SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 10
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ตอนที่ 1
บทนํา




           1   ......................
ตอนที่ 1   บทนํา




                                               • แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ
                                                 พฤติกรรมผูบริโภค
                                               • การวิจัยผูบริโภค




....................... 2
บทที่ 1
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค



   พฤติกรรมผูบริโภค : ความหมายและวัตถุประสงคของศาสตร
   ผูบริโภค: ประเภทและบทบาท
   กรอบแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภค
       • ความหมายและองคประกอบของพฤติกรรม
       • สาเหตุของพฤติกรรม
       • ปจจัยกําหนดพฤติกรรมของผูบริโภค
                                  
   แบบจําลองกระบวนการการบริโภค
       • แบบจําลองของ Schiffman and Kanuk (2004)
       • แบบจําลองของ Blackwell, Miniard, and Engel (2006)
       • แบบจําลองแบบบูรณาการ
   ประโยชนของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค
   สรุป
   กรณีศึกษา : แนวโนมการบริโภคของคนไทยในอนาคตจะเปลี่ยนไป




                                                             3   ......................
วัตถุประสงคของบทนี้




                            หลังจากศึกษาบทนี้แลว ผูอานสามารถ:
                                    อธิบายความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค
                                    บรรยายกระบวนการการบริโภค
                                    ระบุประโยชนของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค




....................... 4
บทที่
                                                                                         1
                            แนวคิดพื้นฐานเกียวกับ
                                            ่
                               พฤติกรรมผูบริโภค
                                           บริ



         การบริโภคนับวาเปนกิจกรรมที่มนุษยทุกคนกระทําเปนประจําทุกวัน นับตั้งแตวันแรกที่เกิด
มาจนกระทั่งวันสุดทายของชีวต และเกิดขึ้นตลอดยี่สบสี่ชั่วโมงของการดําเนินชีวิตในแตละวัน เมื่อตื่น
                            ิ                    ิ
ขึ้นมาในตอนเชา บุคคลแตละคนเริ่มการบริโภคนับตั้งแตเทาสัมผัสกับพื้น หลังจากนั้น กิจกรรมการ
บริโภคที่หลากหลายก็ดําเนินไปอยางตอเนื่อง จวบจนถึงเวลาเขานอนอีกครั้งหนึ่ง (Holbrook, 1985)
การบริโภคของมนุษยครอบคลุมตั้งแตสินคาหรือบริการที่มีราคาไมกี่บาท จนถึงสินคาหรือบริการที่มี
ราคาแพง และครอบคลุมสิ่งตาง ๆ หลากหลายชนิด ไมวาจะเปนสินคาที่จําเปนสําหรับการมีชีวิต
อาทิ อาหาร น้ํา ยารักษาโรค และเสื้อผา จนถึงสินคาฟุมเฟอยตาง ๆ การบริโภคจึงนับไดวาเปนสวน


                                                                                               5    ......................
พฤติกรรมผูบริโภค



                       สําคัญของการดําเนินชีวิตของมนุษยทุกคน และอาจกลาวไดวารายจายสวนใหญของแตละบุคคลเปน
                                                                                      
                       เรื่องเกี่ยวกับการบริโภคสินคาและบริการตาง ๆ เพื่อการดําเนินชีวิตประจําวัน ในประเทศไทย การ
                       สํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ป พ.ศ. 2550 พบวา ครัวเรือนทั่วประเทศมีรายได
                       เฉลี่ยเดือนละ 18,660 บาท และคาใชจายเฉลี่ยเดือนละ 14,500 บาท หรือคิดเปนรอยละ 77.7 ของ
                       รายได โดยคาใชจายสูงสุดเปนคาอาหารและเครื่องดื่ม (รอยละ 33.0) รองลงมาเปนคาที่อยูอาศัย
                       และเครื่องใชภายในบาน (รอยละ 20.1) คาใชจายดานการเดินทางและยานพาหนะ (รอยละ 18.2)
                       และคาใชจายสวนบุคคล/เครื่องนุงหม/รองเทา (รอยละ 5.6) (สํานักงานสถิตแหงชาติ, 2551)
                                                                                                  ิ
                                   ดังนั้น การศึกษาเพื่อทําความเขาใจเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคจึงมีความสําคัญอยางยิ่ง
                       เพราะจะทําใหทราบวาผูบริโภคมีกระบวนการตัดสินใจซื้อสินคาหรือบริการอยางไร มีการใชสินคา
                       หรือบริการในลักษณะใด และในปริมาณหรือความถี่มากนอยเพียงไร นอกจากนั้น ยังทําใหทราบวามี
                       ปจจัยใดบางทีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการบริโภคของบุคคล องคความรูดานพฤติกรรมผูบริโภคจึงมี
                                          ่
                       ประโยชนทั้งตอตัวผูบริโภค ตอผูผลิตสินคาหรือผูใหบริการ และตอหนวยงานที่เกี่ยวของกับผูบริโภค

