SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 194
Downloaden Sie, um offline zu lesen
BM624

 Derivatives and Corporate
    Risk Management

ดร.กิตติพันธ คงสวัสดิ์เกียรติ
ตัวอยางที่ 1

ปจจุบนเปนชวงตนเดือนกันยายนและทานตัดสินใจที่จะ
        ั
ซื้อรถยนตคนใหม คุณจึงทําการเลือกชนิดของรถที่
           ั
ตองการและตรงไปยังตัวแทนจําหนายใกลบาน และทํา
การเลือกรถไดตามที่ตองการทั้งราคา สี ขนาดเครื่องยนต
วงลอ ฯลฯ ทางตัวแทนจําหนายบอกวา หากทานสั่งซือรถ้
วันนีและวางเงินมัดจํา จะไดรบรถยนตคนดังกลาวภายใน
      ้                     ั          ั
3 เดือน
ตัวอยางที่ 1 ตอ

ถาในอีก 3 เดือนขางหนา ตัวแทนจําหนายนั้นได
ทําการลดราคารถยนตใหมทุกคัน 10% หรือ
ราคารถยนตจะมีราคาสูงขึ้น ก็จะไมมีผลตอ
สัญญาซื้อขายนี้ เพราะการซือขายจะทําตาม
                            ้
ราคาที่ตกลงกันไว
ตัวอยางที่ 1 ตอ

ขณะนี้คุณอยูใน สัญญาซื้อขายลวงหนา
              
(Forward Contract) แลว โดยที่คุณจะมี
สิทธิ (Right) และมีภาระ (Obligation) ที่
จะตองซื้อรถยนตในอีก 3 เดือนขางหนา
ตามที่ตกลงกันไว
Forward Contract
                        Rewards
Risks
   ตัวแทนจําหนายไม       ราคาของรถยนต
   สามารถสงมอบรถยนต     เพิ่มขึ้นในอนาคต
   ไดตามเวลา
   ตัวแทนจําหนายปด
   กิจการ
   ราคารถยนตลดลงใน
   อนาคต
ตัวอยางที่ 2

สมมติวาทานไดไปที่โชวรูมรถยนต และไดเห็นรถยนตที่
ตองการ ซึ่งมีราคา $20,000 (ราคานี้จะตองซื้อ ณ วันนี้
เทานั้น) แตคุณมีเงินสดไมเพียงพอ และหากทําการกูเงิน
จะตองใชเวลาอีกประมาณ 7 วันสิ่งที่คุณสามารถทําไดคือ
วางเงินดาวนและเขาสูสัญญาซื้อขายลวงหนา (Forward
                       
Contract)
ตัวอยางที่ 2 ตอ

หรืออีกทางเลือกหนึ่ง คุณอาจใหเงินตัวแทน
จําหนายไว $100 และใหเก็บรถยนตคันนี้ไวและ
คงราคานี้ไวเปนระยะเวลา 7 วัน และเงินจํานวน
$100 นี้จะเปนของตัวแทนจําหนายไมวาคุณจะ
ซื้อรถยนตคันนี้หรือไม
ตัวอยางที่ 2 ตอ

การทําเชนนี้เปนการเขาสูสญญาสิทธิ (Option
                            ั
Contract) และในกรณีนี้เรียกไดวาเปน Call
Option เพราะเปนสิทธิ (Right) ในการซื้อ
รถยนตในอนาคต แตไมใชภาระ (Obligation)
ในการซือรถยนต
        ้
ตัวอยางที่ 2 ตอ

ถาในชวงเวลา 7 วันนี้คุณสามารถหารถยนตเหมือน
คันดังกลาวไดจากตัวแทนจําหนายคนอื่นในราคา
$19,500 คุณก็ไมจําเปนตองทําตามสัญญาสิทธิ
(Option Contract) เพราะตนทุนของคุณจะอยูที่ 
$19,500 + $100 = $19,600 เทานั้น
ตัวอยางที่ 2 ตอ

ถาหากคุณไมสามารถหารถยนตคันดังกลาวได
ในราคาที่ถูกกวา $20,000 ตนทุนของคุณจะเปน
$20,000 + $100 = $20,100
และถาหากคุณตัดสินใจที่จะไมซอรถยนตคัน
                               ื้
ดังกลาว คุณจะสูญเงินเพียงแค $100 เทานั้น
Option Contract
Risk                      Rewards
   ตัวแทนจําหนายไม         คุณสามารถหารถยนต
  ยอมเก็บรถยนตไวให       ไดในราคาที่ถูกกวานี้
   คุณไมสามารถหา
  รถยนตไดในราคาที่ถูก
  กวานี้
ตัวอยางที่ 3

รถยนตคันดังกลาวที่คุณไดทําสัญญา Call Option
ไวนั้นเปนที่ตองการมากของตลาด ทําใหราคานั้น
สูงขึ้นไปเปน $22,000 และเพื่อนของคุณไดรับรูมาวา
คุณมีสัญญาดังกลาวที่จะซื้อรถยนตไดในราคา
$20,000 ในอีก 7 วันขางหนา อยู
ตัวอยางที่ 3 ตอ

หลังจากที่คุณไดไปทําเรื่องขอกูเงินจากธนาคารแลว
พบวาคุณไมสามารถขอเงินกูได ดังนั้นคุณจึง
ตัดสินใจที่จะขายสัญญาสิทธิ (Option) ดังกลาว
ใหแกเพื่อนคุณในราคา $200
กรณีนี้คุณสามารถทํากําไรได $100 หรือคิดเปน
100%
ทั้งสัญญาซื้อขายลวงหนา (Forward) และ
สัญญาสิทธิ (Option) นั้น เปนการสงมอบ
รถยนตในอนาคต (Future) ตามราคาที่ตก
ลงกันไวของสินทรัพยนั้น
ลักษณะของตราสารอนุพันธ
The Nature of Derivatives

  A derivative is an instrument whose value
  depends on the values of other more basic
  underlying variables
  ตราสารอนุพันธเปนเครื่องมือซึงมูลคาของตรา
                                  ่
  สารนั้นจะขึ้นอยูกับสินทรัพยที่อางอิงอยู
นิยามของตราสารอนุพันธ

 Derivatives มาจากคําวา Derive แปลวาการขึ้นอยูกับ
 และในคําภาษาไทย อนุ หมายความวา ตาม และ
 พันธ หมายความวา กอกําเนิด
 ดังนั้นตราสารอนุพันธ จึงมีความหมายวา ตราสารที่
 กอกําเนิดจาก หรือแปรผันตามสิ่งที่อางอิง
นิยามของตราสารอนุพันธ

 เปนสัญญาของคูสัญญาที่ตกลงจะกระทําอะไรในอนาคต
                  
 ใหอกฝงของคูสัญญา
     ี
 ตราสารทางการเงิน ที่มมูลคาอางอิงกับสินทรัพยอางอิง
                        ี
 (Underlying Assets) วาจะมีการสงมอบสินทรัพยนั้นใน
 อนาคต ตามจํานวน ราคา คุณภาพ ที่ตกลงกัน
สินคาหรือสินทรัพยที่สามารถนํามาอางอิงได

  เงินตราตางประเทศ
  พันธบัตร ตั๋วเงิน
  หุนสามัญ
  สินคาโภคภัณฑ
  สินทรัพยใด ๆ
ตัวอยางของตราสารอนุพนธ
                     ั
Examples of Derivatives

•Futures Contracts
•Forward Contracts
•Swaps
•Options
ตัวอยางตราสารอนุพันธ
  สัญญาจะซื้อจะขายบานและที่ดิน การทําสัญญาซื้อ
  ขายบานโดยทั่วไปผูซื้อจะวางเงินมัดจําจํานวนหนึ่ง
  และสัญญาวาจะมาทําการซื้อขายบนและที่ดินใน
  อนาคต ตามราคาที่ไดตกลงกันไว
  เมื่อผูซื้อมาชําระราคาใหแกผูขาย ผูขายก็จะโอน
  กรรมสิทธิ์ของบานนั้นใหแกผูซื้อ
ตัวอยางตราสารอนุพันธ

  หากผูซื้อไมมาทําตามสัญญา ผูขายก็จะยึดเงินมัดจํา
  ไป
  ดังนั้นสัญญาจะซื้อจะขายบานดังกลาว ก็เปนตราสาร
  อนุพันธแบบหนึ่ง โดยมีการตกลงกันในปจจุบัน ที่
  จะทําการซื้อขายบานในอนาคต โดยมูลคาของ
  สัญญาจะขึ้นอยูกับราคาบานและทีดินในขณะนั้น
                                   ่
ตราสารอนุพันธ : การลงทุน หรือ การพนัน

 ธุรกรรมของ ฟวเจอร จะมีลักษณะเปน
 Zero Sum Game คือ จะมีผูทไดรับเงิน
                               ี่
 กําไร ในจํานวนที่เทากับผูที่จายเงินหรือผูที่
                           
 ขาดทุน (ทั้งนี้สมมติวาไมมีตนทุนในการ
                                  
 ซื้อขาย)
ตลาดตราสารอนุพนธ
              ั
Derivatives Markets
 ตลาดที่มีระเบียบ (Exchange traded)
   ตลาดแบบมีระเบียบ หรือตลาดทีมีสถานที่ซื้อขายแนนอน จะมีการ
                                  ่
   ซื้อขายใน Floor หรือมักจะเรียกวา Open-Outcry
   System แตปจจุบันทั่วโลกกําลังเปลี่ยนแปลงตลาดมาเปน
   ระบบอิเล็คทรอนิกสมากขึ้น
   สัญญาที่ทําการซื้อขายจะตองมีมาตรฐาน และไมมีความเสี่ยงในการ
   ชําระราคา
ตลาดตราสารอนุพนธ
              ั
Derivatives Markets
 ตลาด OTC :Over-the-counter (ตลาดตอรอง)
   เปนการซื้อขายผานระบบอินเตอรเน็ต หรือทาง
   โทรศัพท ผานทางสถาบันการเงิน บริษท หรือ
                                      ั
   ผูจัดการกองทุน
   สัญญาไมเปนมาตรฐาน และมีความเสี่ยงในการชําระ
   ราคาอยูบาง
Size of OTC and
                   Exchange Markets
    240
           Size of Market ($
    220
                trillion)
    200
    180
    160
    140
                                                                 OTC
    120
                                                                 Exchange
    100
     80
     60
     40
     20
      0
      Jun-98      Jun-99     Jun-00   Jun-01   Jun-02   Jun-03    Jun-04


Source: Bank for International Settlements. Chart shows total principal amounts
for OTC market and value of underlying assets for exchange market
การใชตราสารอนุพันธในปจจุบัน
Ways Derivatives are Used
 เพื่อปองกันความเสี่ยง (To hedge risks)
 เพื่อการเก็งกําไร (To speculate: take a view on the future
 direction of the market)
 เพื่อการทํากําไรในการทําอาบิทราจ (To lock in an
 arbitrage profit)
ประโยชนของการใชตราสารอนุพันธ

 การนําตราสารอนุพันธไปใชในการสะทอนราคาใน
 อนาคต (Price Discovery)
    การมีตราสารอนุพันธจะทําใหเราทราบถึงราคาใน
    อนาคตวา ราคาสินคาที่อางอิงในตราสารอนุพันธนั้น
    จะเปนเชนไร เพื่อสามารถวางแผนไดวาจะผลิตสินคา
    หรือสินทรัพยนั้นหรือไม
ประโยชนของการใชตราสารอนุพันธ

 การนําตราสารอนุพันธไปถัวกับความเสี่ยง (Hedging)
    การนําตราสารอนุพันธไปถัวกับความเสี่ยง เปนวิธีการ
   ในการปองกันความเสี่ยงอีกวิธีหนึ่ง คือ หากบริษัททํา
   การสงออกสินคาตางประเทศ บริษัทก็สามารถทําการ
   ขายเงินตราตางประเทศลวงหนาได เพื่อเปนการ
   ปองกันความเสี่ยง
ประโยชนของการใชตราสารอนุพันธ

 การนําตราสารอนุพันธไปเก็งกําไร (Speculation)
    คูคาในตราสารอนุพันธนั้น ฝายหนึ่งอาจเปนฝายที่
   ตองการใชตราสารอนุพันธในการปองกันความเสี่ยง
   แตคูคาอีกฝายหนึ่งอาจเปนผูรับความเสี่ยงแทน โดย
   การคาดการณถงการเปลี่ยนแปลงของราคาของ
                    ึ
   สินทรัพยนั้นในอนาคต
สัญญาซือขายลวงหนา
       ้
Forward Contracts

 Forward contracts เปนสัญญาที่มีลกษณะเหมือนกับ
                                   ั
 Futures contracts แตกตางกันที่ Forward contracts
 นั้นจะทําการซื้อขายที่ Over-the-counter market
 เทานั้น
 Forward contracts มักจะใชทําการซื้อขายเงินตรา
 ตางประเทศและอัตราดอกเบี้ยเทานัน   ้
Forward Contract
 เปนขอตกลงระหวางผูซื้อและผูขายในการตกลงสัญญาวา
 จะซื้อจะขาย โดยมีการกําหนดราคาและวันสงมอบไว
 ลวงหนา พรอมทั้งระบุถึงเงื่อนไขตาง ๆ เชน สถานทีสง
                                                    ่
 มอบ ฯลฯ
 สัญญา Forward จะมีลักษณะเปน Customized
 เฉพาะเจาะจงสําหรับผูซื้อและผูขาย
Forward Contract
 สัญญาซื้อขายชนิดนี้ ในตลาดการเงิน มักจะเกิดขึ้นโดย
 ธนาคาร บริษัทวาณิชธนกิจ รัฐบาล หรือองคกรใหญ ๆ
 โดยทําการซื้อขายหลักทรัพย เงินตราตางประเทศ สินคา
 อุปโภคบริโภค อัตราดอกเบี้ย เปนการลวงหนา
ลักษณะโดยทั่วไปของ ฟวเจอรส และ ฟอรเวิรด

  สัญญาทีมีการตกลงกันระหวางคูสัญญาสองฝาย
          ่
  โดยฝายหนึ่งเปนผูซื้อ และอีกฝายหนึ่งเปนผูขาย
  สินทรัพยอางอิง (Underlying Assets) ตามราคา
  ที่ตกลงกันในอนาคต
ลักษณะโดยทั่วไปของ ฟวเจอรส และ ฟอรเวิรด

  ผูจะซื้อจะมีภาระหนาที่ผูกพันที่จะตองรับมอบ
  สินคาและชําระราคาในอนาคต ผูจะขายมีหนาที่
  ตองสงมอบสินคาและชําระเงินตามทีไดตกลง
                                        ่
  ไว ในวันที่ทําสัญญา เมื่อครบกําหนดอายุใน
  อนาคต (Maturity Date หรือ Delivery Date)
Foreign Exchange Quotes for GBP
June 3, 2003 (USD/GBP)
                     Bid     Offer
      Spot         1.6281   1.6285

 1-month forward   1.6248   1.6253

 3-month forward   1.6187   1.6192

 6-month forward   1.6094   1.6100
Forward Price

 Forward price เปนราคาที่ใชในการสงมอบ
 สินคาตามสัญญาที่ไดทําการตกลงกันไวตั้งแต
 ปจจุบัน ซึ่ง Forward Price ของสัญญาที่มอายุ ี
 ไมเทากันนั้น ก็ไมจาเปนที่จะตองมีราคาที่
                      ํ
 เทากัน
Terminology

 Long position เปนการแสดงถึงสถานะ
 ของการตกลงซื้อ
 Short position เปนการแสดงถึง
 สถานะของการตกลงขาย
ตัวอยาง

วันที่ 3 มิถุนายน 2003 มีบริษัทหนึ่งเขาสูสัญญา Long
Forward Contract เพื่อทําการซื้อ £1,000,000
ในอีก 6 เดือนขางหนาที่อัตราแลกเปลี่ยน USD1.6100/ £
ดังนันบริษัทดังกลาวจะตองทําการจายเงิน US$1,610,000
     ้
สําหรับการซื้อเงิน £1 million ณ วันที่ 3 ธันวาคม 2003
สัญญาดังกลาวจะมีผลตอบริษัทนีอยางไร?
                                ้
Profit from a
Long Forward Position
       Profit



                    Price of Underlying
                         at Maturity, ST
                K
Profit from a
Short Forward Position
       Profit



                    Price of Underlying
                        at Maturity, ST
                K
สัญญาซือขายลวงหนา
       ้
Futures Contracts
 เปนสัญญาที่จะทําการซื้อหรือขายสินทรัพยใด ตามราคา
 และระยะเวลาทีกําหนด
                ่
 มีลักษณะเหมือนกับสัญญาประเภท forward contract
 แตสัญญา forward contract ทําการซื้อขายในตลาด OTC
 แตสัญญา futures contract นั้นจะทําการซื้อขายในตลาด
 แบบ exchange trade (ตลาดรอง) เทานั้น
Exchanges Trading Futures
 Chicago Board of Trade
 Chicago Mercantile Exchange
 LIFFE (London)
 Eurex (Europe)
 BM&F (Sao Paulo, Brazil)
 TIFFE (Tokyo)
 ฯลฯ
ตัวอยางการซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนา
Examples of Futures Contracts
    buy 100 oz. of gold @ US$400/oz. in
    December (NYMEX)
    sell £62,500 @ 1.5000 US$/£ in March
    (CME)
    sell 1,000 bbl. of oil @ US$20/bbl. in
    April (NYMEX)
1. Gold: An Arbitrage Opportunity?

