรณการสอนแบบปกติใชสื่อการสอนตามลักษณะเนื้อหาที่สอน เชน บัตรคำ แถบ ประโยค รูปภาพ ของจริง ฯลฯ สวนสื่อการสอนโดยใชเกมคณิตศาสตรจะเปนเกมคณิตศาสตร และอุปกรณในการเลนเกมที่ครูผลิตขึ้นเพื่อใหผูเรียนไดเลนแลวเกิดการเรียนรูในเนื้อหาคณิตศาสตร ในแตละเรื่อง หนึ่งเกมตอเนื้อหาคณิตศาสตรหนึ่งเรื่อง และใบบันทึกการเลนเกมตาง ๆ 3. กิจกรรมและพฤติกรรมการเรียน การเรียนแบบปกติผูเรียนจะนั่งเรียนตามปกติ มีการถามตอบและมีตัวแทนผูเรียนออกมา รวมกิจกรรมหนาหองเปนบางโอกาส สวนการเรียนแบบใชเกมคณิตศาสตรผูเรียนนั่งเรียนเปนกลุม กลุมละ 4 คน โดยในแตละกลุมจะคละกันระหวางเด็กเกง กลาง ออน ในทุกชั่วโมงที่เรียนทุกคน จะไดมีโอกาสสัม ผัสอุปกรณการเลนเกมมีหนาที่ไดรับผิดชอบทำในกลุม ทุกคนมีการชวยเหลือกัน ในกลุม ไดลุกขึ้นยืน เดิน วิ่ง ในเวลาเลนเกม ทำใหทุกคนกระฉับกระเฉง ตื่นตัว สนุกสนาน ทุกคน มีโอกาสไดพูดแสดงความคิดเห็น คนที่เรียนเกงจะชวยเพื่อนที่เรียนไมคอยเกง คนที่เรียนไมเกง จะไดรับการยอมรับจากเพื่อนในหลาย ๆ กิจกรรมที่ไดมีโอกาสไดทำ ไดชวยเหลือเพื่อน ทำใหเกิด ความภาคภูมิใจ เพื่อนยอมรับ มีความสุขในการเรียน มีทัศนคติที่ดีตอการเรียนวิชาคณิตศาสตร และนอกเวลาเรียนผูเรียนจะพูดถึงการเลนเกมในชั่วโมง หรือนำเกมมาเลนนอกเวลาเรียน เชน หลัง เลิกเรียน พักกลางวัน เปนกลุม ๆ สิ่ ง ที่ ก ล า วมาข า งต น เป น สิ่ ง ที่ ผู เ ขี ย นได ค น พบจากประสบการณ จริ ง ที่ ใ ช ใ นการสอนกั บ ผูเรียนจริงในการเรียนการสอนกับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ผลจากการเรียนการสอน วิ ช าคณิ ต ศาสตร ไ ด ผ ลเป น ที่ พึ ง พอใจ นั ก เรี ย นมี ทั ศ นคติ ต อวิ ช าคณิ ต ศาสตร ดี ขึ้ น มาก ผู เ ขี ย น จึ ง ประมวลประสบการณ แ ละความรู จ ากแนวคิ ด ทฤษฎี มาเขี ย นหนั ง สื อ เล ม นี้ ขึ้ น เพื่ อ แบ ง ป น ประสบการณใหครูอื่น ๆ ไดนำไปประยุกตใช หรือใชเปนแนวทางในการสรางสรรคเกมอื่น ๆ ขึ้นมา เพื่อใชสอนนักเรียนไดอยางหลากหลายเพื่อใชในการสอนเพื่อพัฒนาความรูสึกเชิงจำนวนใหกับ นักเรียนได สาระในหนังสือเลมนี้แบงเปน 8 บท ดังสังเขปสาระแตละบทในตารางตอไปนี้ 9 AW_MathGame#final.indd 9 3/15/12 10:19:37 AM
  • 12. ตาราง 1.1 แสดงเนื้อหาที่นำเสนอในหนังสือเลมนี้แบงเปน 8 บทดังนี้ บทที่ ชื่อบท เนื้อหา/สาระ 1 บทนำ ธรรมชาติของเด็กในวัยเรียนระดับประถมศึกษา, ทฤษฎีทเี่ หมาะสมกับการเรียนการสอนคณิตศาสตร ในเด็กวัยประถมศึกษา, ความแตกตางระหวาง การเรี ย นการสอนโดยใช เ กมคณิ ต ศาสตร กั บ การเรียนการสอนปกติ 2 เกมและเกมคณิตศาสตร ความหมายของเกม, ประโยชน ข องเกม, ชนิ ด ของเกม, เกมคณิ ต ศาสตร , หลั ก ในการนำเกม มาใช ใ นการสอนคณิ ต ศาสตร , ขั้ น ตอนในการ ใชเกมประกอบการสอนคณิตศาสตร, การสราง เกมคณิ ต ศาสตร เ พื่ อ พั ฒนา number sense, คำแนะนำในการใชเกมคณิตศาสตรในการเรียน การสอนวิชาคณิตศาสตร, ขั้นตอนของการสอน เกมคณิ ต ศาสตร เ พื่ อ พั ฒ นา number sense 3 ความรูสึกเชิงจำนวน ความรู สึ ก เชิ ง จำนวน, ความแตกต า งระหว า ง การสอนธรรมดากับการสอนเพื่อพัฒนา number sense, ลักษณะของผูที่มีความรูสึกเชิงจำนวน ที่ดี, การประเมินผลผูที่มีความรูสึกเชิงจำนวนที่ดี, ตัวอยางแบบวัดความรูสึกเชิงจำนวน, เกณฑการ ให ค ะแนนแบบสอบความรู สึ ก เชิ ง จำนวนและ การแปลความ, นักเรียนที่มีความรูสึกเชิงจำนวน ที่ดี, แนวทางการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ความรูสึกเชิงจำนวน, ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต 10 AW_MathGame#final.indd 10 3/15/12 10:19:37 AM