                       พฤติกรรมผูบริโภค : ความหมายและวัตถุประสงคของศาสตร
                                 พฤติกรรมผูบริโภค (consumer behavior) หมายถึง การกระทําของบุคคลที่เกี่ยวของกับ
                       การตัดสินใจเลือก (select) การซื้อ (purchase) การใช (use) และการกําจัดสวนที่เหลือ (dispose)
                       ของสินคาหรือบริการตาง ๆ เพื่อตอบสนองความตองการและความปรารถนาของตน (Solomon,
                       2009) พฤติกรรมเหลานี้สามารถอธิบายโดยละเอียดไดดังนี้
                                 การตัดสินใจเลือก หมายถึง พฤติกรรมและกระบวนการทางจิตใจของผูบริโภคในการตัด-
                       สินใจซื้อสินคาหรือบริการ โดยครอบคลุมพฤติกรรมตาง ๆ ตั้งแตการตระหนักถึงความตองการ การ
                       คนหาขอมูล การประเมินทางเลือกตาง ๆ และการตัดสินใจซื้อ
                                 การซือ หมายถึง การดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งสินคาหรือบริการที่ผูบริโภคตองการ ตั้งแต
                                      ้
                       การเลือกแหลงที่จะซื้อและวิธีการจายเงินคาสินคาหรือบริการ
                                 การใช หมายถึง การที่ผูบริโภคนําสินคามาใชประโยชนตามที่มุงหวัง หรือการรับบริการจาก
                       องคการธุรกิจ
                                 การกําจัดสวนทีเหลือ หมายถึง การนําสวนที่เหลือของผลิตภัณฑไปกําจัดทิ้ง โดยอาจกระทํา
                                                ่
                       ในรูปแบบตาง ๆ เชน การทิ้งในถังขยะ การนํากลับมาใชใหม (reuse) การนําไปผลิตใหม (recycle)


....................... 6
บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค



วัตถุประสงคของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค
                                 
           การศึกษาดานพฤติกรรมผูบริโภคมีวัตถุประสงคที่สําคัญสี่ประการ ดังตอไปนี้คือ
           1. เพือบรรยายพฤติกรรม (describe) คือ การบรรยายวามีพฤติกรรมอะไรเกิดขึ้นและมี
                   ่
ลักษณะอยางไร หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือการตอบคําถามวา “มีพฤติกรรมใดเกิดขึ้นบาง และเกิดขึ้น
อยางไร?” ตัวอยางเชน เพศชายและเพศหญิงมีพฤติกรรมการซื้อเสื้อผาแตกตางกันอยางไร หรือคน
ในเมืองกับคนในชนบทนิยมชมรายการโทรทัศนแตกตางกันหรือไม อยางไร
           2. เพือทําความเขาใจพฤติกรรม (understand) นอกจากจะสามารถบรรยายพฤติกรรมที่
                     ่
เกิดขึ้นไดแลว นักวิชาการยังตองการทราบถึงสาเหตุของการเกิดพฤติกรรมเหลานั้นอีกดวย ดังนั้น
วัตถุประสงคขอนี้จึงเกี่ยวของกับคนหาสาเหตุตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอการแสดงพฤติกรรมของบุคคล
หรือการพยายามตอบคําถามวา “พฤติกรรมเหลานั้นเกิดขึ้นเพราะเหตุใด?” ตัวอยางเชน การคนหา
ปจจัยที่ทําใหคนในเมืองกับคนในชนบทนิยมชมรายการโทรทัศนที่แตกตาง
           3. เพือทํานายพฤติกรรม (predict) ความเขาใจถึงสาเหตุและเงื่อนไขตาง ๆ ของการเกิด
                       ่
พฤติกรรมแลว ทําใหนักวิชาการสามารถสรุปกฎเกณฑหรือสรางทฤษฎีที่ใชในการอธิบายพฤติกรรม
ตาง ๆ ไดอยางชัดเจน และสามารถนําไปสูการทํานายพฤติกรรมในอนาคต กลาวอีกนัยหนึงก็คือ การ ่
ตอบคําถามวา “พฤติกรรมเหลานั้นจะเกิดขึ้นเมื่อไร ภายใตเงื่อนไขอะไร?” ตัวอยางเชน การทํานาย
วาผูบริโภคจะจดจําสินคาไดอยางรวดเร็ว หากมีการโฆษณาสินคานั้นดวยความถี่บอยครั้ง และดวย
รูปแบบการนําเสนอที่นาสนใจ
           4. เพือควบคุมพฤติกรรม (control) การควบคุมในที่นี้มิไดหมายถึง การครอบงําหรือบังคับ
                         ่
การกระทําของบุคคลอื่น แตหมายถึง การสราง จัดกระทํา หรือเปลี่ยนแปลงสภาวะบางประการโดย
อาศัยความรูหรือทฤษฎีที่ไดรับการยอมรับแลว เพื่อทําใหเกิดผลลัพธที่นาปรารถนา หรือเพื่อปองกัน
มิใหเกิดผลลัพธที่ไมพึงปรารถนา ตัวอยางเชน ความรูทางจิตวิทยาไดบงชี้วา วัยรุนมักมีการเลียน-
แบบพฤติกรรมตาง ๆ ของนักแสดง นักรอง หรือนักกีฬาที่มีชื่อเสียง ดังนั้น การใชบุคคลทีมีชื่อเสียง
                                                                                           ่
เหลานั้นเปนตัวแบบ จะทําใหสามารถเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมของวัยรุนไดงายและรวด-
เร็วมากขึ้น
           เนื่องจากพฤติกรรมผูบริโภคเปนสวนหนึ่งของพฤติกรรมมนุษยที่ไดรับอิทธิพลตาง ๆ ทั้งจาก
ปจจัยดานจิตวิทยาซึ่งอยูภายในตัวบุคคลและปจจัยภายนอกดานสังคมและวัฒนธรรม ดังนั้น การ
ศึกษาเพื่อทําความเขาใจพฤติกรรมของผูบริโภค จึงจําเปนตองอาศัยองคความรูตาง ๆ จากศาสตร
หลากหลายสาขา เชน จิตวิทยา (psychology) สังคมวิทยา (sociology) และมานุษยวิทยา (an-


                                                                                                   7    ......................
พฤติกรรมผูบริโภค



                       thropology) ดวยเหตุนี้ จึงอาจกลาวไดวาศาสตรดานพฤติกรรมผูบริโภคเปนผลจากการผสมผสาน
                       องคความรูหลากหลายสาขาเขาดวยกัน


