SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 4
Downloaden Sie, um offline zu lesen
ใบความรู้ เรื่อง เข็มทิศ
                                           ระดับชั้น ม.4

       เข็มทิศ หมายถึง เครื่องมือชี้บอกแนวทิศ ที่มีลูกศรเป็นเข็มแม่เหล็กเป็นตัวชี้ เราสามารถใช้เข็มทิศ
ได้โดยวางเข็มทิศบนพื้นราบ หรือถือเข็มทิศให้อยู่ในแนวระนาบให้ถูกต้องก่อนมองดูที่หน้าปัดเข็มทิศแล้ว
ค่อยๆหมุนปรับให้หัวลูกศรตรงกับตัวอักษร N ซึ่งแสดงทิศเหนือ เพราะหัวลูกศรทาจากแม่เหล็กจะชี้ไปทาง
ทิศเหนือ(ทิศเหนือแม่เหล็ก) เสมอ

        เข็มทิศ (อังกฤษ: magnetic compass) คือเครื่องมือสาหรับใช้หาทิศทาง มีเข็มแม่เหล็กที่แกว่งไกว
ได้อิสระในแนวนอนทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ ตามแรงดึงดูดของแม่เหล็กโลก และที่หน้าปัดมีส่วนแบ่ง
สาหรับหาทิศทางโดยรอบ เข็มทิศจึงมีปลายชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ (อักษร N หรือ น) เมื่อทราบทิศเหนือ
แล้ว ย่อมหาทิศอื่นได้โดยหันหน้าไปทางทิศเหนือ ด้านขวามือเป็นทิศตะวันออก ด้านซ้ายมือเป็นทิศ
ตะวันตก ด้านหลังเป็นทิศใต้ การบอกทิศทางในแผนที่โดยทั่วไป คือการบอกเป็นทิศที่สาคัญ 4 ทิศ คือทิศ
เหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก หรือ อาจจะบอกละเอียดเป็น 8,16 หรือ 32 ทิศก็ได้

เข็มทิศมีหลายชนิด
        1. เข็มทิศตลับธรรมดา หาแนวทิศเหนือได้แต่หามุมอาซิมุทไม่ได้ เป็นเข็มทิศแม่เหล็กเล็กๆ




        2. เข็มทิศแบบ เลนซาติก ฝาตลับมีช่องเล็ง มีเส้นลวดขึงไว้ตรงกลางช่องฝา เพื่อให้ประกอบ
การเล็งที่หมาย
3. เข็มทิศข้อมือ




      4. สาหรับเข็มทิศของลูกเสือ เรียกว่า เข็มทิศซิลวา (Silva) ชนิด 360 องศา เป็นเข็มทิศที่ทาใน
ประเทศสวีเดน ทั่วโลกนิยมใช้มาก




       ข้อควรระวังในการใช้เข็มทิศ
             ควรจับถือเข็มทิศด้วยความระมัดระวัง เพราะหน้าปัดและเข็มแม่เหล็กบอบบางอ่อนไหวง่าย
แรงกระแทกอาจทาให้เสียหายได้ การอ่านเข็มทิศนั้น ไม่ควรกระทาใกล้ ๆ กับสิ่งที่เป็นเหล็ก หรือ
วงจรไฟฟ้า แรงกระแทกอาจทาให้เสียหายได้ การอ่านเข็มทิศไม่ควรกระทาใกล้ กับสิ่งที่เป็นแม่เหล็ก
หรือวงจรไฟฟ้า ควรคานึงถึงระยะปลอดภัยในการใช้เข็มทิศโดยประมาณ ไว้ต่อไป