สมมติวา:
ราคาปจจุบันของทองคําเทากับ US$300 และราคาซื้อขาย
  ลวงหนา 1 ป (forward price) ของทองคํามีราคาเทากับ
  US$340 แตอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 1 ป ของเงินดอลลาร
  สหรัฐมีอตราเทากับ 5% ตอป
           ั
ผูลงทุนจะมีโอกาสในการทําอาบิทราจหรือไม?
2. Gold: Another Arbitrage
Opportunity?
สมมติวา:
ราคาปจจุบันของทองคําเทากับ US$300 และราคาซื้อขาย
  ลวงหนา 1 ป (forward price) ของทองคํามีราคาเทากับ
  US$300 แตอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 1 ป ของเงินดอลลาร
  สหรัฐมีอตราเทากับ 5% ตอป
           ั
ผูลงทุนจะมีโอกาสในการทําอาบิทราจหรือไม?
The Forward Price of Gold
กําหนดให spot price ของทองคํา คือ S และ forward price
   ตามสัญญาที่จะสงมอบใน T ป คือ F, ดังนั้น
                     F = S (1+r )T
   ในขณะที่ r คืออัตราผลตอบแทนทีปราศจากความเสี่ยง
                                     ่
   ในระยะเวลา 1 ป ดังนั้นจากตัวอยาง S = 300, T = 1, and r
   =0.05 จึงทําใหราคา Forward Price มีคาเทากับ
                   F = 300(1+0.05) = 315
1. Oil: An Arbitrage Opportunity?

สมมติวา:
ราคาปจจุบันของน้ํามันมีราคาเทากับ US$19 ราคาในอนาคตอีก 1
    ปขางหนาของน้ํามันมีราคา US$25 อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 1 ป
    ของเงินดอลลารสหรัฐ มีอตราเทากับ 5% ตอป มีคาใชจายใน
                              ั
    การเก็บรักษาน้ํามันดังกลาว 2% ตอป
ผูลงทุนจะมีโอกาสในการทําอาบิทราจหรือไม?
2. Oil: Another Arbitrage
Opportunity?
สมมติวา:
ราคาปจจุบันของน้ํามันมีราคาเทากับ US$19 ราคาในอนาคตอีก 1
    ปขางหนาของน้ํามันมีราคา US$16 อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 1 ป
    ของเงินดอลลารสหรัฐ มีอตราเทากับ 5% ตอป มีคาใชจายใน
                              ั
    การเก็บรักษาน้ํามันดังกลาว 2% ตอป
ผูลงทุนจะมีโอกาสในการทําอาบิทราจหรือไม?
ออปชัน (Option)

เปนสัญญาที่ผูถอ Option มีสิทธิจะซื้อหรือขาย สินทรัพย
                 ื
อางอิงจากผูออกออปชันนั้นในราคาและระยะเวลาที่
กําหนด
ออปชัน ผูซื้อ (ถือ) จะเปนผูมีสทธิในการเลือกวาจะซื้อ
                                 ิ
หรือขายตามสัญญาหรือไม เพราะผูซื้อไดจายเงินคา
Premium ใหแกผูขายในวันทําสัญญา
ออปชัน (Options)
 Call option เปนสิทธิในการซื้อสินทรัพยใดๆ
 ในระยะเวลาและราคาที่กาหนด (the strike
                        ํ
 price)
 Put option เปนสิทธิในการขายสินทรัพยใดๆ
 ในระยะเวลาและราคาที่กาหนด (the strike
                      ํ
 price)
American v.s. European Options

 An American option เปนสัญญาสิทธิที่
 สามารถทําการซื้อหรือขายตามสัญญา (exercise)
 ไดตลอดเวลาตังแตวันที่ถอสัญญาไปจนถึงวันครบ
               ้         ื
 กําหนดตามสัญญา
 A European option เปนสัญญาสิทธิที่
 สามารถทําการซื้อหรือขายตามสัญญา (exercise)
 ได ณ วันที่ครบกําหนดตามสัญญาเทานั้น
Intel Option Prices (May 29, 2003;
Stock Price = 20.83)
Strike   June   July   Oct    June   July   Oct
Price    Call   Call   Call    Put   Put    Put


20.00    1.25   1.60   2.40   0.45   0.85   1.50


22.50    0.20   0.45   1.15   1.85   2.20   2.85
Exchanges Trading Options
 Chicago Board Options Exchange
 American Stock Exchange
 Philadelphia Stock Exchange
 Pacific Exchange
 LIFFE (London)
 Eurex (Europe)
 ฯลฯ
Options v.s. Futures/Forwards

 A futures/forward contract gives the
 holder the obligation to buy or sell at
 a certain price (คูสัญญาจะตองทําตามสัญญา)
 An option gives the holder the right to
 buy or sell at a certain price (ผูซื้อ
 option จะเปนผูมีสิทธิเลือกวาจะทําตามสัญญานันหรือไม)
                                               ้
Types of Traders

  Hedgers
  Speculators
  Arbitrageurs
Hedging
 บริษัทในประเทศไทยทําการสั่งซื้อสินคาจากตางประเทศ และตองชําระ
 เงินเปนเงินจํานวน US$10 ลาน ในอีก 3 เดือนขางหนา บริษัทจึงทําการ
 ตัดสินใจที่จะทําการ Long Position (ซื้อ) สัญญาซื้อดอลลารลวงหนา
 (Forward contract)
 ผูลงทุนถือหุนสามัญบริษัท Microsoft 1,000 หุน ซึ่งปจจุบันมีราคา
 US$28 ตอหุน ผูลงทุนสามารถทําการปองกันความเสี่ยงไดโดยการขาย
 ลวงหนา (Put option) ที่ราคา US$27.50 โดยมีคาสัญญา (Premium) หุน
 ละ 1 บาท
Value of Microsoft Shares with and
without Hedging
      40,000         Value of
                    Holding ($)
      35,000

                                                          No Hedging
      30,000                                              Hedging


      25,000

                                       Stock Price ($)
      20,000
               20         25      30        35       40
Speculation
 นักลงทุนมีเงิน US$4,000 เพื่อที่จะลงทุนในหุนสามัญของ
 Amazon.com ซึ่งคาดวาราคาหุนสามัญดังกลาวจะมีราคาสูงขึ้น
 ในอีก 2 เดือนขางหนา แตปจจุบันราคาหุนสามัญอยูที่ US$40
                                                  
 ตอหุน และราคาของ Call Option ระยะเวลา 2 เดือน มีสิทธิที่จะ
 ซื้อหุนสามัญดังกลาวไดในราคาหุนละ US$45 และมีคาสัญญา
 (Premium) US$2
 นักลงทุนจะมีกลยุทธในการลงทุนนี้อยางไร?
Arbitrage

 หุนสามัญมีราคา £100 ใน London และมีราคา
 US$172 ใน New York
 อัตราแลกเปลี่ยนปจจุบันเทากับ 1.7500
 โอกาสในการทําอาบิทราจ เปนอยางไร?
ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ

ตลาด Option คาดวามีมาตังแตสมัยโบราณ แต
                        ้
หลักฐานที่ชัดเจนพบวา มีการเก็งกําไรจากราคาดอก
ทิวลิป ในประเทศเนเธอรแลนด ในศตวรรษที่ 17
แตในชวงแรกนั้นไมมีการควบคุมความเสี่ยงจากการ
ซื้อขาย
ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ

จึงเกิดการผิดสัญญาในการสงมอบ และการชําระราคา
ทําใหเกิดความเสียหายจํานวนมาก และการซื้อขายใน
ระบบนี้จึงเลิกไป
ตอมาในศตวรรษที่ 19 การซื้อขายดังกลาวเกิดขึ้นอีก
ครั้งในประเทศ อังกฤษและสหรัฐอเมริกา แตเปนการซื้อ
ขายในระบบตอรองนอกตลาด
ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ

จนกระทั่งป ค.ศ. 1973 Chicago Broad Option
Exchange (CBOE) ไดจัดตั้งขึ้น เริมมีการซื้อขาย
                                  ่
Call Option ของหุนสามัญ
                  
และป ค.ศ. 1977 เริ่มมีการซื้อขาย Put Option
ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ

ตอมาในป ค.ศ. 1983 ไดเริ่มใหมีการซื้อขาย
Index Option (ออปชันของดัชนีหลักทรัพย) ซึ่ง
ไดใช CBOE 100 Index (ปจุบัน คือ S&P 100)
เปนตัวแปรอางอิง
ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ

สัญญาอนุพันธประเภท Forward เริ่มตนขึ้นในศตวรรษที่
17 ในประเทศญี่ปุน โดยเจาของนาขาว ในเมืองโอซากา
ประเทศญี่ปุน ผูเ ก็บคาเชานาเปนเมล็ดขาวไดคํานึงถึง
ความไมแนนอนของราคาขาว จึงสงขาวไปเก็บไวในยุง
ขาวในเมืองแลวทําตั๋วขาว (Rice Ticket) เพื่อเปนสัญญา
ใหผถือตั๋วมีสทธิที่จะรับขาวในอนาคต ตามจํานวนและ
    ู        ิ
คุณภาพที่ระบุ ดังราคาที่ตกลงกัน
ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ
จึงทําใหเจาของที่นาไดรับรายไดที่คงที่ และพอคาขาวที่ Yodoya
Rice Market มีสินคาที่จะขาย (Supply) เพียงพอและมีโอกาสใน
การทํากําไรจากการขายตั๋วขาว
ความสามารถในการทํานายราคาในอนาคตมาจากผูปลอยเงินกู 
จากตระกูล Honma ชื่อ Munehisha โดยการจดบันทึกการ
เปลี่ยนแปลงของราคา ซึ่งตอมาพัฒนามาเปน Candlestick
Method ตนตํารับของ Technical Analysis
Candlestick Method
           ถาราคาปดต่ํากวาราคาเปด
           ของวันนั้น จะมีสีแดงหรือดํา
           ใน Candle
           ถาราคาปดสูงกวาราคาเปดใน
           วันนั้น จะมีสีขาวหรือ
           ชองวางใน Candle
ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ

ตอมาศูนยซื้อขายที่จัดตั้งขึนอยางเปนทางการเกิดขึ้นในป
                             ้
1848 คือ Chicago Board of Trade (CBOT) จากนั้น 3 ป
ตอมา การซื้อขาย Futures Contract
 ป ค.ศ. 1919 มีการจัดตั้ง Chicago Mercantile Exchange
(CME) เพื่อซื้อขายสัญญา Futures ทางการเงิน
รูปแบบของตราสารอนุพันธ
                               ตราสารอนุพนธ
                                         ั

        สัญญาซื้อขายลวงหนา                             สิทธิเรียกรอง

Exchange                OTC                    Exchange                      OTC
  Trade                                         Trade


-Futures             -Forward                  -Option                    -Option
-Swap                -Swap                     -Warrant                   -Warrant
                                                                          -Exotic Option
กลไกการซื้อขายตราสารอนุพันธ

การซื้อขายตราสารอนุพันธสามารถทําได 2 รูปแบบ
   การซื้อขายกับคูคาโดยตรงในตลาดตอรอง
                    
  (Dealer/OTC)
   การซื้อขายผานตลาดทีมีการจัดตั้งอยางเปน
                        ่
  ทางการ
กลไกการซื้อขายตราสารอนุพันธ
การซื้อขายในตลาดทีมระเบียบจะเปนการซื้อขายผาน
                    ่ี
ระบบซื้อขาย อาจเปนระบบ Electronic หรือ Open
Outcry ก็ได โดยมีการเสนอซื้อและเสนอขาย เชนเดียวกับ
ตลาดหลักทรัพย เมื่อมีราคาตกลงกันได ก็จะมีการจับคู
คําสั่งซื้อขายขึ้น
แตการชําระราคาและการสงมอบนั้น จะยังไมทําใน
ปจจุบัน
Futures Contracts

 มีการกําหนดสินทรัพยอางอิง (Underlying Assets) ที่
 จะทําการซื้อขายลวงหนาไดหลายชนิด
 ซื้อขายในตลาดแบบมีระเบียบ (Exchange traded)
Futures Contracts
 มีลักษณะเฉพาะที่จะตองระบุใหทราบ
     สินทรัพยอะไรที่สามารถทําการสงมอบได
     การสงมอบสินทรัพยนั้นจะกระทําที่ใด
     และสงมอบสินทรัพยเมื่อใด
 มีการคํานวณกําไรขาดทุนทุกวัน (Settled daily)
(มารจิ้น) Margins
 Margin เปนเงินสดหรือหลักทรัพยในความตองการของตลาด ที่
 ไดนํามาวางเปนหลักประกันของผูลงทุนในการลงทุน โดยนํา
 เงินดังกลาวมาวางไวที่นายหนาคาตราสารอนุพันธ
 การคํานวณยอดเงินใน Margin account จะมีการปรับยอดตาม
 กําไรขาดทุนทุกวัน (Daily settlement)
 Margins เปนการเรียกเก็บไวเพื่อการปองกันความเสี่ยงจากการ
 สูญเสีย อันเนืองมาจากการผิดสัญญา
               ่
ความแตกตางจากตลาดหลักทรัพย

 การเขาซื้อหุน ผูลงทุนจะเปนเจาของหุน จนกวาจะมี
 การขายหุน ผูที่ขายหุนจะตองมีหุนในมือ กอนที่จะ
 ทําการขายหุน และไมสามารถขายหุนไดเกินกวา
 จํานวนหุนที่มีอยูไมได
ความแตกตางจากตลาดหลักทรัพย
 แตการซื้อขายตราสารอนุพันธ เปนการทําสัญญา
 ระหวางกัน การทําสัญญาจึงสามารถทําไดอยางไม
 จํากัด (หากมีผูที่ตองการจะทําสัญญาไมจํากัด
                     
 จํานวน)
 การซื้อตราสารอนุพันธ จะมี ฐานะซื้อ (Long
 Position) หากขายตราสารอนุพันธ จะมี ฐานะขาย
 (Short Position)
ตัวอยางของ Futures Trade
 ผูลงทุนทําสัญญาซื้อ (long position) สัญญาซื้อขาย
 ทองคําลวงหนา (Gold futures contracts) ในวันที่ 5
 มิถุนายน
     ขนาดของสัญญา (contract size) คือ 100 oz.
     ราคาซื้อในอนาคต (futures price) คือ US$400
ตัวอยางของ Futures Trade (ตอ)
    การวางเงินประกันเริ่มแรก (initial margin
   requirement) คือ US$2,000/สัญญา
    การรักษาระดับเงินประกันขั้นต่ํา
   (maintenance margin) คือ US$1,500/สัญญา
ตัวอยางการคํานวณ Margin Balance ตาราง 2.1 หนา 28

  การซื้อ (long position) ของสัญญาซื้อขายลวงหนา
  ทองคํา (Gold futures contract) จํานวน 2 สัญญา ซึ่ง
  ตองวางเงินประกันเริ่มแรก $2,000 หรือรวมกัน
  เทากับ $4,000 และตองรักษาระดับของเงินประกัน
  ขั้นต่ําอยูในวงเงิน $1,500 และรวมกันเทากับ $3,000
ตัวอยางการคํานวณ Margin Balance ตาราง 2.1 หนา 28
  ผูลงทุนไดทําการซื้อสัญญาซื้อขายลวงหนาฉบับนี้ในวันที่
  5 มิถนายน ที่ราคา $400 และปดสถานะของสัญญา วันที่
        ุ
  26 มิถุนายน ทีราคา $392.30
                 ่
  เมื่อใดก็ตามทีมลคาของเงินในบัญชี Margin นันต่ํากวา
                ู่                              ้
  ระดับเงินประกันขันต่ํา (maintenance margin) ผูลงทุนจะ
                     ้
  ถูกเรียกใหนําเงินมาลงทุนเพิ่ม (margin call) จนมีเงิน
  เทากับจํานวน เงินประกันเริมแรก (initial margin)
                             ่
ตัวอยางการคํานวณ Margin Balance ตาราง 2.1 หนา 28
                                       Daily    Cumulative   Margin
                            Futures    Gain        Gain      Account Margin
                             Price    (Loss)     (Loss)      Balance  Call
                      Day   (US$)     (US$)       (US$)       (US$)  (US$)

                            400.00                           4,000
                      5-Jun 397.00      (600)       (600)    3,400     0
                       .       .         .          .           .      .
                       .       .         .          .           .      .
                       .       .         .          .           .      .
                     13-Jun 393.30      (420)     (1,340)    2,660 + 1,340 = 4,000
                        .      .         .           .          .       .
                        .      .         .           .          .
                        .      .         .           .          .       .  < 3,000
                     19-Jun 387.00    (1,140)     (2,600)    2,740 + 1,260 = 4,000
                        .      .         .           .          .       .
                        .      .         .           .          .       .
                        .      .         .           .          .       .
                     26-Jun 392.30       260      (1,540)    5,060     0

