SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 25
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ตัวอย่าง เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
Example for physics atom
Ex.ในการวัดประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนตามวิธีของ
ทอมสัน อิเล็กตรอนวิ่งผ่านโลหะคู่ขนานที่ห่างกัน 1 cm
แล้วต่อกับความต่างศักย์ 350 V เพื่อจะให้อิเล็กตรอน
วิ่งเป็นเส้นตรงต้องเสริมด้วยสนามแม่เหล็ก 0.01 T ตั้ง
ฉากกับสนามไฟฟ้าเมื่อนำสนามไฟฟ้าออกอิเล็กตรอนจะ
วิ่งเป็นเส้นโค้งของวงกลมรัศมี 0.2 cm จงหาอัตราเร็ว
ของอิเล็กตรอน ,ค่า q/m ของอิเล็กตรอนและค่าความ
ต่างศักย์ที่ต่อระหว่างขั้วแคโทดกับขั้วแอโนด
วิธีทำ
หาอัตราเร็วของอิเล็กตรอน
จาก F = F
B
E
qvB = qE
v = V
Bd
วิธีทำ
หาค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน
q
v
จาก
=
m
BR
วิธีทำ
หาค่าความต่างศักย์ระหว่างขั้วแคโทดกับขั้วแอโนด
จาก E K = E P
1 mv2
= qV
2
2
v
=
V
2q/m
3

Ex.หยดน้ำมันมีความหนาแน่น 400 kg/m มี
-12 3
ปริมาตร 2.5 x 10 m ลอยนิ่งอยู่ในสนามไฟฟ้า
5
ซึ่งมีทิศทางลงในแนวดิ่งขนาดสม่ำเสมอ 4 x 10 N/C
จงหาชนิดและขนาดของประจุบนหยดน้ำมัน
วิธีทำ
F
E
E
mg

จาก FE = mg
qE = mg
mg
q =
E
Ex.จากการทดลองของมิลลิแกนพบว่าหยดน้ำมันมวล
-16
8 x 10 kg ระยะห่างระหว่างแผ่นโลหะเท่ากับ 0.8 cm
ถ้าหยดน้ำมันมีอิเล็กตรอนเกิน 10 ตัว แล้วหยดนำ้มันลอย
อยู่นิ่ง จงหาความต่างศักย์ระหว่างแผ่นโลหะมีค่าเท่าใด
วิธีทำ

จาก FE = mg
qE = mg
mgd
V =
Ne
Ex.จงหาความยาวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่
ทำให้อะตอมไฮโดรเจนอยู่ในสถานะกระตุ้นที่ 1
วิธีทำ
1 - 1 )
จาก
= R ( n2 n2
Lamda
i
f
71 1
= 1.097 x 10 ( 2 - 2)
1 2
ความยาวคลื่น = 121.54 nm
1
Ex.สเปกตรัมเส้นสว่างของอะตอมไฮโดรเจน เส้น
สว่างลำดับแรกที่เราเห็นชัดเจนมีความยาวคลื่นมาก
ที่สุดคือ 656 nm ในอนุกรมของบัลเมอร์เส้นสว่าง
ลำดับที่สองจะมีความยาวคลื่นประมาณเท่าไร
วิธีทำ
1 - 1 )
จาก
= R ( n2 n2
Lamda
i
f
71 1
1
= 1.097 x 10 ( 2 - 2 )
ลำดับแรก
656
2 3
7(1 1 )
1
ลำดับที่ 2
= 1.097 x 10 - 2 - -2
Lamda
3 4
ความยาวคลื่น = 486 nm
1
Ex.ถ้าต้องการให้อนุภาคแอลฟาวิ่งเข้าใกล้
นิวเคลียสของทองคำ(Au-79) ได้มากที่สุด
-14
1.58 x 10 m เราจะต้องใช้อนุภาคแอลฟา
ที่มีพลังงานกี่เมกะอิเล็กตรอนโวลต์
วิธีทำ
จาก E K = E P
= qV
qkQ(Au)
=
R
Ex.ในวันที่แดดจ้าพบว่ากำลังเฉลี่ยของแสงอาทิตย์ตกกระทบ
ผิวโลกมีค่า 990 w/m และความยาวคลื่นเฉลี่ยของแสงเป็น
500 nm ถ้าแผ่นสะท้อนแสงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านยาวด้าน
ละ 1 m วางอยู่บนพื้นโลก เราสามารถหาได้ว่าจำนวนโฟตอน
ที่ตกกระทบแผ่นสะท้อนแสงนี้ในเวลา 10 s มีค่ากี่โฟตอน
วิธีทำ
จาก E = nhf
P x t = nhf
nhc
=
ความยาวคลื่น
Ex.โฟตอนของแสงสีหนึ่งมีพลังงาน
1.5 eV จะมีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
วิธีทำ
จาก E = nhf
ความยาวคลื่น = hc/E
hc
=
eV
Ex.จากการทดลองปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก เมื่อ
ฉายแสงความยาวคลื่น 400 nm ไปยังแผ่นโลหะ
ปรากฏว่ามีอิเล็กตรอนหลุดออกมามีพลังงานจลน์
สูงสุด 0.5 eV จงหาความถี่ของแสงนี้, พลังงานของ
แสงนี้, ฟังก์ชันงานของโลหะ,และ ความถี่ขีดเริ่ม
วิธีทำ
หาความถี่จาก c = f x ความยาวคลื่น
3 x 10