                       ผูบริโภค: ประเภทและบทบาท
                                 นักวิชาการไดจาแนกผูบริโภคออกเปน 2 ประเภท ไดแก ผูบริโภคที่เปนบุคคล (personal
                                                  ํ                                          
                       consumer) และผูบริโภคที่เปนองคการ (organizational consumer) (Schiffman & Kanuk, 2007)
                       โดยผูบริโภคที่เปนบุคคลจะซื้อสินคาและบริการเพื่อใชเอง หรือใชภายในครัวเรือน หรืออาจซื้อเพื่อ
                       เปนของขวัญสําหรับผูอื่นในโอกาสตาง ๆ การบริโภคในลักษณะนี้จะมีผูบริโภคที่เปนบุคคลเปนผู
                       บริโภคคนสุดทายเสมอ (end users or ultimate consumers) สวนผูบริโภคที่เปนองคการ อาจเปน
                       องคการที่มุงหวังกําไรหรือองคการที่ไมมุงหวังกําไร องคการของรัฐ และสถาบันตาง ๆ องคการเหลานี้
                       มีการซื้อสินคา เครื่องมือ อุปกรณและบริการตาง ๆ เพื่อใชในการดําเนินงาน เชน การซื้อวัตถุดิบและ
                       สวนประกอบตาง ๆ เพื่อใชในการผลิตสินคา สวนองคการที่ใหการบริการก็อาจซื้ออุปกรณที่จําเปน
                       ตอการใหบริการ สวนองคการของรัฐก็อาจซื้อวัสดุ อุปกรณตาง ๆ เพื่อใหบริการแกประชาชน อยางไร
                       ก็ตาม สําหรับหนังสือเลมนี้จะจํากัดขอบเขตของเนื้อหาไวเพียงแคผูบริโภคที่เปนบุคคลเทานั้น
                                 ดังที่ไดกลาวขางตนแลววา พฤติกรรมผูบริโภคเปนการกระทําของบุคคลที่เกียวของกับการ
                                                                                                              ่
                       ตัดสินใจเลือก การซื้อ การใช รวมทั้งการกําจัดสินคาหรือบริการเหลานั้นภายหลังการบริโภคแลว
                       อยางไรก็ตาม อาจมีบุคคลหลายคนที่เขามาเกี่ยวของกับกระบวนการบริโภคดังกลาว และแตละคนก็
                       อาจมีบทบาททีแตกตางกันไป โดยอาจจําแนกบทบาทตาง ๆ ไดดังตอไปนี้
                                         ่
                                 1. ผูริเริม (initiator) คือ บุคคลที่รับรูถึงความจําเปนหรือความตองการ เปนผูริเริ่มหรือ
                                            ่
                       เสนอความคิดเกี่ยวกับความตองการสินคาหรือบริการอยางใดอยางหนึ่ง
                                 2. ผูมอทธิพล (influencer) คือ บุคคลที่แสดงออกจะโดยตั้งใจหรือไมไดตั้งใจก็ตาม แตมี
                                             ีิ
                       อิทธิพลตอการตัดสินใจเลือก การซื้อ และการใชสินคาหรือบริการตาง ๆ
                                 3. ผูตดสินใจ (decider) คือ บุคคลที่ตัดสินใจหรือมีสวนในการตัดสินใจวาจะซื้อหรือไม ซื้อ
                                             ั
                       อะไร ซื้ออยางไร และซื้อที่ไหน
                                 4. ผูซอ (purchaser) คือ บุคคลที่เปนผูซื้อสินคาหรือบริการ โดยที่ตนเองอาจไมไดเปนผูใช
                                               ื้
                                 5. ผูใช (user) คือ บุคคลที่ใชสินคาหรือบริการโดยตรง โดยอาจไมไดเปนผูซื้อก็ได
                                             
                                 บทบาทที่แตกตางกันดังกลาวในกระบวนการการบริโภค อาจจะเห็นไดจากตัวอยางเชน ใน


....................... 8
บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค



ครอบครัวหนึ่ง ลูกสาวคนโตเปนผูริเริ่มนําเสนอความคิดวา ควรจะสมัครเปนสมาชิกเคเบิลทีวีเพื่อ
รับชมรายการตาง ๆ ที่มีความหลากหลาย สวนลูกชายคนรองเปนผูมีอิทธิพลตอการตัดสินใจโดยให
เหตุผลชักจูงทุกคน ในที่สุดพอเปนผูตัดสินใจวาจะซื้อบริการเคเบิลทีวี และแมแสดงบทบาทเปนผูซื้อ
สวนผูใชในกรณีนี้อาจจะเปนสมาชิกทุกคนในครอบครัว โดยแตละคนอาจเลือกชมรายการเฉพาะที่
ตนเองใหความสนใจ

กรอบแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภค
ความหมายและองคประกอบของพฤติกรรม
          ในเชิงจิตวิทยาซึ่งเปนศาสตรที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย คําวา “พฤติกรรม (behavior)”
หมายถึง การกระทําของบุคคลซึ่งสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภทคือ พฤติกรรมภายนอก (overt
Behavior) และพฤติกรรมภายใน (covert Behavior) (Sundel & Sundel, 2004)
          1. พฤติกรรมภายนอก คือ การกระทําที่บุคคลอื่นสามารถสังเกตเห็นไดและวัดได และอาจ
แสดงออกไดทั้งในรูปแบบวัจนภาษา (verbal) และแบบอวัจนภาษา (nonverbal) เชน การพูด การ
หัวเราะ การรองไห การเดิน การซื้อสินคา
          2. พฤติกรรมภายใน หมายถึง การกระทําที่เกิดขึนภายในตัวบุคคลซึ่งบุคคลอื่นไมสามารถ
                                                            ้
สังเกตเห็นได เชน ความรูสึก ทัศนคติ ความเชื่อ การรับรู การคิด อยางไรก็ตาม สามารถวัด
พฤติกรรมแบบนี้ไดดวยเครื่องมือทางจิตวิทยา เชน แบบวัด แบบทดสอบ
          ทั้งพฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายในของบุคคล ตางมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน
อยางแนนแฟน กลาวคือ พฤติกรรมภายนอกมักเปนสิ่งทีสะทอนใหทราบถึงพฤติกรรมภายในของ
                                                              ่
บุคคล เชน เมื่อสังเกตเห็นบุคคลกําลังรองไห อาจสันนิษฐานไดวาบุคคลนั้นกําลังรูสึกเสียใจ ดังนั้น
หากไมสามารถที่จะใหบุคคลทําแบบทดสอบหรือรายงานดวยตนเองแลว การที่จะเขาใจพฤติกรรม
ภายในของบุคคลจําเปนตองศึกษาและอนุมาน (infer) จากพฤติกรรมภายนอกที่บุคคลนั้นแสดงออก
มา
          อยางไรก็ตาม พึงระวังวาการแปลความหมายจากพฤติกรรมภายนอกนั้น อาจเกิดความ
ผิดพลาดหรือไมตรงกับความเปนจริงก็ได ตัวอยางเชน ในกรณีที่สังเกตเห็นบุคคลกําลังรองไห แม
โดยทั่วไปแลว อาจสันนิษฐานไดวาบุคคลนั้นกําลังรูสึกเสียใจ แตก็อาจเปนไปไดวาบุคคลนั้นอาจกําลัง
รองไหดวยความดีใจหรือความปลาบปลื้มใจก็ได พฤติกรรมภายในในกรณีเชนนี้จึงเปนเพียงภาวะ
สันนิษฐานเทานั้น กลาวคือผูสังเกตไมรูจริงเพียงแตสันนิษฐานเอาจากพฤติกรรมภายนอก ดวยเหตุนี้

                                                                                                   9    ......................
พฤติกรรมผูบริโภค



                       หากตองการศึกษาพฤติกรรมภายนอกของบุคคล จึงควรจะสังเกตพฤติกรรมภายนอกหลาย ๆ แบบ
                       ทั้งในรูปแบบวัจนะ (verbal) และอวัจนะ (nonverbal) ควบคูกันไป

                       สาเหตุของพฤติกรรม
                              การที่บุคคลหนึ่งแสดงพฤติกรรมใด ๆ ออกมา ยอมตองมีสาเหตุที่กอใหเกิดพฤติกรรมนั้น
                       Lewin (1951) ไดเสนอวาพฤติกรรมของมนุษยเปนผลมาจากปฏิสัมพันธระหวางลักษณะสวนบุคคล
                       และสถานการณหรือสภาพแวดลอม โดยสามารถเขียนเปนสมการไดดังนี้

                                                                B = f (P, E)

                                B หมายถึง พฤติกรรมของบุคคล
                                P หมายถึง ลักษณะสวนบุคคล
                                E หมายถึง สภาพแวดลอม

                                จากสมการขางตน Lewin ไดอธิบายวาพฤติกรรมของมนุษยลวนแตเปนผลมาจากปฏิสัม-
                       พันธระหวางลักษณะสวนบุคคล (เชน การรับรู แรงจูงใจ ทัศนคติ หรือบุคลิกภาพ ฯลฯ) กับ
                       สภาพแวดลอม ซึ่งอาจจะเปนสภาพแวดลอมทางกายภาพ (physical environment) เชน ความหนาว
                       ความแออัด หรือความเงียบ หรือสภาพแวดลอมทางจิตวิทยา (psychological environment) เชน
                       วัฒนธรรม ประเพณี หรือบรรทัดฐานของกลุม ตัวอยางเชน การตัดสินใจซื้อสินคาอยางใดอยางหนึ่ง
                       บุคคลแตละคนจะมีการตัดสินใจที่แตกตางกัน เนื่องจากมีลักษณะสวนบุคคลและอยูในสถานการณที่
                       แตกตางกัน ผูที่มีลักษณะเปนตัวของตัวเองยอมมีการตัดสินใจซื้อสินคาตาง ๆ ที่สะทอนถึงความเปน
                       ตัวของตัวเองมากกวาผูที่มีลักษณะชอบตามแฟชั่น อยางไรก็ตาม การอยูในสถานการณที่สังคมมี
                                                
                       บรรทัดฐานวา “เดินตามผูใหญ หมาไมกัด” หรือการกระทําตามผูที่มีความอาวุโสกวาเปนสิ่งที่พึง
                       กระทํา อาจจะทําใหบุคคลที่มีลักษณะเปนตัวของตัวเอง มีการกระทําที่แสดงความเปนตัวของตัวเอง
                       นอยลงกวาผูที่อยูในสังคมที่ไมไดมีบรรทัดฐานดังกลาว
                                ดังนั้น การทําความเขาใจกับสาเหตุแหงพฤติกรรมของมนุษย จึงจําเปนตองพิจารณาทั้ง
                       ลักษณะสวนบุคคลและสภาพแวดลอมของบุคคลนั้น ดวยเหตุนี้ การศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคจึง
                       ควรสนใจทั้งปจจัยภายในตัวผูบริโภค อันไดแก การรับรู การเรียนรู ความตองการและแรงจูงใจ บุค-
                                                        
                       ลิกภาพ ทัศนคติ คานิยมและวิถีชีวิต รวมทั้งปจจัยภายนอกหรือสภาพแวดลอมของผูบริโภค อันไดแก