 ตาราง 2.1 หนา 28
ลักษณะสําคัญบางประการของ Futures

 จะมีการปรับราคาตามราคาตลาดทุกวัน
 การปดสถานะของสัญญาซื้อขายลวงหนานั้น
 สามารถทําไดโดยการลงทุนกลับอีกขางหนึ่งในเวลา
 เดียวกัน
 สัญญาสวนใหญจะปดสถานะกอนสิ้นกําหนด
 ระยะเวลาตามที่กาหนดไวในสัญญา
                ํ
Collateralization in OTC Markets
 ปจุบนการซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนาในตลาด
      ั
 OTC นั้น จะมีการเรียกหลักประกันเชนเดียวกับการ
 ซื้อขายใน Exchanged Trade
 วิธีการในการปรับราคาตามราคาตลาดนั้น ก็มีการ
 กระทําเชนเดียวกันกับFutures contract คือ อาจจะมี
 การปรับราคมทุกวัน หรือทุกสัปดาหเปนตน
Futures Prices for Gold on Feb 4,
2004: Prices Increase with Maturity
                                                   (a) Gold

                                408
                                407
     Futures Price ($ per oz)




                                406
                                405
                                404
                                403
                                402
                                401
                                                       Contract Maturity Month
                                400
                                399
                                398
                                  Feb-04 Apr-04 Jun-04 Aug-04 Oct-04 Dec-04
Futures Prices for Oil on February 4,
2004: Prices Decrease with Maturity
                                                   (b) Brent Crude Oil

                                      30
       Futures Price ($ per barrel)




                                      29

                                      28

                                      27

                                      26

                                                                Contract Maturity Month
                                      25

                                      24
                                      Mar-04 May-04 Jul-04 Sep-04 Nov-04 Jan-05
การสงมอบ Delivery
 ถาสถานะของ futures contract ไมไดปดสถานะลง
 กอนครบกําหนดอายุตามสัญญา จะเกิดการสงมอบสินทรัพย
 ตามสัญญา โดยผูที่มีสถานะ Short position นันจะเปน   ้
 ผูกําหนด สถานที่และเวลาในการสงมอบ สินทรัพยตามสัญญา
 สัญญาซื้อขายลวงหนาหากถือไวจนครบกําหนด จะตองมีการ
 สงมอบสินทรัพย ยกเวน การซื้อขายลวงหนาดัชนีหลักทรัพย
 หรือสินทรัพยอื่นที่ไมสามารถสงมอบได ที่จะตองชําระเปนเงิน
 สดแทน
Terminology
Open interest: จํานวนของสัญญาที่ทําการซื้อขายที่ปรากฎ ซึ่งปกติ
จะนับโดยใชจํานวนสัญญาที่ long positions หรือ short positions
Settlement price: ราคาซื้อขายสุดทายกอนตลาดปดทําการ เพื่อใช
ในการคํานวณสถานะกําไรขาดทุนของผุลงทุนในแตละวัน (daily
settlement process)
Volume of trading: จํานวนของสัญญาที่มีการซื้อขายในแตละวัน
Forward Contracts v.s. Futures
Contracts
           FORWARDS                          FUTURES
  Private contract between 2 parties       Exchange traded

       Non-standard contract              Standard contract

   Usually 1 specified delivery date    Range of delivery dates

         Settled at end of contract          Settled daily

        Delivery or final cash         Contract usually closed out
       settlement usually occurs          prior to maturity
           Some credit risk              Virtually no credit risk
ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets

 ลักษณะของสัญญา
     สัญญาในตลาดแบบมีระเบียบ จะมีการกําหนดเปนมาตรฐาน
    เชน การซื้อขายยางพาราลวงหนา จะกําหนดเปนมาตรฐาน
    คือ ยางพาราแผนรมควันชั้น 3 ตามาตรฐานสากล จํานวน
    5,000 กิโลกรัมสงมอบที่คลังสินคาในจังหวัด
    นครศรีธรรมราช ในวันทําการกอน 7 วันทําการสุดทายของ
    เดือนที่สงมอบ
ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets

   หากเปนตลาดแบบ OTC สัญญาดังกลาวจะกําหนดเปน
   ยางประเภทใด จํานวนเทาใด สงมอบที่ด เมื่อใด ก็ได
   หากเปรียบกับการขายเสื้อผา ตลาดแบบมีระเบียบ
   สินคาที่จะนํามาขายจะมีการกําหนดมาตรฐาน S M L
   XL แตการซื้อขายใน OTC จะเปนการสั่งตัดเสื้อผา
ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets

  ความสะดวกในการซื้อขาย
     ตลาดแบบมีระเบียบ จะมีความสะดวกมากกวา เพราะ
    สัญญาเปนมาตรฐาน มีขอกําหนดเหมือนกัน และมี
                         
    สถานที่ในการซื้อขายแนนอน ทําใหผูลงทุนมีความ
    สะดวกในการทีจะเขามาทําการซื้อขาย
                 ่
ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets

     และความสะดวกนี้ ทําใหตนุทนของสินคามีราคาต่า
                                                     ํ
    เชน หากเปรียบเทียบการซื้อเสื้อผาสําเร็จรูป กับการ
    สั่งตัดแลว จะพบวา เมื่อเสื้อผาซือตามาตรฐานจะมี
                                       ้
    ความสะดวก และมีราคาทีต่ํากวา การสั่งตัด ซึ่ง
                               ่
    จะตองจัดทําขึนตามคําสั่งพิเศษของแตละบุคคล
                  ้
ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets

  การรับประกันการชําระราคาและสงมอบ
     ตลาดแบบมีระเบียบ จะมีสํานักหักบัญชี (Clearing
    House) เปนตัวกลาง เปนการปองกันความเสี่ยงของ
    คูสัญญาไมปฏิบัติตามสัญญา
     ตลาด OTC คูสัญญาจะตองแบกภาระความเสี่ยงเอาไว
    เอง
ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets

     เชนเดียวกับการซื้อเสื้อผาสําเร็จรูป หากตองการใช
    เสื้อผาในงานตาง ๆ ถาเราซื้อเสื้อผาสําเร็จรูป ก็ไมตอง
                                                            
    กังวลเรื่องของการที่จะมีเสื้อผาใส แตถาใชเสื้อผาที่สั่ง
    ตัด เราตองคอยกังวลวาชางตัดเสื้อจะตัดไดถูกตองและ
    ตรงตามกําหนดหรือไม
ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets

  สภาพคลอง
    การซื้อขายในตลาดแบบมีระเบียบ จะมีสภาพคลองสูง
    กวา เนื่องจากสัญญามีมาตรฐาน มีสํานักหักบัญชีเปนผู
    รับประกันความนาเชื่อถือ และสัญญาทุกสัญญาจะ
    สามารถปดสถานะไดตลอดเวลาจนกวาจะถึงวันครบ
    กําหนดการสงมอบ
ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets
     หากเปนตลาด OTC สัญญาแตละฉบับมีความเปน
    เฉพาะตัว หากตองการปดสถานะจะกระทําไดยาก หาก
    ตองไปหาบุคคลที่สามมาเปนผูทําสัญญาในลักษณะ
                                    
    ตรงขาม ความเสี่ยงจากคูสัญญาจะเพิ่มเปน 2 เทา
     หากซื้อเสื้อผาสําเร็จรูปแลวไมพอดี ก็สามารถเปลี่ยน
    ได แตถาหากสั่งตัดแลวไมพอดี จะขายตอคนอืนนั้น
                                                   ่
    กระทําไดยาก
ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets

  การรับประกันความเสี่ยง
     การซื้อขายในตลาดแบบมีระเบียบ สํานักหักบัญชีเปน
    ผูค้ําประกัน จะเรียกวางเงินประกัน หรือ มารจน พรอม
                                                  ิ้
    ทั้งมีการปรับมูลคา (Mark to market) เพื่อดูการ
    เปลี่ยนแปลงของฐานะการลงทุนเมือเทียบกับวันกอน
                                      ่
    หนาทุกชวงเวลาซื้อขาย
ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets

  ตลาดแบบมีระเบียบที่มีการพัฒนาแลว ปกติจะไมมี
  การสงมอบและชําระราคาจริง จะเปนการชําระสวน
  ตางของราคาสินคา (Cash Settlement)
  แตตลาดแบบ OTC จะมีการสงมอบสินคาจริง
  (Physical Delivery)
ตลาดที่สมบูรณ (Perfect Market)
 การเปนตลาดทีสมบูรณจะตองประกอบดวยเงื่อนไข 4 ขอ
                ่
    สภาพคลอง (Liquidity)
    ความตอเนืองของราคา (Price Continuity)
              ่
    ความเสมอภาค (Fairness)
    ความเทาเทียมในการเขาถึงขอมูล (Equal Access to
   Information)
ผูคาในตลาดตราสารอนุพันธ

  ผูปองกันความเสี่ยง (Hedger)
  นักเก็งกําไร (Speculator)
  นักคากําไร (Arbitrageur)
ผูปองกันความเสี่ยง (Hedger)
 เปนผูที่เขามาซื้อขายตราสารอนุพันธเพื่อปองกันความ
        
 เสี่ยงของตนเอง
 ตัวอยาง 1 บริษท A สั่งซื้อสินคาจากตางประเทศ โดยจะมี
                   ั
 การชําระเงินในอีก 3 เดือนขางหนา จํานวน 10 ลาน
 ดอลลารสหรัฐ บริษท A มีความกังวลวาอัตราแลกเปลี่ยน
                       ั
 จะเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต
ผูปองกันความเสี่ยง (Hedger)
 หากอัตราแลกเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงไป บริษัทอาจตองชําระ
 เงินเพิ่มขึ้นในอนาคต ดังนั้นบริษัทอาจตัดสินใจซื้อสัญญาฟว
 เจอรสของอัตราแลกเปลี่ยน เชน 38.50 บาท เพื่อปองกัน
 ความเสี่ยง
 เมื่อครบกําหนด 6 เดือน บริษัทก็จะชําระเงินเพียง
 38,500,000 บาท เทานั้น ไมวาอัตราแลกเปลี่ยนจะ
 เปลี่ยนแปลงไปอยางไร
ผูปองกันความเสี่ยง (Hedger)
 ตัวอยาง 2 กองทุนรวมทีลงทุนในตลาดหลักทรัพยแหง
                         ่
 ประเทศไทย ที่ดัชนี 600 จุด จํานวน 600 ลานบาท
 ผูบริหารกองทุนกลัววาราคาหลักทรัพยจะลดลง ผูบริหาร
 จึงตัดสินใจซื้อ Put Option ทีหสิทธิขายดัชนี SET Index
                              ่
 ในระดับราคา 600 จุด ในอีก 3 เดือนขางหนา ทีราคา
                                                ่
 Premium 15 จุด
ผูปองกันความเสี่ยง (Hedger)
 หากดัชนีปรับตัวเปน 700 จุด ผูบริหารกองทุนก็จะไมใช
 สิทธิตามสัญญา
 หากเกิดเหตุการณตามที่คาดคิดไว ผูบริหารกองทุนจะใช
                                    
 สิทธิตามสัญญา เชน ดัชนีตกเหลือ 500 จุด ผูบริหาร
 กองทุนจะใชสิทธิเรียกเงินจากผูขาย Put Option กลับคืน
 มา จํานวน 100 ลานบาท
ผูปองกันความเสี่ยง (Hedger)
    (600 จุด – 500 จุด) x 1,000,000 บาท
    1 จุด เทากับ 1,000,000 บาท
 กําไรดังกลาวเปนการชดเชยมูลคาเงินลงทุนทีลดลง
                                           ่
 อยางไรก็ตามผูบริหารกองทุนจะตองจายคา Premium 15
                
 จุด ๆ ละ 1,000,000 บาท เชนเดียวกัน (รวม 15 ลานบาท)
ขอสังเกต

  การใช Futures Contract เพื่อปองกันความเสี่ยง เมื่อราคา
  เปลี่ยนแปลง ผูปองกันจะไมไดผลกระทบ คือ ไมกําไร
  และไมขาดทุน
  การใช Put Option Contract เพื่อปองกันความเสี่ยง มี
  ตนทุนในการปองกันความเสี่ยง แตไมขาดทุน มีโอกาส
  ในการทํากําไรเพิ่ม
นักเก็งกําไร (Speculator)
 ผูทหวังกําไรสวนตางของราคาซื้อกับราคาขาย โดย
     ี่
 ยอมรับความเสี่ยงที่อาจขาดทุนได หากทิศทางของราคา
 ไมเปนไปตามที่กําหนด
 ตัวอยาง 1 นักเก็งกําไรคาดวาราคายางพาราในอีก 6 เดือน
 ขางหนาจะอยูที่กิโลกรัมละ 55 บาทตอกิโลกรัม ปจจุบัน
 การซื้อขายยางพาราในตลาดอยูที่กิโลกรัมละ 50 บาทตอ
                                
 กิโลกรัม
นักเก็งกําไร (Speculator)
 มีคาเก็บรักษายางพารากิโลกรัมละ 4 บาทตอ 6 เดือน นัก
     
 เก็งกําไรจึงทําการเก็งกําไรโดยซื้อยางพาราในราคา 50
 บาท จากนั้นเก็บรักษาไว 6 เดือน ถาราคายางพาราใน
 อนาคตเปนไปดังคาด นักเก็งกําไรจะไดกําไร กิโลกรัมละ
 1 บาท (ตนทุน 50 + 4 = 54 บาท)
นักเก็งกําไร (Speculator)
 หากปริมาณฝนในชวงนี้ตกมากอยางตอเนือง ปริมาณยาง
                                         ่
 ที่ผลิตไดอาจลดลงกวาปกติ ไมเพียงพอตอความตองการ
 ในการใชงาน
 บริษทผูทตองใชยางพาราในการผลิตเปนวัตถุดบ กังวลวา
       ั ี่                                   ิ
 จะไมมียางพาราอยางเพียงพอในการผลิต จึงทําการซื้อ
 ยางพาราลวงหนา (Futures contract) ที่จะสงมอบในอีก 6
 เดือนขางหนา
นักเก็งกําไร (Speculator)
 บริษทดังกลาวอาจยอมจายเงินในราคาทีสูงเพื่อตองการ
       ั                               ่
 ซื้อวัตถุดบใหไดตามจํานวน เชน อาจกําหนดราคาซื้อที่
           ิ
 55.50 บาทตอกิโลกรัม
 นักเก็งกําไรก็จะขายสัญญาขายลวงหนาใหแกบริษัท
 ดังกลาวในราคา 55.50 บาทตอกิโลกรัม นักเก็งกําไรจะได
 กําไรทันที 1.50 บาทตอกิโลกรัม
นักเก็งกําไร (Speculator)
 ตัวอยาง 2 นักเก็งกําไรมีเงินลงทุน 600,000 บาท โดยนัก
 เก็งกําไรคาดวาราคาของหลักทรัพยที่ตองการจะลงทุนจะ
 มีราคาเพิ่มจากปจจุบัน 60 บาท ไปเปน 70 บาท
 ในขณะนั้นมี Call Option ของหุนสามัญของหลักทรัพย
                                 
 ดังกลาวขายอยูในราคา 62 บาท ในอีก 3 เดือนขางหนา จํา
 หนายอยุในราคา (Premium) 3 บาท
นักเก็งกําไร (Speculator)
 นักเก็งกําไรผูนสามารถเลือกลงุนได 2 วิธี คือ
                ี้
    แบบที่ 1 ลงทุนในหุนสามัญของหลักทรัพยดังกลาว
                       
    จํานวน 10,000 หุนๆ ละ 60 บาท เปนเงิน 600,000 บาท
                    
    แบบที่ 2 ลงทุนใน Call Option ของหลักทรัพย
    ดังกลาว จํานวน 200,000 สัญญาๆ ละ 3 บาท เปนเงิน
    600,000 บาท
นักเก็งกําไร (Speculator)
 หากเวลาผานไป 3 เดือน หลักทรัพยดังกลาวราคา
 เปลี่ยนไปเปน 70 บาท
    แบบที่ 1 นักเก็งกําไรจะไดกําไร 100,000 บาท
   [(70 – 60) x 10,000]
    แบบที่ 2 นักเก็งกําไรจะไดกําไร 1,000,000 บาท
   [(70 – 62 – 3) x 200,000]
นักเก็งกําไร (Speculator)
 หากราคาไมเปนไปตามที่คาดการณ คือ ราคาลดลงเหลือ
 50 บาท
     แบบที่ 1 นักเก็งกําไรจะขาดทุน 100,000 บาท
    [(50 – 60) x 1,000]
     แบบที่ 2 นักเก็งกําไรจะขาดทุน 600,000 บาท โดยไม
    ใชสิทธิตามสัญญา
ขอสังเกต