                 สายไฟแรงสูง ๖๐ หลา                 รถถัง ๒๐ หลา
                    รถยนต์ ๒๐ หลา                 สายโทรเลข ๑๐ หลา
                   โทรศัพท์ ๑๐ หลา                ลวดหนาม ๑๐ หลา
                   ปืนใหญ่ ๑๐ หลา                   ปืนเล็ก ๑ หลา
การหาทิศโดยใช้เข็มทิศ
              ทิศเหนือ เป็นทิศสมมติที่ถือเป็นจุดเริ่มต้น เพื่อสะดวก ในการใช้เข็มทิศ ที่หน้าปัดเข็มทิศ
นอกจากจะมีเครื่องหมายแสดงทิศแล้ว ยังมีตัวเลขเพิ่มจานวนไปตามเข็มนาฬิกา เริ่ม ๐ ที่ทิศเหนือแล้วหมุน
ตามเข็มนาฬิกากลับไปที่ทิศเหนือมีเลข ๓๖๐ เป็นตัวเลขบอกองศา เมื่อเราหาทิศได้ เราก็จะทราบทิศอื่น ๆ
ได้ โดยหันหน้าไปทางทิศเหนือ ข้างหลังคือทิศใต้ ขวามือเป็นทิศตะวันออก ซ้ายมือจะเป็นทิศตะวันตก

ส่วนประกอบของเข็มทิศ




        1.   แผ่นฐานเป็นตัววัตถุโปร่งใส
        2.   ขอบเข็มทิศ มีมาตราส่วนเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร
        3.   ลูกศรชี้ทิศทาง
        4.   เลนส์ขยาย
        5.   ตลับเข็มทิศเป็นวงกลมหมุนได้ บนกรอบหน้าปัดของเข็มทิศมี 360 องศา
        6.   ปลายเข็มทิศเป็นแม่เหล็กสีแดง ซึ่งจะชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ
        7.   ตาแหน่งสาหรับตั้งมุมและอ่านค่ามุม อยู่ตรงปลายลูกศรชี้ทิศทาง
การใช้เข็มทิศซิลวา ในการสารวจพื้นที่ 2 วิธี คือ
     1. การตั้งมุม โดยใช้เข็มทิศซิลวา
            ในกรณี ที่ทราบค่ามุมแอซิมัส เช่น กาหนดให้ 60 องศา หรือ20,60,120, อื่นๆ ที่เราต้องการ
ทราบว่า จะต้องเดินไปทิศทางใด มีวิธีปฏิบัติ ดังนี้
         1. ให้ถือเข็มทิศบนฝ่ามือ หรือบนสมุดในแนวระนาบ โดยให้เข็มแม่เหล็กแกว่งไปมาได้อิสระ
         2. หมุนกรอบหน้าปัดของตลับเข็มทิศ ให้เลข 60 อยู่ตรงขีดตาแหน่ง ตั้งมุม
         3. หันเหตัวเข็มทิศทั้งฐาน จนกว่าเข็มแม่เหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศชี้ตรงกับอักษร N
บนกรอบหน้าปัด
         4. เมื่อลูกศรชี้ทิศทาง ชี้ไปทางทิศใดให้เดินไปตามทิศทางนั้น

     2. การวัดมุม โดยใช้เข็มทิศซิลวา
           กรณีที่จะหาค่าของมุมแอซิมัส ณ จุดที่เรายืนอยู่ไปยังทิศทางที่เราจะเดินทางไป
        1. ถือเข็มทิศบนฝ่ามือ หรือบนสมุด ในแนวระนาบ
        2. หันลูกศรชี้ทิศทางไปยังจุดหรือตาแหน่ง ที่เราจะเดินทางไป
        3. หมุนกรอบหน้าปัดเข็มทิศไปจนกว่าอักษร N บนกรอบหน้าปัดอยู่ตรงปลายเข็มแม่เหล็กสีแดง
ในตลับเข็มทิศ
        4. ตัวเลขบนกรอบหน้าปัดที่อยู่ตรงขีดตาแหน่ง สาหรับตั้งมุมและอ่านค่ามุม คือค่าของมุมทึ่เรา
ต้องการทราบ

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
Ngamsiri Prasertkul
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
website22556
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
Jessie SK
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
Petsa Petsa
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
thkitiya
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
ทับทิม เจริญตา
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
Yanee Chaiwongsa
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
Maikeed Tawun
 

Was ist angesagt? (20)

แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 

Mehr von thnaporn999

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
thnaporn999
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัท
thnaporn999
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
thnaporn999
 
ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์
thnaporn999
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
thnaporn999
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
thnaporn999
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียว
thnaporn999
 
สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์
thnaporn999
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
thnaporn999
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
thnaporn999
 
ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจ
thnaporn999
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
thnaporn999
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
thnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
thnaporn999
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทาน
thnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
thnaporn999
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
thnaporn999
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
thnaporn999
 

Mehr von thnaporn999 (20)

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัท
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียว
 
สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
 
ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจ
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 

เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง เข็มทิศ ระดับชั้น ม.4 เข็มทิศ หมายถึง เครื่องมือชี้บอกแนวทิศ ที่มีลูกศรเป็นเข็มแม่เหล็กเป็นตัวชี้ เราสามารถใช้เข็มทิศ ได้โดยวางเข็มทิศบนพื้นราบ หรือถือเข็มทิศให้อยู่ในแนวระนาบให้ถูกต้องก่อนมองดูที่หน้าปัดเข็มทิศแล้ว ค่อยๆหมุนปรับให้หัวลูกศรตรงกับตัวอักษร N ซึ่งแสดงทิศเหนือ เพราะหัวลูกศรทาจากแม่เหล็กจะชี้ไปทาง ทิศเหนือ(ทิศเหนือแม่เหล็ก) เสมอ เข็มทิศ (อังกฤษ: magnetic compass) คือเครื่องมือสาหรับใช้หาทิศทาง มีเข็มแม่เหล็กที่แกว่งไกว ได้อิสระในแนวนอนทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ ตามแรงดึงดูดของแม่เหล็กโลก และที่หน้าปัดมีส่วนแบ่ง สาหรับหาทิศทางโดยรอบ เข็มทิศจึงมีปลายชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ (อักษร N หรือ น) เมื่อทราบทิศเหนือ แล้ว ย่อมหาทิศอื่นได้โดยหันหน้าไปทางทิศเหนือ ด้านขวามือเป็นทิศตะวันออก ด้านซ้ายมือเป็นทิศ ตะวันตก ด้านหลังเป็นทิศใต้ การบอกทิศทางในแผนที่โดยทั่วไป คือการบอกเป็นทิศที่สาคัญ 4 ทิศ คือทิศ เหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก หรือ อาจจะบอกละเอียดเป็น 8,16 หรือ 32 ทิศก็ได้ เข็มทิศมีหลายชนิด 1. เข็มทิศตลับธรรมดา หาแนวทิศเหนือได้แต่หามุมอาซิมุทไม่ได้ เป็นเข็มทิศแม่เหล็กเล็กๆ 2. เข็มทิศแบบ เลนซาติก ฝาตลับมีช่องเล็ง มีเส้นลวดขึงไว้ตรงกลางช่องฝา เพื่อให้ประกอบ การเล็งที่หมาย