8

f

= 400 nm x f
14

= 7.5 x 10 Hz
วิธีทำ
หาพลังงานจาก E = hf
-34

14

= 6.6 x 10 x 7.5 x 10
-19

E = 4.95 x 10 J
หาฟังก์ชันงานจาก

E

= W+E

แสง
k
-19
-19
4.95 x 10 = W + 0.5 x 1.6 x 10
-19

W = 4.15 x 10 J
หาความถี่ขีดเริ่มจาก W
= hf0
4.15 x 10

-19

-34

= 6.6 x 10 x f0
Ex.เมื่อฉายแสงอัลตราไวโอเลตความยาวคลื่น
250 nm ลงบนผิวแมกนีเซียม ปรากฏว่าต้องใช้
ศักย์หยุดหยั้ง 0.6 V จงหาความถี่ขีดเริ่มของ
แมกนีเซียม
วิธีทำ

จาก

Eแสง

= W + Ek

hf = W + 0.6 x 1.6 x 10

-19
Ex.ถ้าโลหะมีฟังก์ชันงาน 0.8 eV โฟตอนของ
แสงที่มีความยาวคลื่น 500 nm ปรากฏการณ์โฟ
โตอิเล็กทริกนี้จะทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากผิว
โลหะมีความเร็วสูงสุดเท่าใด
วิธีทำ
จาก

Eแสง =

W + Ek

hf = 0.8 x 1.6 x 10

-19

1mv2
+2
Ex.จากสมมติฐานของโบร์เกี่ยวกับอะตอมไฮโดรเจน
จงหาอัตราส่วนของรัศมีวงโคจรที่ 4 ต่อที่ 2 ,อัตราส่วน
ของอัตราเร็วเชิงเส้นในวงโคจรที่ 4 ต่อที่ 2 และ
อัตราส่วนพลังงานในวงจรที่ 4 ต่อที่ 2 ตามลำดับ
วิธีทำ
2

rn = a0n
v1
vn = n
E1
En = n2
-
Ex.พลังงานต่ำสุดของอิเล็กตรอนในอะตอม
ไฮโดรเจนคือ -13.6 eV ถ้าอิเล็กตรอนเปลี่ยน
สถานะจาก n = 3 ไปสู่สถานะ n = 2 จะให้
แสงที่มีพลังงานควอนตัมเท่าใด
วิธีทำ

จาก E n
E2
E3
E

E
_1
= 2
n
-13.6 eV
=
2
2
-13.6 eV
=
2
3
= I E3 - E2 I
Ex.เมื่อยิงอิเล็กตรอนเข้าไปในอะตอมของไฮโดรเจน
จากการทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์วัดศักย์กระตุ้นได้
10.21 V ,12.10 V ถ้าระดับพลังงานต่ำสุดของไฮโดรเจน
เท่ากับ -13.6 eV จากผลการทดลองนี้ จงหาระดับพลังงาน
ของสถานะกระตุ้นที่ 1 และ 2