  การเก็งกําไรโดยใช Option นั้น หากการคาดคะเน
  สามารถกระทําไดถูกตอง ก็จะสามารถทํากําไรได
  มหาศาล แตหากวิเคราะหทศทางผิดพลาดก็จะ
                            ิ
  ขาดทุนมหาศาลเชนเดียวกัน
นักคากําไร (Arbitrageur)
 ผูที่ทากําไรจากความไมเทาเทียมกันของขอมูลขาวสารใน
        ํ
 ตลาด
 ตัวอยาง 1 บริษท A มีราคาหลักทรัพยอยูที่ 10 บาทตอหุน
                 ั                                     
 ในขณะเดียวกัน Call Option ของบริษัท A ใหสิทธิในการ
 ซื้อหุนสามัญในราคา 8 บาทตอหุน ในอีก 1 เดือนขางหนา
                                
 มีคา Premium ที่ 1.20 บาท
     
นักคากําไร (Arbitrageur)
 หากนักคากําไร ทําการยืมหุนของบริษัท A มาขายออกไปกอน
 จากนันซื้อ Call Option มาเก็บไว เมื่อเวลาผานไ 1 เดือน ก็ใช
       ้
 สิทธิในการซื้อหุน และนํามาคืนใหแกผูที่หยืม
 จะเห็นไดวานักคากําไร จะทํากําไร 0.80 บาท [10 – 8 – 1.20] ตอ
            
 หุน โดยปราศจากความเสี่ยง
 การทํากําไรเชนนีจะไมสามารถทําไดนาน เพราะเมื่อทุกคน
                   ้
 ทราบก็จะใชกลยุทธเดียวกัน
ลักษณะของสัญญา Futures

 สัญญาที่ถูกจัดทําขึ้นระหวางคูสัญญา 2 ฝาย โดยกําหนด
 วาจะมีการซื้อขายสินคาอางอิง (Underlying assets) อยาง
 หนึ่งอยางใด ในอนาคต (Maturity Date/Delivery Date)
 ตามราคาทีตกลงกันไว
            ่
ตลาด Futures

 ประเทศพัฒนาแลวสวนใหญ จะมีตลาดทีจัดตั้งขึ้นอยางมี
                                      ่
 ระเบียบ ทําการซื้อขายสัญญาประเภทนี้เกือบทุกประเทศ
 ประเทศไทย มีตลาดที่ทําการซื้อขายสัญญา Futures ใน
 ปจจุบัน อยูจํานวน 2 ตลาด คือ
    ตลาดซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา (AFET)
    ตลาดอนุพันธ (TFEX)
ความแตกตางระหวาง Futures & Forward

 ความเปนมาตรฐาน (Contract Specification) สัญญาแบบ
 Futures จะกําหนดในเรืองคุณภาพของสินคาอางอิง ขนาด
                       ่
 ของสัญญา วิธีการและสถานที่ในการชําระราคาและสง
 มอบ วันทีตองทําการชําระราคาและสงมอบ
           ่
 การซื้อขายสัญญา สัญญา Futures จะซื้อขายในศูนยซื้อ
 ขาย
ความแตกตางระหวาง Futures & Forward

 การประกันการสงมอบและชําระราคา สัญญาแบบ
 Futures จะมี Clearing House เปนตัวกลางในการจัดการ ผู
 ซื้อขาย Futures จึงไมตองกังวลเรื่องความเสี่ยงจาก
 คูสัญญา
 การยกเลิกสัญญา สัญญาแบบ Futures สามารถเลิกไดโดย
 การปดสถานะ แต Forward ไมสามารถทําได
ความแตกตางระหวาง Futures & Forward

 การสงมอบ โดยทั่วไปสัญญา Futures จะทําขึนเพื่อการ
                                            ้
 ปองกันความเสี่ยงทางการเงิน ผุทาการซื้อหรือขายสัญญา
                                 ํ
 มักจะปดสถานะของตนกอนวันครบกําหนดสัญญา ทําให
 การสงมอบจริงนั้นเกิดขึ้นนอยมาก
 การปรับมูลคา (Daily mark to market) ตองกระทําทุกวัน
 เพื่อตรวจสอบสถานะและเรียกเก็บเงินสวนตาง
การซื้อขายสัญญาฟวเจอร

  เมื่อผูลงทุนทําสัญญาซื้อ Futures หมายความวา เปน
  การเขาไปผูกพันวาจะซื้อสินทรัพย และมีภาระที่
  จะตองซื้อในอนาคต โดยสถานะรอซื้อนี้เรียกวา
  Long Position
  และในทางกลับกัน เมื่อเปนสถานะรอขายจะเรียกวา
  Short Position
การซื้อขายสัญญาฟวเจอร

  การซื้อขายสัญญา Futures เปนการทําสัญญาจะซื้อจะขาย
  แตยังไมมการซื้อขายสินคาจริง หากผูลงทุนมีความเห็น
            ี
  ตรงกัน จะเขามาจับคูซื้อขายกัน จํานวนสัญญาก็จะเพิ่มขึน
                                                        ้
  จํานวนของสัญญาที่มีการเปดฐานะ (มีภาระผูกพัน)
  เรียกวา Open Interest
การซื้อขายสัญญาฟวเจอร

  Open Interest จะแตกตางจากจํานวนหลักทรัพยของตรา
  สารทางการเงินตาง ๆ เชน หุนสามัญของบริษัทหนึ่งมี
                             
  จํานวน 100 ลานหุน แสดงวามีหนอยูไมเกิน 100 ลานหุน
                                ุ                   
  แตจํานวนของ Open Interest นันสามารถเพิ่มขึ้นหรือ
                               ้
  ลดลงไดตามความตองการของคูสัญญาที่ตกลงกัน เชน
การซื้อขายสัญญาฟวเจอร
  ตัวอยางที่ 1 นักลงทุน 4 คน นาย ก. ข. ค. และ ง. สนใจ
  ลงทุนใน สัญญา Futures ของธนาคารแหงหนึ่ง
  วันที่ 1 นาย ก. ซื้อ Futures Contract 2 ฉบับ และนาย ข.
  ขาย Futures Contract 2 ฉบับ
     สรุป ปริมาณการซื้อขาย 2 ฉบับ Open Interest = 2
     นาย ก. Long Position = 2, นาย ข. Short Position = 2
การซื้อขายสัญญาฟวเจอร

  วันที่ 2 นาย ก. ซื้อ Futures Contract 2 ฉบับ นาย ค. ขาย
  Futures Contract 2 ฉบับ
    สรุป ปริมาณการซื้อขาย 2 ฉบับ Open Interest = 4
    นาย ก. Long Position = 4, นาย ข. Short Position = 2, และ
    นาย ค. Short Position = 2
การซื้อขายสัญญาฟวเจอร

  วันที่ 3 นาย ก. ขาย Futures Contract 1 ฉบับ นาย ง. ซื้อ
  Futures Contract 1 ฉบับ
     สรุป ปริมาณการซื้อขาย 1 ฉบับ Open Interest = 4
     นาย ก. Long Position = 3, นาย ข. Short Position = 2,
     นาย ค. Short Position = 2, และ นาย ง. Long Position = 1
การซื้อขายสัญญาฟวเจอร

  วันที่ 4 นาย ก. ขาย Futures Contract 2 ฉบับ นาย ข. ซื้อ
  Futures Contract 1 ฉบับ และ นาย ค. ซื้อ 1 ฉบับ
    สรุป ปริมาณการซื้อขาย 2 ฉบับ Open Interest = 2
    นาย ก. Long Position = 1, นาย ข. Short Position = 1,
    นาย ค. Short Position = 1, และ นาย ง. Long Position = 1
ผลตอบแทนและความเสี่ยงของสัญญา Futures

 ผลกําไรของผูซื้อสัญญา Futures จะเปลี่ยนแปลงไปใน
 ทิศทางเดียวกับราคาของสินคาอางอิง หากราคาสินคา
 อางอิงเพิ่มขึ้น มูลคาของ Futures Contract จะเพิ่มขึนดวย
                                                      ้
 หากสินคาอางอิงราคาลดลง มูลคาของFutures Contract
 จะลดลงดวย
ผลตอบแทนของการซื้อสัญญา Futures ในวันครบกําหนดสัญญา
ผลตอบแทนระหวางสัญญาซื้อ
ขายลวงหนากับสินคาอางอิง
                                             Long Futures
ณ วันสงมอบ




                                                ราคาสินคา ณ วันสงมอบ
                              ราคา Futures
ผลตอบแทนของการขายสัญญา Futures ในวันครบกําหนดสัญญา
ผลตอบแทนระหวางสัญญาซื้อ
ขายลวงหนากับสินคาอางอิง
ณ วันสงมอบ




                                                  ราคาสินคา ณ วันสงมอบ
                              ราคา Futures



                                             Short Futures
Zero-Sum Game

 สัญญา Futures เปนสัญญาที่ ผล
 กําไรที่คูสญญาฝายหนึ่งไดรับผล
             ั
 ขาดทุนที่อีกฝายหนึ่งตองชําระ
 ออกไป
Long & Short Hedges
 การทํา long futures hedge นันจะกระทําเมือ ผูลงทุนวางแผนที่
                             ้            ่
 จะซื้อสินทรัพยที่กําหนดตามสัญญาในอนาคต และตองการที่จะ
 ควบคุมไมใหราคาเปลี่ยนแปลงไปจากที่ตองการในอนาคต
                                        
 การทํา short futures hedge นันจะกระทําเมือ ผูลงทุนตองการที่
                               ้            ่
 จะขายสินทรัพยที่กําหนดไวในสัญญาในอนาคต และตองการที่
 จะควบคุมไมใหราคาเกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากที่คาดการณไว
ขอสนับสนุนของการใช Futures ในการปองกันความเสียง
                                                ่

  บริษทที่ใชเครื่องมือนี้ในการปองกันความเสี่ยงจะ
        ั
  สามารถดําเนินธุรกิจไดตามที่ไดตั้งเปาไว เพราะ
  เครื่องมือตาง ๆ เหลานีจะชวยในการลดความเสี่ยง
                           ้
  จากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย อัตรา
  แลกเปลี่ยน ตลอดจนปจจัยอื่น ๆ ที่จะมีผลกระทบ
  ตอผลกําไรของบริษท   ั
ขอโตแยงของการใช Futures ในการปองกันความเสียง
                                               ่

  ผูถือหุนสามัญทุกคนโดยปกติจะลงทุนโดยการ
  กระจายการลงทุนอยูแลว ดังนั้นการตัดสินใจ
  ปองกันเสี่ยงจึงเปนเรื่องของการตัดสินใจสวนบุคคล
  บริษทอาจมีความเสี่ยงเพิ่มมากขึน ถาคูแขงขันไมได
        ั                         ้
  ดําเนินการปองกันความเสี่ยงเชนเรา
Convergence of Futures to Spot
(Hedge initiated at time t1 and closed out at time t2)


                  Futures
                  Price




                         Spot
                         Price


                                      Time

                    t1           t2
Basis Risk

 Basis คือผลตางระหวางราคา ณ วันปจจุบัน
 (spot) กับราคาในอนาคต (futures)
 Basis risk เกิดขึ้นจากความไมแนนอนของ
 ผลตางระหวางราคาดังกลาว
Short Hedges
 สมมติใหราคาน้ํามันดิบมีราคา ณ วันที่ 15 มิถุนายน
 (Spot Price) เทากับ US$19 ตอบาเรล และมีราคา
 ตามสัญญาขายลวงหนา 3 เดือน ในตลาด NYMEX
 ของวันที่ 15 สิงหาคม US$18.75 ตอบาเรล
 สัญญาซื้อขายลวงหนาน้ํามันดิบในตลาด NYMEX
 มีขนาด 1,000 บาเรล ตอ 1 สัญญา
Short Hedges

 ถาผูลงทุนทําการขายลวงหนา น้ํามันดิบ
 ตามสัญญา จํานวน 1,000 สัญญา ในราคา
 บาเรลละ US$18.75 สําหรับวันที่ 15
 สิงหาคม เพื่อเปนการปองกันความเสี่ยง
 จากการเปลี่ยนแปลงของราคา
Short Hedges

 หากราคาน้ํามันดิบ ณ วันที่ 15 สิงหาคม มีราคา
 เทากับ US$17.50 ผูลงทุนจะสามารถขายน้ํามันดิบ
 ไดตามราคาในสัญญา คือ US$18.75
 ดังนั้นผูลงทุนจะไดกําไร US$18.75 – US$17.50 =
 US$1.25 ตอบาเรล
Short Hedges

 ผูลงทุนไดลงทุนใน Futures contract จํานวน 1,000
 สัญญา ทําใหจะสามารถขายน้ํามันดิบไดจํานวน
 ทั้งสิ้น 1,000,000 บาเรล
 ดังนั้น ผูลงทุนจะไดกําไรทั้งสิ้น
    US$1.25 * 1,000,000 บาเรล = US$1,250,000
Short Hedges
 หากราคาน้ํามันดิบ ณ วันที่ 15 สิงหาคม มีราคา
 เทากับ US$19.50 ผูลงทุนก็ยังจะสามารถขาย
 น้ํามันดิบไดตามราคาในสัญญา คือ US$18.75
 ดังนั้นผูลงทุนจะขาดทุน US$19.50 – US$18.75 =
 US$0.75 ตอบาเรล
Short Hedges
 ผูลงทุนไดลงทุนใน Futures contract จํานวน 1,000
 สัญญา ทําใหจะสามารถขายน้ํามันดิบไดจํานวน
 ทั้งสิ้น 1,000,000 บาเรล
 ดังนั้น ผูลงทุนจะไดขาดทุนทั้งสิ้น
    US$0.75 * 1,000,000 บาเรล = US$750,000
Long Hedges

 โรงงานผลิตอุปกรณจากทองแดง ตองการใช
 ทองแดงจํานวน 100,000 ปอนด ในวันที่ 15
 พฤษภาคม
 ราคาปจจุบันของทองแดง ณ วันที่ 15 มกราคม มี
 ราคา 140 เซ็นตตอปอนด
Long Hedges

 ราคาในอนาคต ตามสัญญาซื้อขายลวงหนา ของ
 เดือนพฤษภาคม ในตลาด NYMEX มีราคา 120
 เซ็นตตอปอนด สําหรับวันที่ 15 พฤษภาคม
 สัญญาทีทําการซื้อขายในตลาดนั้นมีจํานวนสัญญา
          ่
 ละ 25,000 ปอนด ของทองแดง
Long Hedges

 สมมติราคาของทองแดงในวันที่ 15 พฤษภาคม
 มีราคาเทากับ 125 เซ็นตตอปอนด สัญญา
 ดังกลาวจะมีกําไรเทากับ
    100,000 x ($1.25 - $1.20) = $5,000
Long Hedges

 แตในทางกลับกัน หากราคาของทองแดงมีคา
 เทากับ 105 เซ็นตตอปอนด ในวันที่ 15
 พฤษภาคม สัญญาดังกลาวจะขาดทุนเทากับ
     100,000 x ($1.20 - $1.05) = $15,000
ประเภทของสัญญา Futures

 สัญญา Futures ในอัตราดอกเบี้ย
   เปนการซื้อขายลวงหนาในตราสารที่เกี่ยวของกับอัตรา
   ดอกเบี้ย ไดแก ตราสารหนี้ประเภทตาง ๆ กําหนดราคาตาม
   ดอกเบี้ยที่ตกลงลวงหนา สัญญา Futures ประเภทนี้มักมีการ
   ชําระราคาและสงมอบจริง
   ตัวอยาง Futures ของตั๋วเงินคลังสหรัฐ ตั๋วเงินยูโรดอลลาร
   พันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ
ประเภทของสัญญา Futures

 สัญญา Futures ในเงินตราตางประเทศ
   การตกลงทําสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ
   ลวงหนา เพื่อปองกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่
   ไมคงที่
   ตัวอยาง สัญญา Futures ของ เงินปอนดสเตอรลิงของ
   อังกฤษในตลาดสหรัฐอเมริกา
ประเภทของสัญญา Futures

 สัญญา Futures ในดัชนีราคาหลักทรัพย
    เปนการตกลงที่จะซื้อขายดัชนีหลักทรัพยลวงหนา
   ชวยทําใหการลงทุนทําไดงายขึ้น สัญญาชนิดนี้จะมีการ
   สงมอบสวนตางเปนเงินสด เนื่องจากไมสามารถสง
   มอบดัชนีได
    ตัวอยาง สัญญา Futures ดัชนี S&P500 ดัชนี Dow
   Jones ดัชนี SET50Index เปนตน
ประเภทของสัญญา Futures

 สัญญา Futures ของสินคาโภคภัณฑ
   มีลักษณะคลายกับสัญญา Futures ทางการเงิน เพียงแตสินคา
   ที่นํามาอางอิงนั้นจะเปลี่ยนจาก สินทรัพยทางการเงิน มาเปน
   น้ํามัน ยางพารา ขาว ขาวโพด ถั่ว ฯลฯ
   กรรมวิธีในการประเมินราคาของสัญญา Futures ของสินคา
   โภคภัณฑนั้นจะตางจาก การประเมินของ Futures ทาง
   การเงิน
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of InterestFinance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interesttltutortutor
 
Strategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks CaseStrategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks CaseWorawisut Pinyoyang
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communicationtltutortutor
 
Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1guest48146f
 
บ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟบ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟglenferry
 
Thailand Energy Management System
Thailand Energy Management SystemThailand Energy Management System
Thailand Energy Management SystemNarinporn Malasri
 
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawThoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawSarinee Achavanuntakul
 
WHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUTWHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUTphaisack
 
เกษตรประณีต22มค
เกษตรประณีต22มคเกษตรประณีต22มค
เกษตรประณีต22มคTechno Polis
 
New HRD Concept for Business
New HRD Concept for BusinessNew HRD Concept for Business
New HRD Concept for BusinessDrDanai Thienphut
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Pricetltutortutor
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.DrDanai Thienphut
 

Was ist angesagt? (17)

Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of InterestFinance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
 
Strategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks CaseStrategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks Case
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communication
 
Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1
 
Household Energy Saving
Household Energy SavingHousehold Energy Saving
Household Energy Saving
 
บ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟบ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟ
 
Thailand Energy Management System
Thailand Energy Management SystemThailand Energy Management System
Thailand Energy Management System
 
MBA- Entrepreneurship
MBA- EntrepreneurshipMBA- Entrepreneurship
MBA- Entrepreneurship
 
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawThoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
 
WHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUTWHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUT
 
เกษตรประณีต22มค
เกษตรประณีต22มคเกษตรประณีต22มค
เกษตรประณีต22มค
 
New HRD Concept for Business
New HRD Concept for BusinessNew HRD Concept for Business
New HRD Concept for Business
 
P F1
P F1P F1
P F1
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Price
 
Case Study 3 -OD & Change
Case Study 3 -OD & ChangeCase Study 3 -OD & Change
Case Study 3 -OD & Change
 
Economics in Daily Life
Economics in Daily LifeEconomics in Daily Life
Economics in Daily Life
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.
 