  • 2. 3. เข็มทิศข้อมือ 4. สาหรับเข็มทิศของลูกเสือ เรียกว่า เข็มทิศซิลวา (Silva) ชนิด 360 องศา เป็นเข็มทิศที่ทาใน ประเทศสวีเดน ทั่วโลกนิยมใช้มาก ข้อควรระวังในการใช้เข็มทิศ ควรจับถือเข็มทิศด้วยความระมัดระวัง เพราะหน้าปัดและเข็มแม่เหล็กบอบบางอ่อนไหวง่าย แรงกระแทกอาจทาให้เสียหายได้ การอ่านเข็มทิศนั้น ไม่ควรกระทาใกล้ ๆ กับสิ่งที่เป็นเหล็ก หรือ วงจรไฟฟ้า แรงกระแทกอาจทาให้เสียหายได้ การอ่านเข็มทิศไม่ควรกระทาใกล้ กับสิ่งที่เป็นแม่เหล็ก หรือวงจรไฟฟ้า ควรคานึงถึงระยะปลอดภัยในการใช้เข็มทิศโดยประมาณ ไว้ต่อไป สายไฟแรงสูง ๖๐ หลา รถถัง ๒๐ หลา รถยนต์ ๒๐ หลา สายโทรเลข ๑๐ หลา โทรศัพท์ ๑๐ หลา ลวดหนาม ๑๐ หลา ปืนใหญ่ ๑๐ หลา ปืนเล็ก ๑ หลา
  • 3. การหาทิศโดยใช้เข็มทิศ ทิศเหนือ เป็นทิศสมมติที่ถือเป็นจุดเริ่มต้น เพื่อสะดวก ในการใช้เข็มทิศ ที่หน้าปัดเข็มทิศ นอกจากจะมีเครื่องหมายแสดงทิศแล้ว ยังมีตัวเลขเพิ่มจานวนไปตามเข็มนาฬิกา เริ่ม ๐ ที่ทิศเหนือแล้วหมุน ตามเข็มนาฬิกากลับไปที่ทิศเหนือมีเลข ๓๖๐ เป็นตัวเลขบอกองศา เมื่อเราหาทิศได้ เราก็จะทราบทิศอื่น ๆ ได้ โดยหันหน้าไปทางทิศเหนือ ข้างหลังคือทิศใต้ ขวามือเป็นทิศตะวันออก ซ้ายมือจะเป็นทิศตะวันตก ส่วนประกอบของเข็มทิศ 1. แผ่นฐานเป็นตัววัตถุโปร่งใส 2. ขอบเข็มทิศ มีมาตราส่วนเป็นนิ้วหรือเซนติเมตร 3. ลูกศรชี้ทิศทาง 4. เลนส์ขยาย 5. ตลับเข็มทิศเป็นวงกลมหมุนได้ บนกรอบหน้าปัดของเข็มทิศมี 360 องศา 6. ปลายเข็มทิศเป็นแม่เหล็กสีแดง ซึ่งจะชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ 7. ตาแหน่งสาหรับตั้งมุมและอ่านค่ามุม อยู่ตรงปลายลูกศรชี้ทิศทาง
  • 4. การใช้เข็มทิศซิลวา ในการสารวจพื้นที่ 2 วิธี คือ 1. การตั้งมุม โดยใช้เข็มทิศซิลวา ในกรณี ที่ทราบค่ามุมแอซิมัส เช่น กาหนดให้ 60 องศา หรือ20,60,120, อื่นๆ ที่เราต้องการ ทราบว่า จะต้องเดินไปทิศทางใด มีวิธีปฏิบัติ ดังนี้ 1. ให้ถือเข็มทิศบนฝ่ามือ หรือบนสมุดในแนวระนาบ โดยให้เข็มแม่เหล็กแกว่งไปมาได้อิสระ 2. หมุนกรอบหน้าปัดของตลับเข็มทิศ ให้เลข 60 อยู่ตรงขีดตาแหน่ง ตั้งมุม 3. หันเหตัวเข็มทิศทั้งฐาน จนกว่าเข็มแม่เหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศชี้ตรงกับอักษร N บนกรอบหน้าปัด 4. เมื่อลูกศรชี้ทิศทาง ชี้ไปทางทิศใดให้เดินไปตามทิศทางนั้น 2. การวัดมุม โดยใช้เข็มทิศซิลวา กรณีที่จะหาค่าของมุมแอซิมัส ณ จุดที่เรายืนอยู่ไปยังทิศทางที่เราจะเดินทางไป 1. ถือเข็มทิศบนฝ่ามือ หรือบนสมุด ในแนวระนาบ 2. หันลูกศรชี้ทิศทางไปยังจุดหรือตาแหน่ง ที่เราจะเดินทางไป 3. หมุนกรอบหน้าปัดเข็มทิศไปจนกว่าอักษร N บนกรอบหน้าปัดอยู่ตรงปลายเข็มแม่เหล็กสีแดง ในตลับเข็มทิศ 4. ตัวเลขบนกรอบหน้าปัดที่อยู่ตรงขีดตาแหน่ง สาหรับตั้งมุมและอ่านค่ามุม คือค่าของมุมทึ่เรา ต้องการทราบ