....................... 10

Weitere ähnliche Inhalte

Mehr von CUPress

9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 
9789740336419
97897403364199789740336419
9789740336419CUPress
 
9789740336402
97897403364029789740336402
9789740336402CUPress
 
9789740336334
97897403363349789740336334
9789740336334CUPress
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327CUPress
 
9789740336181
97897403361819789740336181
9789740336181CUPress
 
9789740336167
97897403361679789740336167
9789740336167CUPress
 
9789740336150
97897403361509789740336150
9789740336150CUPress
 

Mehr von CUPress (20)

9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 
9789740336419
97897403364199789740336419
9789740336419
 
9789740336402
97897403364029789740336402
9789740336402
 
9789740336334
97897403363349789740336334
9789740336334
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
 
9789740336181
97897403361819789740336181
9789740336181
 
9789740336167
97897403361679789740336167
9789740336167
 
9789740336150
97897403361509789740336150
9789740336150
 

9789740326922 consumer

  • 1. ตอนที่ 1 บทนํา 1 ......................
  • 2. ตอนที่ 1 บทนํา • แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ พฤติกรรมผูบริโภค • การวิจัยผูบริโภค ....................... 2
  • 3. บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค พฤติกรรมผูบริโภค : ความหมายและวัตถุประสงคของศาสตร ผูบริโภค: ประเภทและบทบาท กรอบแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภค • ความหมายและองคประกอบของพฤติกรรม • สาเหตุของพฤติกรรม • ปจจัยกําหนดพฤติกรรมของผูบริโภค  แบบจําลองกระบวนการการบริโภค • แบบจําลองของ Schiffman and Kanuk (2004) • แบบจําลองของ Blackwell, Miniard, and Engel (2006) • แบบจําลองแบบบูรณาการ ประโยชนของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค สรุป กรณีศึกษา : แนวโนมการบริโภคของคนไทยในอนาคตจะเปลี่ยนไป 3 ......................
  • 4. วัตถุประสงคของบทนี้ หลังจากศึกษาบทนี้แลว ผูอานสามารถ: อธิบายความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค บรรยายกระบวนการการบริโภค ระบุประโยชนของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค ....................... 4
  • 5. บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานเกียวกับ ่ พฤติกรรมผูบริโภค บริ การบริโภคนับวาเปนกิจกรรมที่มนุษยทุกคนกระทําเปนประจําทุกวัน นับตั้งแตวันแรกที่เกิด มาจนกระทั่งวันสุดทายของชีวต และเกิดขึ้นตลอดยี่สบสี่ชั่วโมงของการดําเนินชีวิตในแตละวัน เมื่อตื่น ิ ิ ขึ้นมาในตอนเชา บุคคลแตละคนเริ่มการบริโภคนับตั้งแตเทาสัมผัสกับพื้น หลังจากนั้น กิจกรรมการ บริโภคที่หลากหลายก็ดําเนินไปอยางตอเนื่อง จวบจนถึงเวลาเขานอนอีกครั้งหนึ่ง (Holbrook, 1985) การบริโภคของมนุษยครอบคลุมตั้งแตสินคาหรือบริการที่มีราคาไมกี่บาท จนถึงสินคาหรือบริการที่มี ราคาแพง และครอบคลุมสิ่งตาง ๆ หลากหลายชนิด ไมวาจะเปนสินคาที่จําเปนสําหรับการมีชีวิต อาทิ อาหาร น้ํา ยารักษาโรค และเสื้อผา จนถึงสินคาฟุมเฟอยตาง ๆ การบริโภคจึงนับไดวาเปนสวน 5 ......................