Andere mochten auch

Ru Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated PlusRu Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 UpdatedRu Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 UpdatedRu Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 Updatedtltutortutor
 
Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602tltutortutor
 
Effective Business Report
Effective Business ReportEffective Business Report
Effective Business Reporttltutortutor
 
R U Derivativesand Risk Management Part3
R U  Derivativesand Risk Management Part3R U  Derivativesand Risk Management Part3
R U Derivativesand Risk Management Part3tltutortutor
 
R U Derivativesand Risk Management Part2
R U  Derivativesand Risk Management Part2R U  Derivativesand Risk Management Part2
R U Derivativesand Risk Management Part2tltutortutor
 
R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1tltutortutor
 
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated PlusRu Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 UpdatedRu Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updatedtltutortutor
 
Operation Management Summary
Operation Management SummaryOperation Management Summary
Operation Management Summarytltutortutor
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updatedtltutortutor
 

Andere mochten auch (19)

Ru Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated PlusRu Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated Plus
 
Ru Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 UpdatedRu Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 Updated
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
 
Ru Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 UpdatedRu Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 Updated
 
Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602
 
Effective Business Report
Effective Business ReportEffective Business Report
Effective Business Report
 
R U Derivativesand Risk Management Part3
R U  Derivativesand Risk Management Part3R U  Derivativesand Risk Management Part3
R U Derivativesand Risk Management Part3
 
R U Derivativesand Risk Management Part2
R U  Derivativesand Risk Management Part2R U  Derivativesand Risk Management Part2
R U Derivativesand Risk Management Part2
 
R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated PlusRu Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updated
 
Ru Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 UpdatedRu Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 Updated
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updated
 
Operation Management Summary
Operation Management SummaryOperation Management Summary
Operation Management Summary
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updated
 

Mehr von tltutortutor

Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Managementtltutortutor
 
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดแนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดtltutortutor
 
Case Study Southwest
Case Study SouthwestCase Study Southwest
Case Study Southwesttltutortutor
 

Mehr von tltutortutor (6)

Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Management
 
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดแนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Case Study Southwest
Case Study SouthwestCase Study Southwest
Case Study Southwest
 