วิธีทำ

E = E1 - E2
E 2 = E1 + 10.21 eV
E 2 = -13.6 eV + 10.21 eV
E 3 = -13.6 eV + 12.10 eV
Ex.การผลิตรังสีเอกซ์โดยให้อิเล็ตรอน
หยุดทันทีเมื่อชนเป้าปรากฏว่าได้รังสีเอกซ์
มีความยาวคลื่น 0.124 nm จงหาความ
ต่างศักย์ที่ใช้ต่อกับหลอดรังสีเอกซ์
วิธีทำ จาก

hc (y = ความยาวคลื่น)
ymin=
eV
-34
8
6.63 x 10 x 3 x 10
V =
-9
-19
1.6 x10 x 0.124x10
V = 10,025V
Ex.หลอดรังสีเอกซ์ มีความต่างศักย์ระหว่างแคโทด
กับแอโนด 100 kV จงหาพลังงานจลน์สูงสุดของ
อิเล็กตรอนในหน่วยอิเล็กตรอนโวลต์ ,ความยาวคลื่น
ต่ำสุดของรังสีเอกซ์ และความถี่สูงสุดของรังสีเอกซ์
วิธีทำ หาพลังงานจลน์สูงสุด
E k = Ep
5
5
E k = qV = e x10 V = 10 eV
หาความยาวคลื่นต่ำสุด
หาความถี่สูงสุดของรังสีเอกซ์
hc
c
ymin=
fmax =
eV
ymin
-19
8
8
6.63 x 10 x 3 x 10
ymin =
= 3 x 10 -12
fmax
-19
5
12.4 x10
1.6 x10 x10
Ex.ถ้าแสงมีความยาวคลื่น 600 nm เมื่อแสง
นี้แสดงสมบัติของอนุภาคจะมีโมเมนตัมเท่าใด
วิธีทำ
h (y = ความยาวคลื่น)
P =
y
-34
6.63 x 10
P=
-9
600 x10
Ex.จงหาความยาวคลื่นเดอบรอยล์ของ
อิเล็กตรอน ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยพลังงานจลน์ 10 eV
วิธีทำ
h
y =
(y = ความยาวคลื่น)
mv
-34
6.63 x 10
y =
-31
-19 1/2
(2 x9.1 x 10 x10 x 1.6 x 10 )
y = 3.9 x 10

-10

m
Ex.จงหาอัตราเร็วและความต่างศักย์ที่ใช้
เร่งอิเล็กตรอนนี้ ทำให้อิเล็กตรอนมี
ความยาวคลื่นของ เดอบรอยล์ 0.1 nm
วิธีทำ
h (y = ความยาวคลื่น)
y =
mv
-9
6.63 x 10-34
0.1 x 10 =
-31
9.1 x 10 v
6

v = 7.3 x 10 m/s
Ex.จงใช้หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบิร์ก
จงคำนวณหาค่าความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุดของ
พลังงานอิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานหนึ่งใน
-8
อะตอมเป็นเวลา 10 s
วิธีทำ

จาก

X

P >h

m

2

>h

v

t

E >

h
2 t

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 

Was ist angesagt? (20)

บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 

Andere mochten auch

เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาbenzikq
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอมthanakit553
 

Andere mochten auch (8)

Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
 
Key2 1
Key2 1Key2 1
Key2 1
 
Key2 5
Key2 5Key2 5
Key2 5
 
Key2 2
Key2 2Key2 2
Key2 2
 
Key2 3
Key2 3Key2 3
Key2 3
 
Key2 4
Key2 4Key2 4
Key2 4
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
 

Ähnlich wie Physics atom

Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนkrupatcharee
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนkrupatcharee
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 

Ähnlich wie Physics atom (20)

กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอน
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 

Physics atom