  • 6. พฤติกรรมผูบริโภค สําคัญของการดําเนินชีวิตของมนุษยทุกคน และอาจกลาวไดวารายจายสวนใหญของแตละบุคคลเปน  เรื่องเกี่ยวกับการบริโภคสินคาและบริการตาง ๆ เพื่อการดําเนินชีวิตประจําวัน ในประเทศไทย การ สํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ป พ.ศ. 2550 พบวา ครัวเรือนทั่วประเทศมีรายได เฉลี่ยเดือนละ 18,660 บาท และคาใชจายเฉลี่ยเดือนละ 14,500 บาท หรือคิดเปนรอยละ 77.7 ของ รายได โดยคาใชจายสูงสุดเปนคาอาหารและเครื่องดื่ม (รอยละ 33.0) รองลงมาเปนคาที่อยูอาศัย และเครื่องใชภายในบาน (รอยละ 20.1) คาใชจายดานการเดินทางและยานพาหนะ (รอยละ 18.2) และคาใชจายสวนบุคคล/เครื่องนุงหม/รองเทา (รอยละ 5.6) (สํานักงานสถิตแหงชาติ, 2551) ิ ดังนั้น การศึกษาเพื่อทําความเขาใจเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคจึงมีความสําคัญอยางยิ่ง เพราะจะทําใหทราบวาผูบริโภคมีกระบวนการตัดสินใจซื้อสินคาหรือบริการอยางไร มีการใชสินคา หรือบริการในลักษณะใด และในปริมาณหรือความถี่มากนอยเพียงไร นอกจากนั้น ยังทําใหทราบวามี ปจจัยใดบางทีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการบริโภคของบุคคล องคความรูดานพฤติกรรมผูบริโภคจึงมี ่ ประโยชนทั้งตอตัวผูบริโภค ตอผูผลิตสินคาหรือผูใหบริการ และตอหนวยงานที่เกี่ยวของกับผูบริโภค พฤติกรรมผูบริโภค : ความหมายและวัตถุประสงคของศาสตร พฤติกรรมผูบริโภค (consumer behavior) หมายถึง การกระทําของบุคคลที่เกี่ยวของกับ การตัดสินใจเลือก (select) การซื้อ (purchase) การใช (use) และการกําจัดสวนที่เหลือ (dispose) ของสินคาหรือบริการตาง ๆ เพื่อตอบสนองความตองการและความปรารถนาของตน (Solomon, 2009) พฤติกรรมเหลานี้สามารถอธิบายโดยละเอียดไดดังนี้ การตัดสินใจเลือก หมายถึง พฤติกรรมและกระบวนการทางจิตใจของผูบริโภคในการตัด- สินใจซื้อสินคาหรือบริการ โดยครอบคลุมพฤติกรรมตาง ๆ ตั้งแตการตระหนักถึงความตองการ การ คนหาขอมูล การประเมินทางเลือกตาง ๆ และการตัดสินใจซื้อ การซือ หมายถึง การดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งสินคาหรือบริการที่ผูบริโภคตองการ ตั้งแต ้ การเลือกแหลงที่จะซื้อและวิธีการจายเงินคาสินคาหรือบริการ การใช หมายถึง การที่ผูบริโภคนําสินคามาใชประโยชนตามที่มุงหวัง หรือการรับบริการจาก องคการธุรกิจ การกําจัดสวนทีเหลือ หมายถึง การนําสวนที่เหลือของผลิตภัณฑไปกําจัดทิ้ง โดยอาจกระทํา ่ ในรูปแบบตาง ๆ เชน การทิ้งในถังขยะ การนํากลับมาใชใหม (reuse) การนําไปผลิตใหม (recycle) ....................... 6
  • 7. บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค วัตถุประสงคของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค  การศึกษาดานพฤติกรรมผูบริโภคมีวัตถุประสงคที่สําคัญสี่ประการ ดังตอไปนี้คือ 1. เพือบรรยายพฤติกรรม (describe) คือ การบรรยายวามีพฤติกรรมอะไรเกิดขึ้นและมี ่ ลักษณะอยางไร หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือการตอบคําถามวา “มีพฤติกรรมใดเกิดขึ้นบาง และเกิดขึ้น อยางไร?” ตัวอยางเชน เพศชายและเพศหญิงมีพฤติกรรมการซื้อเสื้อผาแตกตางกันอยางไร หรือคน ในเมืองกับคนในชนบทนิยมชมรายการโทรทัศนแตกตางกันหรือไม อยางไร 2. เพือทําความเขาใจพฤติกรรม (understand) นอกจากจะสามารถบรรยายพฤติกรรมที่ ่ เกิดขึ้นไดแลว นักวิชาการยังตองการทราบถึงสาเหตุของการเกิดพฤติกรรมเหลานั้นอีกดวย ดังนั้น วัตถุประสงคขอนี้จึงเกี่ยวของกับคนหาสาเหตุตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอการแสดงพฤติกรรมของบุคคล หรือการพยายามตอบคําถามวา “พฤติกรรมเหลานั้นเกิดขึ้นเพราะเหตุใด?” ตัวอยางเชน การคนหา ปจจัยที่ทําใหคนในเมืองกับคนในชนบทนิยมชมรายการโทรทัศนที่แตกตาง 3. เพือทํานายพฤติกรรม (predict) ความเขาใจถึงสาเหตุและเงื่อนไขตาง ๆ ของการเกิด ่ พฤติกรรมแลว ทําใหนักวิชาการสามารถสรุปกฎเกณฑหรือสรางทฤษฎีที่ใชในการอธิบายพฤติกรรม ตาง ๆ ไดอยางชัดเจน และสามารถนําไปสูการทํานายพฤติกรรมในอนาคต กลาวอีกนัยหนึงก็คือ การ ่ ตอบคําถามวา “พฤติกรรมเหลานั้นจะเกิดขึ้นเมื่อไร ภายใตเงื่อนไขอะไร?” ตัวอยางเชน การทํานาย วาผูบริโภคจะจดจําสินคาไดอยางรวดเร็ว หากมีการโฆษณาสินคานั้นดวยความถี่บอยครั้ง และดวย รูปแบบการนําเสนอที่นาสนใจ 4. เพือควบคุมพฤติกรรม (control) การควบคุมในที่นี้มิไดหมายถึง การครอบงําหรือบังคับ ่ การกระทําของบุคคลอื่น แตหมายถึง การสราง จัดกระทํา หรือเปลี่ยนแปลงสภาวะบางประการโดย อาศัยความรูหรือทฤษฎีที่ไดรับการยอมรับแลว