Ru Derivativesandriskmanagement Part1

  • 1. BM624 Derivatives and Corporate Risk Management ดร.กิตติพันธ คงสวัสดิ์เกียรติ
  • 2. ตัวอยางที่ 1 ปจจุบนเปนชวงตนเดือนกันยายนและทานตัดสินใจที่จะ ั ซื้อรถยนตคนใหม คุณจึงทําการเลือกชนิดของรถที่ ั ตองการและตรงไปยังตัวแทนจําหนายใกลบาน และทํา การเลือกรถไดตามที่ตองการทั้งราคา สี ขนาดเครื่องยนต วงลอ ฯลฯ ทางตัวแทนจําหนายบอกวา หากทานสั่งซือรถ้ วันนีและวางเงินมัดจํา จะไดรบรถยนตคนดังกลาวภายใน ้ ั ั 3 เดือน
  • 3. ตัวอยางที่ 1 ตอ ถาในอีก 3 เดือนขางหนา ตัวแทนจําหนายนั้นได ทําการลดราคารถยนตใหมทุกคัน 10% หรือ ราคารถยนตจะมีราคาสูงขึ้น ก็จะไมมีผลตอ สัญญาซื้อขายนี้ เพราะการซือขายจะทําตาม ้ ราคาที่ตกลงกันไว
  • 4. ตัวอยางที่ 1 ตอ ขณะนี้คุณอยูใน สัญญาซื้อขายลวงหนา  (Forward Contract) แลว โดยที่คุณจะมี สิทธิ (Right) และมีภาระ (Obligation) ที่ จะตองซื้อรถยนตในอีก 3 เดือนขางหนา ตามที่ตกลงกันไว
  • 5. Forward Contract Rewards Risks ตัวแทนจําหนายไม ราคาของรถยนต สามารถสงมอบรถยนต เพิ่มขึ้นในอนาคต ไดตามเวลา ตัวแทนจําหนายปด กิจการ ราคารถยนตลดลงใน อนาคต
  • 6. ตัวอยางที่ 2 สมมติวาทานไดไปที่โชวรูมรถยนต และไดเห็นรถยนตที่ ตองการ ซึ่งมีราคา $20,000 (ราคานี้จะตองซื้อ ณ วันนี้ เทานั้น) แตคุณมีเงินสดไมเพียงพอ และหากทําการกูเงิน จะตองใชเวลาอีกประมาณ 7 วันสิ่งที่คุณสามารถทําไดคือ วางเงินดาวนและเขาสูสัญญาซื้อขายลวงหนา (Forward  Contract)
  • 7. ตัวอยางที่ 2 ตอ หรืออีกทางเลือกหนึ่ง คุณอาจใหเงินตัวแทน จําหนายไว $100 และใหเก็บรถยนตคันนี้ไวและ คงราคานี้ไวเปนระยะเวลา 7 วัน และเงินจํานวน $100 นี้จะเปนของตัวแทนจําหนายไมวาคุณจะ ซื้อรถยนตคันนี้หรือไม
  • 8. ตัวอยางที่ 2 ตอ การทําเชนนี้เปนการเขาสูสญญาสิทธิ (Option ั Contract) และในกรณีนี้เรียกไดวาเปน Call Option เพราะเปนสิทธิ (Right) ในการซื้อ รถยนตในอนาคต แตไมใชภาระ (Obligation) ในการซือรถยนต ้
  • 9. ตัวอยางที่ 2 ตอ ถาในชวงเวลา 7 วันนี้คุณสามารถหารถยนตเหมือน คันดังกลาวไดจากตัวแทนจําหนายคนอื่นในราคา $19,500 คุณก็ไมจําเปนตองทําตามสัญญาสิทธิ (Option Contract) เพราะตนทุนของคุณจะอยูที่  $19,500 + $100 = $19,600 เทานั้น
  • 10. ตัวอยางที่ 2 ตอ ถาหากคุณไมสามารถหารถยนตคันดังกลาวได ในราคาที่ถูกกวา $20,000 ตนทุนของคุณจะเปน $20,000 + $100 = $20,100 และถาหากคุณตัดสินใจที่จะไมซอรถยนตคัน ื้ ดังกลาว คุณจะสูญเงินเพียงแค $100 เทานั้น
  • 11. Option Contract Risk Rewards ตัวแทนจําหนายไม คุณสามารถหารถยนต ยอมเก็บรถยนตไวให ไดในราคาที่ถูกกวานี้ คุณไมสามารถหา รถยนตไดในราคาที่ถูก กวานี้
  • 12. ตัวอยางที่ 3 รถยนตคันดังกลาวที่คุณไดทําสัญญา Call Option ไวนั้นเปนที่ตองการมากของตลาด ทําใหราคานั้น สูงขึ้นไปเปน $22,000 และเพื่อนของคุณไดรับรูมาวา คุณมีสัญญาดังกลาวที่จะซื้อรถยนตไดในราคา $20,000 ในอีก 7 วันขางหนา อยู
  • 13. ตัวอยางที่ 3 ตอ หลังจากที่คุณไดไปทําเรื่องขอกูเงินจากธนาคารแลว พบวาคุณไมสามารถขอเงินกูได ดังนั้นคุณจึง ตัดสินใจที่จะขายสัญญาสิทธิ (Option) ดังกลาว ใหแกเพื่อนคุณในราคา $200 กรณีนี้คุณสามารถทํากําไรได $100 หรือคิดเปน 100%
  • 14. ทั้งสัญญาซื้อขายลวงหนา (Forward) และ สัญญาสิทธิ (Option) นั้น เปนการสงมอบ รถยนตในอนาคต (Future) ตามราคาที่ตก ลงกันไวของสินทรัพยนั้น
  • 15. ลักษณะของตราสารอนุพันธ The Nature of Derivatives A derivative is an instrument whose value depends on the values of other more basic underlying variables ตราสารอนุพันธเปนเครื่องมือซึงมูลคาของตรา ่ สารนั้นจะขึ้นอยูกับสินทรัพยที่อางอิงอยู
  • 16. นิยามของตราสารอนุพันธ Derivatives มาจากคําวา Derive แปลวาการขึ้นอยูกับ และในคําภาษาไทย อนุ หมายความวา ตาม และ พันธ หมายความวา กอกําเนิด ดังนั้นตราสารอนุพันธ จึงมีความหมายวา ตราสารที่ กอกําเนิดจาก หรือแปรผันตามสิ่งที่อางอิง
  • 17. นิยามของตราสารอนุพันธ เปนสัญญาของคูสัญญาที่ตกลงจะกระทําอะไรในอนาคต  ใหอกฝงของคูสัญญา ี ตราสารทางการเงิน ที่มมูลคาอางอิงกับสินทรัพยอางอิง ี (Underlying Assets) วาจะมีการสงมอบสินทรัพยนั้นใน อนาคต ตามจํานวน ราคา คุณภาพ ที่ตกลงกัน
  • 18. สินคาหรือสินทรัพยที่สามารถนํามาอางอิงได เงินตราตางประเทศ พันธบัตร ตั๋วเงิน หุนสามัญ สินคาโภคภัณฑ สินทรัพยใด ๆ
  • 19. ตัวอยางของตราสารอนุพนธ ั Examples of Derivatives •Futures Contracts •Forward Contracts •Swaps •Options
  • 20. ตัวอยางตราสารอนุพันธ สัญญาจะซื้อจะขายบานและที่ดิน การทําสัญญาซื้อ ขายบานโดยทั่วไปผูซื้อจะวางเงินมัดจําจํานวนหนึ่ง และสัญญาวาจะมาทําการซื้อขายบนและที่ดินใน อนาคต ตามราคาที่ไดตกลงกันไว เมื่อผูซื้อมาชําระราคาใหแกผูขาย ผูขายก็จะโอน กรรมสิทธิ์ของบานนั้นใหแกผูซื้อ
  • 21. ตัวอยางตราสารอนุพันธ หากผูซื้อไมมาทําตามสัญญา ผูขายก็จะยึดเงินมัดจํา ไป ดังนั้นสัญญาจะซื้อจะขายบานดังกลาว ก็เปนตราสาร อนุพันธแบบหนึ่ง โดยมีการตกลงกันในปจจุบัน ที่ จะทําการซื้อขายบานในอนาคต โดยมูลคาของ สัญญาจะขึ้นอยูกับราคาบานและทีดินในขณะนั้น ่
  • 22. ตราสารอนุพันธ : การลงทุน หรือ การพนัน ธุรกรรมของ ฟวเจอร จะมีลักษณะเปน Zero Sum Game คือ จะมีผูทไดรับเงิน ี่ กําไร ในจํานวนที่เทากับผูที่จายเงินหรือผูที่  ขาดทุน (ทั้งนี้สมมติวาไมมีตนทุนในการ  ซื้อขาย)
  • 23. ตลาดตราสารอนุพนธ ั Derivatives Markets ตลาดที่มีระเบียบ (Exchange traded) ตลาดแบบมีระเบียบ หรือตลาดทีมีสถานที่ซื้อขายแนนอน จะมีการ ่ ซื้อขายใน Floor หรือมักจะเรียกวา Open-Outcry System แตปจจุบันทั่วโลกกําลังเปลี่ยนแปลงตลาดมาเปน ระบบอิเล็คทรอนิกสมากขึ้น สัญญาที่ทําการซื้อขายจะตองมีมาตรฐาน และไมมีความเสี่ยงในการ ชําระราคา
  • 24. ตลาดตราสารอนุพนธ ั Derivatives Markets ตลาด OTC :Over-the-counter (ตลาดตอรอง) เปนการซื้อขายผานระบบอินเตอรเน็ต หรือทาง โทรศัพท ผานทางสถาบันการเงิน บริษท หรือ ั ผูจัดการกองทุน สัญญาไมเปนมาตรฐาน และมีความเสี่ยงในการชําระ ราคาอยูบาง
  • 25. Size of OTC and Exchange Markets 240 Size of Market ($ 220 trillion) 200 180 160 140 OTC 120 Exchange 100 80 60 40 20 0 Jun-98 Jun-99 Jun-00 Jun-01 Jun-02 Jun-03 Jun-04 Source: Bank for International Settlements. Chart shows total principal amounts for OTC market and value of underlying assets for exchange market
  • 26. การใชตราสารอนุพันธในปจจุบัน Ways Derivatives are Used เพื่อปองกันความเสี่ยง (To hedge risks) เพื่อการเก็งกําไร (To speculate: take a view on the future direction of the market) เพื่อการทํากําไรในการทําอาบิทราจ (To lock in an arbitrage profit)
  • 27. ประโยชนของการใชตราสารอนุพันธ การนําตราสารอนุพันธไปใชในการสะทอนราคาใน อนาคต (Price Discovery) การมีตราสารอนุพันธจะทําใหเราทราบถึงราคาใน อนาคตวา ราคาสินคาที่อางอิงในตราสารอนุพันธนั้น จะเปนเชนไร เพื่อสามารถวางแผนไดวาจะผลิตสินคา หรือสินทรัพยนั้นหรือไม
  • 28. ประโยชนของการใชตราสารอนุพันธ การนําตราสารอนุพันธไปถัวกับความเสี่ยง (Hedging) การนําตราสารอนุพันธไปถัวกับความเสี่ยง เปนวิธีการ ในการปองกันความเสี่ยงอีกวิธีหนึ่ง คือ หากบริษัททํา การสงออกสินคาตางประเทศ บริษัทก็สามารถทําการ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนาได เพื่อเปนการ ปองกันความเสี่ยง
  • 29. ประโยชนของการใชตราสารอนุพันธ การนําตราสารอนุพันธไปเก็งกําไร (Speculation) คูคาในตราสารอนุพันธนั้น ฝายหนึ่งอาจเปนฝายที่ ตองการใชตราสารอนุพันธในการปองกันความเสี่ยง แตคูคาอีกฝายหนึ่งอาจเปนผูรับความเสี่ยงแทน โดย การคาดการณถงการเปลี่ยนแปลงของราคาของ ึ สินทรัพยนั้นในอนาคต
  • 30. สัญญาซือขายลวงหนา ้ Forward Contracts Forward contracts เปนสัญญาที่มีลกษณะเหมือนกับ ั Futures contracts แตกตางกันที่ Forward contracts นั้นจะทําการซื้อขายที่ Over-the-counter market เทานั้น Forward contracts มักจะใชทําการซื้อขายเงินตรา ตางประเทศและอัตราดอกเบี้ยเทานัน ้
  • 31. Forward Contract เปนขอตกลงระหวางผูซื้อและผูขายในการตกลงสัญญาวา จะซื้อจะขาย โดยมีการกําหนดราคาและวันสงมอบไว ลวงหนา พรอมทั้งระบุถึงเงื่อนไขตาง ๆ เชน สถานทีสง ่ มอบ ฯลฯ สัญญา Forward จะมีลักษณะเปน Customized เฉพาะเจาะจงสําหรับผูซื้อและผูขาย
  • 32. Forward Contract สัญญาซื้อขายชนิดนี้ ในตลาดการเงิน มักจะเกิดขึ้นโดย ธนาคาร บริษัทวาณิชธนกิจ รัฐบาล หรือองคกรใหญ ๆ โดยทําการซื้อขายหลักทรัพย เงินตราตางประเทศ สินคา อุปโภคบริโภค อัตราดอกเบี้ย เปนการลวงหนา
  • 33. ลักษณะโดยทั่วไปของ ฟวเจอรส และ ฟอรเวิรด สัญญาทีมีการตกลงกันระหวางคูสัญญาสองฝาย ่ โดยฝายหนึ่งเปนผูซื้อ และอีกฝายหนึ่งเปนผูขาย สินทรัพยอางอิง (Underlying Assets) ตามราคา ที่ตกลงกันในอนาคต
  • 34. ลักษณะโดยทั่วไปของ ฟวเจอรส และ ฟอรเวิรด ผูจะซื้อจะมีภาระหนาที่ผูกพันที่จะตองรับมอบ สินคาและชําระราคาในอนาคต ผูจะขายมีหนาที่ ตองสงมอบสินคาและชําระเงินตามทีไดตกลง ่ ไว ในวันที่ทําสัญญา เมื่อครบกําหนดอายุใน อนาคต (Maturity Date หรือ Delivery Date)
  • 35. Foreign Exchange Quotes for GBP June 3, 2003 (USD/GBP) Bid Offer Spot 1.6281 1.6285 1-month forward 1.6248 1.6253 3-month forward 1.6187 1.6192 6-month forward 1.6094 1.6100
  • 36. Forward Price Forward price เปนราคาที่ใชในการสงมอบ สินคาตามสัญญาที่ไดทําการตกลงกันไวตั้งแต ปจจุบัน ซึ่ง Forward Price ของสัญญาที่มอายุ ี ไมเทากันนั้น ก็ไมจาเปนที่จะตองมีราคาที่ ํ เทากัน
  • 37. Terminology Long position เปนการแสดงถึงสถานะ ของการตกลงซื้อ Short position เปนการแสดงถึง สถานะของการตกลงขาย
  • 38. ตัวอยาง วันที่ 3 มิถุนายน 2003 มีบริษัทหนึ่งเขาสูสัญญา Long Forward Contract เพื่อทําการซื้อ £1,000,000 ในอีก 6 เดือนขางหนาที่อัตราแลกเปลี่ยน USD1.6100/ £ ดังนันบริษัทดังกลาวจะตองทําการจายเงิน US$1,610,000 ้ สําหรับการซื้อเงิน £1 million ณ วันที่ 3 ธันวาคม 2003 สัญญาดังกลาวจะมีผลตอบริษัทนีอยางไร? ้
  • 39. Profit from a Long Forward Position Profit Price of Underlying at Maturity, ST K
  • 40. Profit from a Short Forward Position Profit Price of Underlying at Maturity, ST K
  • 41. สัญญาซือขายลวงหนา ้ Futures Contracts เปนสัญญาที่จะทําการซื้อหรือขายสินทรัพยใด ตามราคา และระยะเวลาทีกําหนด ่ มีลักษณะเหมือนกับสัญญาประเภท forward contract แตสัญญา forward contract ทําการซื้อขายในตลาด OTC แตสัญญา futures contract นั้นจะทําการซื้อขายในตลาด แบบ exchange trade (ตลาดรอง) เทานั้น
  • 42. Exchanges Trading Futures Chicago Board of Trade Chicago Mercantile Exchange LIFFE (London) Eurex (Europe) BM&F (Sao Paulo, Brazil) TIFFE (Tokyo) ฯลฯ
  • 43. ตัวอยางการซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนา Examples of Futures Contracts buy 100 oz. of gold @ US$400/oz. in December (NYMEX) sell £62,500 @ 1.5000 US$/£ in March (CME) sell 1,000 bbl. of oil @ US$20/bbl. in April (NYMEX)
  • 44. 1. Gold: An Arbitrage Opportunity? สมมติวา: ราคาปจจุบันของทองคําเทากับ US$300 และราคาซื้อขาย ลวงหนา 1 ป (forward price) ของทองคํามีราคาเทากับ US$340 แตอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 1 ป ของเงินดอลลาร สหรัฐมีอตราเทากับ 5% ตอป ั ผูลงทุนจะมีโอกาสในการทําอาบิทราจหรือไม?
  • 45. 2. Gold: Another Arbitrage Opportunity? สมมติวา: ราคาปจจุบันของทองคําเทากับ US$300 และราคาซื้อขาย ลวงหนา 1 ป (forward price) ของทองคํามีราคาเทากับ US$300 แตอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 1 ป ของเงินดอลลาร สหรัฐมีอตราเทากับ 5% ตอป ั ผูลงทุนจะมีโอกาสในการทําอาบิทราจหรือไม?
  • 46. The Forward Price of Gold กําหนดให spot price ของทองคํา คือ S และ forward price ตามสัญญาที่จะสงมอบใน T ป คือ F, ดังนั้น F = S (1+r )T ในขณะที่ r คืออัตราผลตอบแทนทีปราศจากความเสี่ยง ่ ในระยะเวลา 1 ป ดังนั้นจากตัวอยาง S = 300, T = 1, and r =0.05 จึงทําใหราคา Forward Price มีคาเทากับ F = 300(1+0.05) = 315
  • 47. 1. Oil: An Arbitrage Opportunity? สมมติวา: ราคาปจจุบันของน้ํามันมีราคาเทากับ US$19 ราคาในอนาคตอีก 1 ปขางหนาของน้ํามันมีราคา US$25 อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 1 ป ของเงินดอลลารสหรัฐ มีอตราเทากับ 5% ตอป มีคาใชจายใน ั การเก็บรักษาน้ํามันดังกลาว 2% ตอป ผูลงทุนจะมีโอกาสในการทําอาบิทราจหรือไม?
  • 48. 2. Oil: Another Arbitrage Opportunity? สมมติวา: ราคาปจจุบันของน้ํามันมีราคาเทากับ US$19 ราคาในอนาคตอีก 1 ปขางหนาของน้ํามันมีราคา US$16 อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 1 ป ของเงินดอลลารสหรัฐ มีอตราเทากับ 5% ตอป มีคาใชจายใน ั การเก็บรักษาน้ํามันดังกลาว 2% ตอป ผูลงทุนจะมีโอกาสในการทําอาบิทราจหรือไม?
  • 49. ออปชัน (Option) เปนสัญญาที่ผูถอ Option มีสิทธิจะซื้อหรือขาย สินทรัพย ื อางอิงจากผูออกออปชันนั้นในราคาและระยะเวลาที่ กําหนด ออปชัน ผูซื้อ (ถือ) จะเปนผูมีสทธิในการเลือกวาจะซื้อ ิ หรือขายตามสัญญาหรือไม เพราะผูซื้อไดจายเงินคา Premium ใหแกผูขายในวันทําสัญญา
  • 50. ออปชัน (Options) Call option เปนสิทธิในการซื้อสินทรัพยใดๆ ในระยะเวลาและราคาที่กาหนด (the strike ํ price) Put option เปนสิทธิในการขายสินทรัพยใดๆ ในระยะเวลาและราคาที่กาหนด (the strike ํ price)
  • 51. American v.s. European Options An American option เปนสัญญาสิทธิที่ สามารถทําการซื้อหรือขายตามสัญญา (exercise) ไดตลอดเวลาตังแตวันที่ถอสัญญาไปจนถึงวันครบ ้ ื กําหนดตามสัญญา A European option เปนสัญญาสิทธิที่ สามารถทําการซื้อหรือขายตามสัญญา (exercise) ได ณ วันที่ครบกําหนดตามสัญญาเทานั้น
  • 52. Intel Option Prices (May 29, 2003; Stock Price = 20.83) Strike June July Oct June July Oct Price Call Call Call Put Put Put 20.00 1.25 1.60 2.40 0.45 0.85 1.50 22.50 0.20 0.45 1.15 1.85 2.20 2.85
  • 53. Exchanges Trading Options Chicago Board Options Exchange American Stock Exchange Philadelphia Stock Exchange Pacific Exchange LIFFE (London) Eurex (Europe) ฯลฯ
  • 54. Options v.s. Futures/Forwards A futures/forward contract gives the holder the obligation to buy or sell at a certain price (คูสัญญาจะตองทําตามสัญญา) An option gives the holder the right to buy or sell at a certain price (ผูซื้อ option จะเปนผูมีสิทธิเลือกวาจะทําตามสัญญานันหรือไม) ้