เพื่อทําใหเกิดผลลัพธที่นาปรารถนา หรือเพื่อปองกัน มิใหเกิดผลลัพธที่ไมพึงปรารถนา ตัวอยางเชน ความรูทางจิตวิทยาไดบงชี้วา วัยรุนมักมีการเลียน- แบบพฤติกรรมตาง ๆ ของนักแสดง นักรอง หรือนักกีฬาที่มีชื่อเสียง ดังนั้น การใชบุคคลทีมีชื่อเสียง ่ เหลานั้นเปนตัวแบบ จะทําใหสามารถเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพฤติกรรมของวัยรุนไดงายและรวด- เร็วมากขึ้น เนื่องจากพฤติกรรมผูบริโภคเปนสวนหนึ่งของพฤติกรรมมนุษยที่ไดรับอิทธิพลตาง ๆ ทั้งจาก ปจจัยดานจิตวิทยาซึ่งอยูภายในตัวบุคคลและปจจัยภายนอกดานสังคมและวัฒนธรรม ดังนั้น การ ศึกษาเพื่อทําความเขาใจพฤติกรรมของผูบริโภค จึงจําเปนตองอาศัยองคความรูตาง ๆ จากศาสตร หลากหลายสาขา เชน จิตวิทยา (psychology) สังคมวิทยา (sociology) และมานุษยวิทยา (an- 7 ......................
  • 8. พฤติกรรมผูบริโภค thropology) ดวยเหตุนี้ จึงอาจกลาวไดวาศาสตรดานพฤติกรรมผูบริโภคเปนผลจากการผสมผสาน องคความรูหลากหลายสาขาเขาดวยกัน ผูบริโภค: ประเภทและบทบาท นักวิชาการไดจาแนกผูบริโภคออกเปน 2 ประเภท ไดแก ผูบริโภคที่เปนบุคคล (personal ํ  consumer) และผูบริโภคที่เปนองคการ (organizational consumer) (Schiffman & Kanuk, 2007) โดยผูบริโภคที่เปนบุคคลจะซื้อสินคาและบริการเพื่อใชเอง หรือใชภายในครัวเรือน หรืออาจซื้อเพื่อ เปนของขวัญสําหรับผูอื่นในโอกาสตาง ๆ การบริโภคในลักษณะนี้จะมีผูบริโภคที่เปนบุคคลเปนผู บริโภคคนสุดทายเสมอ (end users or ultimate consumers) สวนผูบริโภคที่เปนองคการ อาจเปน องคการที่มุงหวังกําไรหรือองคการที่ไมมุงหวังกําไร องคการของรัฐ และสถาบันตาง ๆ องคการเหลานี้ มีการซื้อสินคา เครื่องมือ อุปกรณและบริการตาง ๆ เพื่อใชในการดําเนินงาน เชน การซื้อวัตถุดิบและ สวนประกอบตาง ๆ เพื่อใชในการผลิตสินคา สวนองคการที่ใหการบริการก็อาจซื้ออุปกรณที่จําเปน ตอการใหบริการ สวนองคการของรัฐก็อาจซื้อวัสดุ อุปกรณตาง ๆ เพื่อใหบริการแกประชาชน อยางไร ก็ตาม สําหรับหนังสือเลมนี้จะจํากัดขอบเขตของเนื้อหาไวเพียงแคผูบริโภคที่เปนบุคคลเทานั้น ดังที่ไดกลาวขางตนแลววา พฤติกรรมผูบริโภคเปนการกระทําของบุคคลที่เกียวของกับการ ่ ตัดสินใจเลือก การซื้อ การใช รวมทั้งการกําจัดสินคาหรือบริการเหลานั้นภายหลังการบริโภคแลว อยางไรก็ตาม อาจมีบุคคลหลายคนที่เขามาเกี่ยวของกับกระบวนการบริโภคดังกลาว และแตละคนก็ อาจมีบทบาททีแตกตางกันไป โดยอาจจําแนกบทบาทตาง ๆ ไดดังตอไปนี้ ่ 1. ผูริเริม (initiator) คือ บุคคลที่รับรูถึงความจําเปนหรือความตองการ เปนผูริเริ่มหรือ  ่ เสนอความคิดเกี่ยวกับความตองการสินคาหรือบริการอยางใดอยางหนึ่ง 2. ผูมอทธิพล (influencer) คือ บุคคลที่แสดงออกจะโดยตั้งใจหรือไมไดตั้งใจก็ตาม แตมี  ีิ อิทธิพลตอการตัดสินใจเลือก การซื้อ และการใชสินคาหรือบริการตาง ๆ 3. ผูตดสินใจ (decider) คือ บุคคลที่ตัดสินใจหรือมีสวนในการตัดสินใจวาจะซื้อหรือไม ซื้อ ั อะไร ซื้ออยางไร และซื้อที่ไหน 4. ผูซอ (purchaser) คือ บุคคลที่เปนผูซื้อสินคาหรือบริการ โดยที่ตนเองอาจไมไดเปนผูใช ื้ 5. ผูใช (user) คือ บุคคลที่ใชสินคาหรือบริการโดยตรง โดยอาจไมไดเปนผูซื้อก็ได  บทบาทที่แตกตางกันดังกลาวในกระบวนการการบริโภค อาจจะเห็นไดจากตัวอยางเชน ใน ....................... 8
  • 9. บทที่ 1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค ครอบครัวหนึ่ง ลูกสาวคนโตเปนผูริเริ่มนําเสนอความคิดวา ควรจะสมัครเปนสมาชิกเคเบิลทีวีเพื่อ รับชมรายการตาง ๆ ที่มีความหลากหลาย สวนลูกชายคนรองเปนผูมีอิทธิพลตอการตัดสินใจโดยให เหตุผลชักจูงทุกคน ในที่สุดพอเปนผูตัดสินใจวาจะซื้อบริการเคเบิลทีวี และแมแสดงบทบาทเปนผูซื้อ สวนผูใชในกรณีนี้อาจจะเปนสมาชิกทุกคนในครอบครัว โดยแตละคนอาจเลือกชมรายการเฉพาะที่ ตนเองใหความสนใจ กรอบแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภค ความหมายและองคประกอบของพฤติกรรม ในเชิงจิตวิทยาซึ่งเปนศาสตรที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย คําวา “พฤติกรรม (behavior)” หมายถึง การกระทําของบุคคลซึ่งสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภทคือ พฤติกรรมภายนอก (overt Behavior) และพฤติกรรมภายใน (covert Behavior) (Sundel & Sundel, 2004) 1. พฤติกรรมภายนอก คือ การกระทําที่บุคคลอื่นสามารถสังเกตเห็นไดและวัดได และอาจ แสดงออกไดทั้งในรูปแบบวัจนภาษา (verbal) และแบบอวัจนภาษา (nonverbal) เชน การพูด การ หัวเราะ การรองไห การเดิน การซื้อสินคา 2. พฤติกรรมภายใน หมายถึง การกระทําที่เกิดขึนภายในตัวบุคคลซึ่งบุคคลอื่นไมสามารถ ้ สังเกตเห็นได เชน ความรูสึก ทัศนคติ ความเชื่อ การรับรู การคิด อยางไรก็ตาม สามารถวัด พฤติกรรมแบบนี้ไดดวยเครื่องมือทางจิตวิทยา เชน แบบวัด แบบทดสอบ ทั้งพฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายในของบุคคล ตางมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน อยางแนนแฟน กลาวคือ พฤติกรรมภายนอกมักเปนสิ่งทีสะทอนใหทราบถึงพฤติกรรมภายในของ ่ บุคคล เชน เมื่อสังเกตเห็นบุคคลกําลังรองไห อาจสันนิษฐานไดวาบุคคลนั้นกําลังรูสึกเสียใจ ดังนั้น หากไมสามารถที่จะใหบุคคลทําแบบทดสอบหรือรายงานดวยตนเองแลว การที่จะเขาใจพฤติกรรม ภายในของบุคคลจําเปนตองศึกษาและอนุมาน (infer) จากพฤติกรรมภายนอกที่บุคคลนั้นแสดงออก มา อยางไรก็ตาม พึงระวังวาการแปลความหมายจากพฤติกรรมภายนอกนั้น อาจเกิดความ ผิดพลาดหรือไมตรงกับความเปนจริงก็ได ตัวอยางเชน ในกรณีที่สังเกตเห็นบุคคลกําลังรองไห แม โดยทั่วไปแลว อาจสันนิษฐานไดวาบุคคลนั้นกําลังรูสึกเสียใจ แตก็อาจเปนไปไดวาบุคคลนั้นอาจกําลัง รองไหดวยความดีใจหรือความปลาบปลื้มใจก็ได พฤติกรรมภายในในกรณีเชนนี้จึงเปนเพียงภาวะ สันนิษฐานเทานั้น กลาวคือผูสังเกตไมรูจริงเพียงแตสันนิษฐานเอาจากพฤติกรรมภายนอก ดวยเหตุนี้ 9 ......................
  • 10. พฤติกรรมผูบริโภค หากตองการศึกษาพฤติกรรมภายนอกของบุคคล จึงควรจะสังเกตพฤติกรรมภายนอกหลาย ๆ แบบ ทั้งในรูปแบบวัจนะ (verbal) และอวัจนะ (nonverbal) ควบคูกันไป สาเหตุของพฤติกรรม การที่บุคคลหนึ่งแสดงพฤติกรรมใด ๆ ออกมา ยอมตองมีสาเหตุที่กอใหเกิดพฤติกรรมนั้น Lewin (1951) ไดเสนอวาพฤติกรรมของมนุษยเปนผลมาจากปฏิสัมพันธระหวางลักษณะสวนบุคคล และสถานการณหรือสภาพแวดลอม โดยสามารถเขียนเปนสมการไดดังนี้ B = f (P, E) B หมายถึง พฤติกรรมของบุคคล P หมายถึง ลักษณะสวนบุคคล E หมายถึง สภาพแวดลอม จากสมการขางตน Lewin ไดอธิบายวาพฤติกรรมของมนุษยลวนแตเปนผลมาจากปฏิสัม- พันธระหวางลักษณะสวนบุคคล (เชน การรับรู แรงจูงใจ ทัศนคติ หรือบุคลิกภาพ ฯลฯ) กับ สภาพแวดลอม ซึ่งอาจจะเปนสภาพแวดลอมทางกายภาพ (physical environment) เชน ความหนาว ความแออัด หรือความเงียบ หรือสภาพแวดลอมทางจิตวิทยา (psychological environment) เชน วัฒนธรรม ประเพณี หรือบรรทัดฐานของกลุม ตัวอยางเชน การตัดสินใจซื้อสินคาอยางใดอยางหนึ่ง บุคคลแตละคนจะมีการตัดสินใจที่แตกตางกัน เนื่องจากมีลักษณะสวนบุคคลและอยูในสถานการณที่ แตกตางกัน ผูที่มีลักษณะเปนตัวของตัวเองยอมมีการตัดสินใจซื้อสินคาตาง ๆ ที่สะทอนถึงความเปน ตัวของตัวเองมากกวาผูที่มีลักษณะชอบตามแฟชั่น อยางไรก็ตาม การอยูในสถานการณที่สังคมมี  บรรทัดฐานวา “เดินตามผูใหญ หมาไมกัด” หรือการกระทําตามผูที่มีความอาวุโสกวาเปนสิ่งที่พึง กระทํา อาจจะทําใหบุคคลที่มีลักษณะเปนตัวของตัวเอง มีการกระทําที่แสดงความเปนตัวของตัวเอง นอยลงกวาผูที่อยูในสังคมที่ไมไดมีบรรทัดฐานดังกลาว ดังนั้น การทําความเขาใจกับสาเหตุแหงพฤติกรรมของมนุษย จึงจําเปนตองพิจารณาทั้ง ลักษณะสวนบุคคลและสภาพแวดลอมของบุคคลนั้น ดวยเหตุนี้ การศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคจึง ควรสนใจทั้งปจจัยภายในตัวผูบริโภค อันไดแก การรับรู การเรียนรู ความตองการและแรงจูงใจ บุค-  ลิกภาพ ทัศนคติ คานิยมและวิถีชีวิต รวมทั้งปจจัยภายนอกหรือสภาพแวดลอมของผูบริโภค อันไดแก ....................... 10