  • 55. Types of Traders Hedgers Speculators Arbitrageurs
  • 56. Hedging บริษัทในประเทศไทยทําการสั่งซื้อสินคาจากตางประเทศ และตองชําระ เงินเปนเงินจํานวน US$10 ลาน ในอีก 3 เดือนขางหนา บริษัทจึงทําการ ตัดสินใจที่จะทําการ Long Position (ซื้อ) สัญญาซื้อดอลลารลวงหนา (Forward contract) ผูลงทุนถือหุนสามัญบริษัท Microsoft 1,000 หุน ซึ่งปจจุบันมีราคา US$28 ตอหุน ผูลงทุนสามารถทําการปองกันความเสี่ยงไดโดยการขาย ลวงหนา (Put option) ที่ราคา US$27.50 โดยมีคาสัญญา (Premium) หุน ละ 1 บาท
  • 57. Value of Microsoft Shares with and without Hedging 40,000 Value of Holding ($) 35,000 No Hedging 30,000 Hedging 25,000 Stock Price ($) 20,000 20 25 30 35 40
  • 58. Speculation นักลงทุนมีเงิน US$4,000 เพื่อที่จะลงทุนในหุนสามัญของ Amazon.com ซึ่งคาดวาราคาหุนสามัญดังกลาวจะมีราคาสูงขึ้น ในอีก 2 เดือนขางหนา แตปจจุบันราคาหุนสามัญอยูที่ US$40  ตอหุน และราคาของ Call Option ระยะเวลา 2 เดือน มีสิทธิที่จะ ซื้อหุนสามัญดังกลาวไดในราคาหุนละ US$45 และมีคาสัญญา (Premium) US$2 นักลงทุนจะมีกลยุทธในการลงทุนนี้อยางไร?
  • 59. Arbitrage หุนสามัญมีราคา £100 ใน London และมีราคา US$172 ใน New York อัตราแลกเปลี่ยนปจจุบันเทากับ 1.7500 โอกาสในการทําอาบิทราจ เปนอยางไร?
  • 60. ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ ตลาด Option คาดวามีมาตังแตสมัยโบราณ แต ้ หลักฐานที่ชัดเจนพบวา มีการเก็งกําไรจากราคาดอก ทิวลิป ในประเทศเนเธอรแลนด ในศตวรรษที่ 17 แตในชวงแรกนั้นไมมีการควบคุมความเสี่ยงจากการ ซื้อขาย
  • 62. ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ จนกระทั่งป ค.ศ. 1973 Chicago Broad Option Exchange (CBOE) ไดจัดตั้งขึ้น เริมมีการซื้อขาย ่ Call Option ของหุนสามัญ  และป ค.ศ. 1977 เริ่มมีการซื้อขาย Put Option
  • 63. ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ ตอมาในป ค.ศ. 1983 ไดเริ่มใหมีการซื้อขาย Index Option (ออปชันของดัชนีหลักทรัพย) ซึ่ง ไดใช CBOE 100 Index (ปจุบัน คือ S&P 100) เปนตัวแปรอางอิง
  • 64. ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ สัญญาอนุพันธประเภท Forward เริ่มตนขึ้นในศตวรรษที่ 17 ในประเทศญี่ปุน โดยเจาของนาขาว ในเมืองโอซากา ประเทศญี่ปุน ผูเ ก็บคาเชานาเปนเมล็ดขาวไดคํานึงถึง ความไมแนนอนของราคาขาว จึงสงขาวไปเก็บไวในยุง ขาวในเมืองแลวทําตั๋วขาว (Rice Ticket) เพื่อเปนสัญญา ใหผถือตั๋วมีสทธิที่จะรับขาวในอนาคต ตามจํานวนและ ู ิ คุณภาพที่ระบุ ดังราคาที่ตกลงกัน
  • 65. ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ จึงทําใหเจาของที่นาไดรับรายไดที่คงที่ และพอคาขาวที่ Yodoya Rice Market มีสินคาที่จะขาย (Supply) เพียงพอและมีโอกาสใน การทํากําไรจากการขายตั๋วขาว ความสามารถในการทํานายราคาในอนาคตมาจากผูปลอยเงินกู  จากตระกูล Honma ชื่อ Munehisha โดยการจดบันทึกการ เปลี่ยนแปลงของราคา ซึ่งตอมาพัฒนามาเปน Candlestick Method ตนตํารับของ Technical Analysis
  • 66. Candlestick Method ถาราคาปดต่ํากวาราคาเปด ของวันนั้น จะมีสีแดงหรือดํา ใน Candle ถาราคาปดสูงกวาราคาเปดใน วันนั้น จะมีสีขาวหรือ ชองวางใน Candle
  • 67. ประวัติความเปนมาของตลาดตราสารอนุพันธ ตอมาศูนยซื้อขายที่จัดตั้งขึนอยางเปนทางการเกิดขึ้นในป ้ 1848 คือ Chicago Board of Trade (CBOT) จากนั้น 3 ป ตอมา การซื้อขาย Futures Contract ป ค.ศ. 1919 มีการจัดตั้ง Chicago Mercantile Exchange (CME) เพื่อซื้อขายสัญญา Futures ทางการเงิน
  • 68. รูปแบบของตราสารอนุพันธ ตราสารอนุพนธ ั สัญญาซื้อขายลวงหนา สิทธิเรียกรอง Exchange OTC Exchange OTC Trade Trade -Futures -Forward -Option -Option -Swap -Swap -Warrant -Warrant -Exotic Option
  • 69. กลไกการซื้อขายตราสารอนุพันธ การซื้อขายตราสารอนุพันธสามารถทําได 2 รูปแบบ การซื้อขายกับคูคาโดยตรงในตลาดตอรอง  (Dealer/OTC) การซื้อขายผานตลาดทีมีการจัดตั้งอยางเปน ่ ทางการ
  • 70. กลไกการซื้อขายตราสารอนุพันธ การซื้อขายในตลาดทีมระเบียบจะเปนการซื้อขายผาน ่ี ระบบซื้อขาย อาจเปนระบบ Electronic หรือ Open Outcry ก็ได โดยมีการเสนอซื้อและเสนอขาย เชนเดียวกับ ตลาดหลักทรัพย เมื่อมีราคาตกลงกันได ก็จะมีการจับคู คําสั่งซื้อขายขึ้น แตการชําระราคาและการสงมอบนั้น จะยังไมทําใน ปจจุบัน
  • 71. Futures Contracts มีการกําหนดสินทรัพยอางอิง (Underlying Assets) ที่ จะทําการซื้อขายลวงหนาไดหลายชนิด ซื้อขายในตลาดแบบมีระเบียบ (Exchange traded)
  • 72. Futures Contracts มีลักษณะเฉพาะที่จะตองระบุใหทราบ สินทรัพยอะไรที่สามารถทําการสงมอบได การสงมอบสินทรัพยนั้นจะกระทําที่ใด และสงมอบสินทรัพยเมื่อใด มีการคํานวณกําไรขาดทุนทุกวัน (Settled daily)
  • 73. (มารจิ้น) Margins Margin เปนเงินสดหรือหลักทรัพยในความตองการของตลาด ที่ ไดนํามาวางเปนหลักประกันของผูลงทุนในการลงทุน โดยนํา เงินดังกลาวมาวางไวที่นายหนาคาตราสารอนุพันธ การคํานวณยอดเงินใน Margin account จะมีการปรับยอดตาม กําไรขาดทุนทุกวัน (Daily settlement) Margins เปนการเรียกเก็บไวเพื่อการปองกันความเสี่ยงจากการ สูญเสีย อันเนืองมาจากการผิดสัญญา ่
  • 74. ความแตกตางจากตลาดหลักทรัพย การเขาซื้อหุน ผูลงทุนจะเปนเจาของหุน จนกวาจะมี การขายหุน ผูที่ขายหุนจะตองมีหุนในมือ กอนที่จะ ทําการขายหุน และไมสามารถขายหุนไดเกินกวา จํานวนหุนที่มีอยูไมได
  • 75. ความแตกตางจากตลาดหลักทรัพย แตการซื้อขายตราสารอนุพันธ เปนการทําสัญญา ระหวางกัน การทําสัญญาจึงสามารถทําไดอยางไม จํากัด (หากมีผูที่ตองการจะทําสัญญาไมจํากัด  จํานวน) การซื้อตราสารอนุพันธ จะมี ฐานะซื้อ (Long Position) หากขายตราสารอนุพันธ จะมี ฐานะขาย (Short Position)
  • 76. ตัวอยางของ Futures Trade ผูลงทุนทําสัญญาซื้อ (long position) สัญญาซื้อขาย ทองคําลวงหนา (Gold futures contracts) ในวันที่ 5 มิถุนายน ขนาดของสัญญา (contract size) คือ 100 oz. ราคาซื้อในอนาคต (futures price) คือ US$400
  • 77. ตัวอยางของ Futures Trade (ตอ) การวางเงินประกันเริ่มแรก (initial margin requirement) คือ US$2,000/สัญญา การรักษาระดับเงินประกันขั้นต่ํา (maintenance margin) คือ US$1,500/สัญญา
  • 78. ตัวอยางการคํานวณ Margin Balance ตาราง 2.1 หนา 28 การซื้อ (long position) ของสัญญาซื้อขายลวงหนา ทองคํา (Gold futures contract) จํานวน 2 สัญญา ซึ่ง ตองวางเงินประกันเริ่มแรก $2,000 หรือรวมกัน เทากับ $4,000 และตองรักษาระดับของเงินประกัน ขั้นต่ําอยูในวงเงิน $1,500 และรวมกันเทากับ $3,000
  • 79. ตัวอยางการคํานวณ Margin Balance ตาราง 2.1 หนา 28 ผูลงทุนไดทําการซื้อสัญญาซื้อขายลวงหนาฉบับนี้ในวันที่ 5 มิถนายน ที่ราคา $400 และปดสถานะของสัญญา วันที่ ุ 26 มิถุนายน ทีราคา $392.30 ่ เมื่อใดก็ตามทีมลคาของเงินในบัญชี Margin นันต่ํากวา ู่ ้ ระดับเงินประกันขันต่ํา (maintenance margin) ผูลงทุนจะ ้ ถูกเรียกใหนําเงินมาลงทุนเพิ่ม (margin call) จนมีเงิน เทากับจํานวน เงินประกันเริมแรก (initial margin) ่
  • 80. ตัวอยางการคํานวณ Margin Balance ตาราง 2.1 หนา 28 Daily Cumulative Margin Futures Gain Gain Account Margin Price (Loss) (Loss) Balance Call Day (US$) (US$) (US$) (US$) (US$) 400.00 4,000 5-Jun 397.00 (600) (600) 3,400 0 . . . . . . . . . . . . . . . . . . 13-Jun 393.30 (420) (1,340) 2,660 + 1,340 = 4,000 . . . . . . . . . . . . . . . . . < 3,000 19-Jun 387.00 (1,140) (2,600) 2,740 + 1,260 = 4,000 . . . . . . . . . . . . . . . . . . 26-Jun 392.30 260 (1,540) 5,060 0 ตาราง 2.1 หนา 28
  • 81. ลักษณะสําคัญบางประการของ Futures จะมีการปรับราคาตามราคาตลาดทุกวัน การปดสถานะของสัญญาซื้อขายลวงหนานั้น สามารถทําไดโดยการลงทุนกลับอีกขางหนึ่งในเวลา เดียวกัน สัญญาสวนใหญจะปดสถานะกอนสิ้นกําหนด ระยะเวลาตามที่กาหนดไวในสัญญา ํ
  • 82. Collateralization in OTC Markets ปจุบนการซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนาในตลาด ั OTC นั้น จะมีการเรียกหลักประกันเชนเดียวกับการ ซื้อขายใน Exchanged Trade วิธีการในการปรับราคาตามราคาตลาดนั้น ก็มีการ กระทําเชนเดียวกันกับFutures contract คือ อาจจะมี การปรับราคมทุกวัน หรือทุกสัปดาหเปนตน
  • 83. Futures Prices for Gold on Feb 4, 2004: Prices Increase with Maturity (a) Gold 408 407 Futures Price ($ per oz) 406 405 404 403 402 401 Contract Maturity Month 400 399 398 Feb-04 Apr-04 Jun-04 Aug-04 Oct-04 Dec-04
  • 84. Futures Prices for Oil on February 4, 2004: Prices Decrease with Maturity (b) Brent Crude Oil 30 Futures Price ($ per barrel) 29 28 27 26 Contract Maturity Month 25 24 Mar-04 May-04 Jul-04 Sep-04 Nov-04 Jan-05
  • 85. การสงมอบ Delivery ถาสถานะของ futures contract ไมไดปดสถานะลง กอนครบกําหนดอายุตามสัญญา จะเกิดการสงมอบสินทรัพย ตามสัญญา โดยผูที่มีสถานะ Short position นันจะเปน ้ ผูกําหนด สถานที่และเวลาในการสงมอบ สินทรัพยตามสัญญา สัญญาซื้อขายลวงหนาหากถือไวจนครบกําหนด จะตองมีการ สงมอบสินทรัพย ยกเวน การซื้อขายลวงหนาดัชนีหลักทรัพย หรือสินทรัพยอื่นที่ไมสามารถสงมอบได ที่จะตองชําระเปนเงิน สดแทน
  • 86. Terminology Open interest: จํานวนของสัญญาที่ทําการซื้อขายที่ปรากฎ ซึ่งปกติ จะนับโดยใชจํานวนสัญญาที่ long positions หรือ short positions Settlement price: ราคาซื้อขายสุดทายกอนตลาดปดทําการ เพื่อใช ในการคํานวณสถานะกําไรขาดทุนของผุลงทุนในแตละวัน (daily settlement process) Volume of trading: จํานวนของสัญญาที่มีการซื้อขายในแตละวัน
  • 87. Forward Contracts v.s. Futures Contracts FORWARDS FUTURES Private contract between 2 parties Exchange traded Non-standard contract Standard contract Usually 1 specified delivery date Range of delivery dates Settled at end of contract Settled daily Delivery or final cash Contract usually closed out settlement usually occurs prior to maturity Some credit risk Virtually no credit risk
  • 88. ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets ลักษณะของสัญญา สัญญาในตลาดแบบมีระเบียบ จะมีการกําหนดเปนมาตรฐาน เชน การซื้อขายยางพาราลวงหนา จะกําหนดเปนมาตรฐาน คือ ยางพาราแผนรมควันชั้น 3 ตามาตรฐานสากล จํานวน 5,000 กิโลกรัมสงมอบที่คลังสินคาในจังหวัด นครศรีธรรมราช ในวันทําการกอน 7 วันทําการสุดทายของ เดือนที่สงมอบ
  • 89. ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets หากเปนตลาดแบบ OTC สัญญาดังกลาวจะกําหนดเปน ยางประเภทใด จํานวนเทาใด สงมอบที่ด เมื่อใด ก็ได หากเปรียบกับการขายเสื้อผา ตลาดแบบมีระเบียบ สินคาที่จะนํามาขายจะมีการกําหนดมาตรฐาน S M L XL แตการซื้อขายใน OTC จะเปนการสั่งตัดเสื้อผา
  • 90. ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets ความสะดวกในการซื้อขาย ตลาดแบบมีระเบียบ จะมีความสะดวกมากกวา เพราะ สัญญาเปนมาตรฐาน มีขอกําหนดเหมือนกัน และมี  สถานที่ในการซื้อขายแนนอน ทําใหผูลงทุนมีความ สะดวกในการทีจะเขามาทําการซื้อขาย ่
  • 91. ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets และความสะดวกนี้ ทําใหตนุทนของสินคามีราคาต่า  ํ เชน หากเปรียบเทียบการซื้อเสื้อผาสําเร็จรูป กับการ สั่งตัดแลว จะพบวา เมื่อเสื้อผาซือตามาตรฐานจะมี ้ ความสะดวก และมีราคาทีต่ํากวา การสั่งตัด ซึ่ง ่ จะตองจัดทําขึนตามคําสั่งพิเศษของแตละบุคคล ้
  • 92. ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets การรับประกันการชําระราคาและสงมอบ ตลาดแบบมีระเบียบ จะมีสํานักหักบัญชี (Clearing House) เปนตัวกลาง เปนการปองกันความเสี่ยงของ คูสัญญาไมปฏิบัติตามสัญญา ตลาด OTC คูสัญญาจะตองแบกภาระความเสี่ยงเอาไว เอง
  • 93. ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets เชนเดียวกับการซื้อเสื้อผาสําเร็จรูป หากตองการใช เสื้อผาในงานตาง ๆ ถาเราซื้อเสื้อผาสําเร็จรูป ก็ไมตอง  กังวลเรื่องของการที่จะมีเสื้อผาใส แตถาใชเสื้อผาที่สั่ง ตัด เราตองคอยกังวลวาชางตัดเสื้อจะตัดไดถูกตองและ ตรงตามกําหนดหรือไม
  • 94. ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets สภาพคลอง การซื้อขายในตลาดแบบมีระเบียบ จะมีสภาพคลองสูง กวา เนื่องจากสัญญามีมาตรฐาน มีสํานักหักบัญชีเปนผู รับประกันความนาเชื่อถือ และสัญญาทุกสัญญาจะ สามารถปดสถานะไดตลอดเวลาจนกวาจะถึงวันครบ กําหนดการสงมอบ
  • 95. ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets หากเปนตลาด OTC สัญญาแตละฉบับมีความเปน เฉพาะตัว หากตองการปดสถานะจะกระทําไดยาก หาก ตองไปหาบุคคลที่สามมาเปนผูทําสัญญาในลักษณะ  ตรงขาม ความเสี่ยงจากคูสัญญาจะเพิ่มเปน 2 เทา หากซื้อเสื้อผาสําเร็จรูปแลวไมพอดี ก็สามารถเปลี่ยน ได แตถาหากสั่งตัดแลวไมพอดี จะขายตอคนอืนนั้น ่ กระทําไดยาก
  • 96. ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets การรับประกันความเสี่ยง การซื้อขายในตลาดแบบมีระเบียบ สํานักหักบัญชีเปน ผูค้ําประกัน จะเรียกวางเงินประกัน หรือ มารจน พรอม ิ้ ทั้งมีการปรับมูลคา (Mark to market) เพื่อดูการ เปลี่ยนแปลงของฐานะการลงทุนเมือเทียบกับวันกอน ่ หนาทุกชวงเวลาซื้อขาย
  • 97. ความแตกตางระหวาง Exchange Trade & OTC Markets ตลาดแบบมีระเบียบที่มีการพัฒนาแลว ปกติจะไมมี การสงมอบและชําระราคาจริง จะเปนการชําระสวน ตางของราคาสินคา (Cash Settlement) แตตลาดแบบ OTC จะมีการสงมอบสินคาจริง (Physical Delivery)
  • 98. ตลาดที่สมบูรณ (Perfect Market) การเปนตลาดทีสมบูรณจะตองประกอบดวยเงื่อนไข 4 ขอ ่ สภาพคลอง (Liquidity) ความตอเนืองของราคา (Price Continuity) ่ ความเสมอภาค (Fairness) ความเทาเทียมในการเขาถึงขอมูล (Equal Access to Information)
  • 99. ผูคาในตลาดตราสารอนุพันธ ผูปองกันความเสี่ยง (Hedger) นักเก็งกําไร (Speculator) นักคากําไร (Arbitrageur)
  • 100. ผูปองกันความเสี่ยง (Hedger) เปนผูที่เขามาซื้อขายตราสารอนุพันธเพื่อปองกันความ  เสี่ยงของตนเอง ตัวอยาง 1 บริษท A สั่งซื้อสินคาจากตางประเทศ โดยจะมี ั การชําระเงินในอีก 3 เดือนขางหนา จํานวน 10 ลาน ดอลลารสหรัฐ บริษท A มีความกังวลวาอัตราแลกเปลี่ยน ั จะเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต
  • 101. ผูปองกันความเสี่ยง (Hedger) หากอัตราแลกเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงไป บริษัทอาจตองชําระ เงินเพิ่มขึ้นในอนาคต ดังนั้นบริษัทอาจตัดสินใจซื้อสัญญาฟว เจอรสของอัตราแลกเปลี่ยน เชน 38.50 บาท เพื่อปองกัน ความเสี่ยง เมื่อครบกําหนด 6 เดือน บริษัทก็จะชําระเงินเพียง 38,500,000 บาท เทานั้น ไมวาอัตราแลกเปลี่ยนจะ เปลี่ยนแปลงไปอยางไร
  • 102. ผูปองกันความเสี่ยง (Hedger) ตัวอยาง 2 กองทุนรวมทีลงทุนในตลาดหลักทรัพยแหง ่ ประเทศไทย ที่ดัชนี 600 จุด จํานวน 600 ลานบาท ผูบริหารกองทุนกลัววาราคาหลักทรัพยจะลดลง ผูบริหาร จึงตัดสินใจซื้อ Put Option ทีหสิทธิขายดัชนี SET Index ่ ในระดับราคา 600 จุด ในอีก 3 เดือนขางหนา ทีราคา ่ Premium 15 จุด
  • 103. ผูปองกันความเสี่ยง (Hedger) หากดัชนีปรับตัวเปน 700 จุด ผูบริหารกองทุนก็จะไมใช สิทธิตามสัญญา หากเกิดเหตุการณตามที่คาดคิดไว ผูบริหารกองทุนจะใช  สิทธิตามสัญญา เชน ดัชนีตกเหลือ 500 จุด ผูบริหาร กองทุนจะใชสิทธิเรียกเงินจากผูขาย Put Option กลับคืน มา จํานวน 100 ลานบาท
  • 104. ผูปองกันความเสี่ยง (Hedger) (600 จุด – 500 จุด) x 1,000,000 บาท 1 จุด เทากับ 1,000,000 บาท กําไรดังกลาวเปนการชดเชยมูลคาเงินลงทุนทีลดลง ่ อยางไรก็ตามผูบริหารกองทุนจะตองจายคา Premium 15  จุด ๆ ละ 1,000,000 บาท เชนเดียวกัน (รวม 15 ลานบาท)
  • 105. ขอสังเกต การใช Futures Contract เพื่อปองกันความเสี่ยง เมื่อราคา เปลี่ยนแปลง ผูปองกันจะไมไดผลกระทบ คือ ไมกําไร และไมขาดทุน การใช Put Option Contract เพื่อปองกันความเสี่ยง มี ตนทุนในการปองกันความเสี่ยง แตไมขาดทุน มีโอกาส ในการทํากําไรเพิ่ม
  • 106. นักเก็งกําไร (Speculator) ผูทหวังกําไรสวนตางของราคาซื้อกับราคาขาย โดย ี่ ยอมรับความเสี่ยงที่อาจขาดทุนได หากทิศทางของราคา ไมเปนไปตามที่กําหนด ตัวอยาง 1 นักเก็งกําไรคาดวาราคายางพาราในอีก 6 เดือน ขางหนาจะอยูที่กิโลกรัมละ 55 บาทตอกิโลกรัม ปจจุบัน การซื้อขายยางพาราในตลาดอยูที่กิโลกรัมละ 50 บาทตอ  กิโลกรัม
  • 107. นักเก็งกําไร (Speculator) มีคาเก็บรักษายางพารากิโลกรัมละ 4 บาทตอ 6 เดือน นัก  เก็งกําไรจึงทําการเก็งกําไรโดยซื้อยางพาราในราคา 50 บาท จากนั้นเก็บรักษาไว 6 เดือน ถาราคายางพาราใน อนาคตเปนไปดังคาด นักเก็งกําไรจะไดกําไร กิโลกรัมละ 1 บาท (ตนทุน 50 + 4 = 54 บาท)
  • 108. นักเก็งกําไร (Speculator) หากปริมาณฝนในชวงนี้ตกมากอยางตอเนือง ปริมาณยาง ่ ที่ผลิตไดอาจลดลงกวาปกติ ไมเพียงพอตอความตองการ ในการใชงาน บริษทผูทตองใชยางพาราในการผลิตเปนวัตถุดบ กังวลวา ั ี่ ิ จะไมมียางพาราอยางเพียงพอในการผลิต จึงทําการซื้อ ยางพาราลวงหนา (Futures contract) ที่จะสงมอบในอีก 6 เดือนขางหนา
  • 109. นักเก็งกําไร (Speculator) บริษทดังกลาวอาจยอมจายเงินในราคาทีสูงเพื่อตองการ ั ่ ซื้อวัตถุดบใหไดตามจํานวน เชน อาจกําหนดราคาซื้อที่ ิ 55.50 บาทตอกิโลกรัม นักเก็งกําไรก็จะขายสัญญาขายลวงหนาใหแกบริษัท ดังกลาวในราคา 55.50 บาทตอกิโลกรัม นักเก็งกําไรจะได กําไรทันที 1.50 บาทตอกิโลกรัม
  • 110. นักเก็งกําไร (Speculator) ตัวอยาง 2 นักเก็งกําไรมีเงินลงทุน 600,000 บาท โดยนัก เก็งกําไรคาดวาราคาของหลักทรัพยที่ตองการจะลงทุนจะ มีราคาเพิ่มจากปจจุบัน 60 บาท ไปเปน 70 บาท ในขณะนั้นมี Call Option ของหุนสามัญของหลักทรัพย  ดังกลาวขายอยูในราคา 62 บาท ในอีก 3 เดือนขางหนา จํา หนายอยุในราคา (Premium) 3 บาท
  • 111. นักเก็งกําไร (Speculator) นักเก็งกําไรผูนสามารถเลือกลงุนได 2 วิธี คือ  ี้ แบบที่ 1 ลงทุนในหุนสามัญของหลักทรัพยดังกลาว  จํานวน 10,000 หุนๆ ละ 60 บาท เปนเงิน 600,000 บาท  แบบที่ 2 ลงทุนใน Call Option ของหลักทรัพย ดังกลาว จํานวน 200,000 สัญญาๆ ละ 3 บาท เปนเงิน 600,000 บาท
  • 112. นักเก็งกําไร (Speculator) หากเวลาผานไป 3 เดือน หลักทรัพยดังกลาวราคา เปลี่ยนไปเปน 70 บาท แบบที่ 1 นักเก็งกําไรจะไดกําไร 100,000 บาท [(70 – 60) x 10,000] แบบที่ 2 นักเก็งกําไรจะไดกําไร 1,000,000 บาท [(70 – 62 – 3) x 200,000]
  • 113. นักเก็งกําไร (Speculator) หากราคาไมเปนไปตามที่คาดการณ คือ ราคาลดลงเหลือ 50 บาท แบบที่ 1 นักเก็งกําไรจะขาดทุน 100,000 บาท [(50 – 60) x 1,000] แบบที่ 2 นักเก็งกําไรจะขาดทุน 600,000 บาท โดยไม ใชสิทธิตามสัญญา
  • 114. ขอสังเกต การเก็งกําไรโดยใช Option นั้น หากการคาดคะเน สามารถกระทําไดถูกตอง ก็จะสามารถทํากําไรได มหาศาล แตหากวิเคราะหทศทางผิดพลาดก็จะ ิ ขาดทุนมหาศาลเชนเดียวกัน
  • 115. นักคากําไร (Arbitrageur) ผูที่ทากําไรจากความไมเทาเทียมกันของขอมูลขาวสารใน ํ ตลาด ตัวอยาง 1 บริษท A มีราคาหลักทรัพยอยูที่ 10 บาทตอหุน ั  ในขณะเดียวกัน Call Option ของบริษัท A ใหสิทธิในการ ซื้อหุนสามัญในราคา 8 บาทตอหุน ในอีก 1 เดือนขางหนา   มีคา Premium ที่ 1.20 บาท 
  • 116. นักคากําไร (Arbitrageur) หากนักคากําไร ทําการยืมหุนของบริษัท A มาขายออกไปกอน จากนันซื้อ Call Option มาเก็บไว เมื่อเวลาผานไ 1 เดือน ก็ใช ้ สิทธิในการซื้อหุน และนํามาคืนใหแกผูที่หยืม จะเห็นไดวานักคากําไร จะทํากําไร 0.80 บาท [10 – 8 – 1.20] ตอ  หุน โดยปราศจากความเสี่ยง การทํากําไรเชนนีจะไมสามารถทําไดนาน เพราะเมื่อทุกคน ้ ทราบก็จะใชกลยุทธเดียวกัน
  • 117. ลักษณะของสัญญา Futures สัญญาที่ถูกจัดทําขึ้นระหวางคูสัญญา 2 ฝาย โดยกําหนด วาจะมีการซื้อขายสินคาอางอิง (Underlying assets) อยาง หนึ่งอยางใด ในอนาคต (Maturity Date/Delivery Date) ตามราคาทีตกลงกันไว ่
  • 118. ตลาด Futures ประเทศพัฒนาแลวสวนใหญ จะมีตลาดทีจัดตั้งขึ้นอยางมี ่ ระเบียบ ทําการซื้อขายสัญญาประเภทนี้เกือบทุกประเทศ ประเทศไทย มีตลาดที่ทําการซื้อขายสัญญา Futures ใน ปจจุบัน อยูจํานวน 2 ตลาด คือ ตลาดซื้อขายสินคาเกษตรลวงหนา (AFET) ตลาดอนุพันธ (TFEX)
  • 119. ความแตกตางระหวาง Futures & Forward ความเปนมาตรฐาน (Contract Specification) สัญญาแบบ Futures จะกําหนดในเรืองคุณภาพของสินคาอางอิง ขนาด ่ ของสัญญา วิธีการและสถานที่ในการชําระราคาและสง มอบ วันทีตองทําการชําระราคาและสงมอบ ่ การซื้อขายสัญญา สัญญา Futures จะซื้อขายในศูนยซื้อ ขาย
  • 120. ความแตกตางระหวาง Futures & Forward การประกันการสงมอบและชําระราคา สัญญาแบบ Futures จะมี Clearing House เปนตัวกลางในการจัดการ ผู ซื้อขาย Futures จึงไมตองกังวลเรื่องความเสี่ยงจาก คูสัญญา การยกเลิกสัญญา สัญญาแบบ Futures สามารถเลิกไดโดย การปดสถานะ แต Forward ไมสามารถทําได
  • 121. ความแตกตางระหวาง Futures & Forward การสงมอบ โดยทั่วไปสัญญา Futures จะทําขึนเพื่อการ ้ ปองกันความเสี่ยงทางการเงิน ผุทาการซื้อหรือขายสัญญา ํ มักจะปดสถานะของตนกอนวันครบกําหนดสัญญา ทําให การสงมอบจริงนั้นเกิดขึ้นนอยมาก การปรับมูลคา (Daily mark to market) ตองกระทําทุกวัน เพื่อตรวจสอบสถานะและเรียกเก็บเงินสวนตาง
  • 122. การซื้อขายสัญญาฟวเจอร เมื่อผูลงทุนทําสัญญาซื้อ Futures หมายความวา เปน การเขาไปผูกพันวาจะซื้อสินทรัพย และมีภาระที่ จะตองซื้อในอนาคต โดยสถานะรอซื้อนี้เรียกวา Long Position และในทางกลับกัน เมื่อเปนสถานะรอขายจะเรียกวา Short Position
  • 123. การซื้อขายสัญญาฟวเจอร การซื้อขายสัญญา Futures เปนการทําสัญญาจะซื้อจะขาย แตยังไมมการซื้อขายสินคาจริง หากผูลงทุนมีความเห็น ี ตรงกัน จะเขามาจับคูซื้อขายกัน จํานวนสัญญาก็จะเพิ่มขึน ้ จํานวนของสัญญาที่มีการเปดฐานะ (มีภาระผูกพัน) เรียกวา Open Interest
  • 124. การซื้อขายสัญญาฟวเจอร Open Interest จะแตกตางจากจํานวนหลักทรัพยของตรา สารทางการเงินตาง ๆ เชน หุนสามัญของบริษัทหนึ่งมี  จํานวน 100 ลานหุน แสดงวามีหนอยูไมเกิน 100 ลานหุน  ุ  แตจํานวนของ Open Interest นันสามารถเพิ่มขึ้นหรือ ้ ลดลงไดตามความตองการของคูสัญญาที่ตกลงกัน เชน
  • 125. การซื้อขายสัญญาฟวเจอร ตัวอยางที่ 1 นักลงทุน 4 คน นาย ก. ข. ค. และ ง. สนใจ ลงทุนใน สัญญา Futures ของธนาคารแหงหนึ่ง วันที่ 1 นาย ก. ซื้อ Futures Contract 2 ฉบับ และนาย ข. ขาย Futures Contract 2 ฉบับ สรุป ปริมาณการซื้อขาย 2 ฉบับ Open Interest = 2 นาย ก. Long Position = 2, นาย ข. Short Position = 2
  • 126. การซื้อขายสัญญาฟวเจอร วันที่ 2 นาย ก. ซื้อ Futures Contract 2 ฉบับ นาย ค. ขาย Futures Contract 2 ฉบับ สรุป ปริมาณการซื้อขาย 2 ฉบับ Open Interest = 4 นาย ก. Long Position = 4, นาย ข. Short Position = 2, และ นาย ค. Short Position = 2
  • 127. การซื้อขายสัญญาฟวเจอร วันที่ 3 นาย ก. ขาย Futures Contract 1 ฉบับ นาย ง. ซื้อ Futures Contract 1 ฉบับ สรุป ปริมาณการซื้อขาย 1 ฉบับ Open Interest = 4 นาย ก. Long Position = 3, นาย ข. Short Position = 2, นาย ค. Short Position = 2, และ นาย ง. Long Position = 1
  • 128. การซื้อขายสัญญาฟวเจอร วันที่ 4 นาย ก. ขาย Futures Contract 2 ฉบับ นาย ข. ซื้อ Futures Contract 1 ฉบับ และ นาย ค. ซื้อ 1 ฉบับ สรุป ปริมาณการซื้อขาย 2 ฉบับ Open Interest = 2 นาย ก. Long Position = 1, นาย ข. Short Position = 1, นาย ค. Short Position = 1, และ นาย ง. Long Position = 1
  • 129. ผลตอบแทนและความเสี่ยงของสัญญา Futures ผลกําไรของผูซื้อสัญญา Futures จะเปลี่ยนแปลงไปใน ทิศทางเดียวกับราคาของสินคาอางอิง หากราคาสินคา อางอิงเพิ่มขึ้น มูลคาของ Futures Contract จะเพิ่มขึนดวย ้ หากสินคาอางอิงราคาลดลง มูลคาของFutures Contract จะลดลงดวย
  • 132. Zero-Sum Game สัญญา Futures เปนสัญญาที่ ผล กําไรที่คูสญญาฝายหนึ่งไดรับผล ั ขาดทุนที่อีกฝายหนึ่งตองชําระ ออกไป
  • 133. Long & Short Hedges การทํา long futures hedge นันจะกระทําเมือ ผูลงทุนวางแผนที่ ้ ่ จะซื้อสินทรัพยที่กําหนดตามสัญญาในอนาคต และตองการที่จะ ควบคุมไมใหราคาเปลี่ยนแปลงไปจากที่ตองการในอนาคต  การทํา short futures hedge นันจะกระทําเมือ ผูลงทุนตองการที่ ้ ่ จะขายสินทรัพยที่กําหนดไวในสัญญาในอนาคต และตองการที่ จะควบคุมไมใหราคาเกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากที่คาดการณไว
  • 134. ขอสนับสนุนของการใช Futures ในการปองกันความเสียง ่ บริษทที่ใชเครื่องมือนี้ในการปองกันความเสี่ยงจะ ั สามารถดําเนินธุรกิจไดตามที่ไดตั้งเปาไว เพราะ เครื่องมือตาง ๆ เหลานีจะชวยในการลดความเสี่ยง ้ จากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย อัตรา แลกเปลี่ยน ตลอดจนปจจัยอื่น ๆ ที่จะมีผลกระทบ ตอผลกําไรของบริษท ั
  • 135. ขอโตแยงของการใช Futures ในการปองกันความเสียง ่ ผูถือหุนสามัญทุกคนโดยปกติจะลงทุนโดยการ กระจายการลงทุนอยูแลว ดังนั้นการตัดสินใจ ปองกันเสี่ยงจึงเปนเรื่องของการตัดสินใจสวนบุคคล บริษทอาจมีความเสี่ยงเพิ่มมากขึน ถาคูแขงขันไมได ั ้ ดําเนินการปองกันความเสี่ยงเชนเรา
  • 136. Convergence of Futures to Spot (Hedge initiated at time t1 and closed out at time t2) Futures Price Spot Price Time t1 t2
  • 137. Basis Risk Basis คือผลตางระหวางราคา ณ วันปจจุบัน (spot) กับราคาในอนาคต (futures) Basis risk เกิดขึ้นจากความไมแนนอนของ ผลตางระหวางราคาดังกลาว
  • 138. Short Hedges สมมติใหราคาน้ํามันดิบมีราคา ณ วันที่ 15 มิถุนายน (Spot Price) เทากับ US$19 ตอบาเรล และมีราคา ตามสัญญาขายลวงหนา 3 เดือน ในตลาด NYMEX ของวันที่ 15 สิงหาคม US$18.75 ตอบาเรล สัญญาซื้อขายลวงหนาน้ํามันดิบในตลาด NYMEX มีขนาด 1,000 บาเรล ตอ 1 สัญญา
  • 139. Short Hedges ถาผูลงทุนทําการขายลวงหนา น้ํามันดิบ ตามสัญญา จํานวน 1,000 สัญญา ในราคา บาเรลละ US$18.75 สําหรับวันที่ 15 สิงหาคม เพื่อเปนการปองกันความเสี่ยง จากการเปลี่ยนแปลงของราคา
  • 140. Short Hedges หากราคาน้ํามันดิบ ณ วันที่ 15 สิงหาคม มีราคา เทากับ US$17.50 ผูลงทุนจะสามารถขายน้ํามันดิบ ไดตามราคาในสัญญา คือ US$18.75 ดังนั้นผูลงทุนจะไดกําไร US$18.75 – US$17.50 = US$1.25 ตอบาเรล
  • 141. Short Hedges ผูลงทุนไดลงทุนใน Futures contract จํานวน 1,000 สัญญา ทําใหจะสามารถขายน้ํามันดิบไดจํานวน ทั้งสิ้น 1,000,000 บาเรล ดังนั้น ผูลงทุนจะไดกําไรทั้งสิ้น US$1.25 * 1,000,000 บาเรล = US$1,250,000
  • 142. Short Hedges หากราคาน้ํามันดิบ ณ วันที่ 15 สิงหาคม มีราคา เทากับ US$19.50 ผูลงทุนก็ยังจะสามารถขาย น้ํามันดิบไดตามราคาในสัญญา คือ US$18.75 ดังนั้นผูลงทุนจะขาดทุน US$19.50 – US$18.75 = US$0.75 ตอบาเรล
  • 143. Short Hedges ผูลงทุนไดลงทุนใน Futures contract จํานวน 1,000 สัญญา ทําใหจะสามารถขายน้ํามันดิบไดจํานวน ทั้งสิ้น 1,000,000 บาเรล ดังนั้น ผูลงทุนจะไดขาดทุนทั้งสิ้น US$0.75 * 1,000,000 บาเรล = US$750,000
  • 144. Long Hedges โรงงานผลิตอุปกรณจากทองแดง ตองการใช ทองแดงจํานวน 100,000 ปอนด ในวันที่ 15 พฤษภาคม ราคาปจจุบันของทองแดง ณ วันที่ 15 มกราคม มี ราคา 140 เซ็นตตอปอนด
  • 145. Long Hedges ราคาในอนาคต ตามสัญญาซื้อขายลวงหนา ของ เดือนพฤษภาคม ในตลาด NYMEX มีราคา 120 เซ็นตตอปอนด สําหรับวันที่ 15 พฤษภาคม สัญญาทีทําการซื้อขายในตลาดนั้นมีจํานวนสัญญา ่ ละ 25,000 ปอนด ของทองแดง
  • 146. Long Hedges สมมติราคาของทองแดงในวันที่ 15 พฤษภาคม มีราคาเทากับ 125 เซ็นตตอปอนด สัญญา ดังกลาวจะมีกําไรเทากับ 100,000 x ($1.25 - $1.20) = $5,000
  • 147. Long Hedges แตในทางกลับกัน หากราคาของทองแดงมีคา เทากับ 105 เซ็นตตอปอนด ในวันที่ 15 พฤษภาคม สัญญาดังกลาวจะขาดทุนเทากับ 100,000 x ($1.20 - $1.05) = $15,000
  • 148. ประเภทของสัญญา Futures สัญญา Futures ในอัตราดอกเบี้ย เปนการซื้อขายลวงหนาในตราสารที่เกี่ยวของกับอัตรา ดอกเบี้ย ไดแก ตราสารหนี้ประเภทตาง ๆ กําหนดราคาตาม ดอกเบี้ยที่ตกลงลวงหนา สัญญา Futures ประเภทนี้มักมีการ ชําระราคาและสงมอบจริง ตัวอยาง Futures ของตั๋วเงินคลังสหรัฐ ตั๋วเงินยูโรดอลลาร พันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ
  • 149. ประเภทของสัญญา Futures สัญญา Futures ในเงินตราตางประเทศ การตกลงทําสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ลวงหนา เพื่อปองกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ ไมคงที่ ตัวอยาง สัญญา Futures ของ เงินปอนดสเตอรลิงของ อังกฤษในตลาดสหรัฐอเมริกา
  • 150. ประเภทของสัญญา Futures สัญญา Futures ในดัชนีราคาหลักทรัพย เปนการตกลงที่จะซื้อขายดัชนีหลักทรัพยลวงหนา ชวยทําใหการลงทุนทําไดงายขึ้น สัญญาชนิดนี้จะมีการ สงมอบสวนตางเปนเงินสด เนื่องจากไมสามารถสง มอบดัชนีได ตัวอยาง สัญญา Futures ดัชนี S&P500 ดัชนี Dow Jones ดัชนี SET50Index เปนตน
  • 151. ประเภทของสัญญา Futures สัญญา Futures ของสินคาโภคภัณฑ มีลักษณะคลายกับสัญญา Futures ทางการเงิน เพียงแตสินคา ที่นํามาอางอิงนั้นจะเปลี่ยนจาก สินทรัพยทางการเงิน มาเปน น้ํามัน ยางพารา ขาว ขาวโพด ถั่ว ฯลฯ กรรมวิธีในการประเมินราคาของสัญญา Futures ของสินคา โภคภัณฑนั้นจะตางจาก การประเมินของ Futures ทาง การเงิน