SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 48
Downloaden Sie, um offline zu lesen
โปรแกรม
ความหมายของโปรแกรม
     โปรแกรม หมายถึง ชุดของคาสั่งที่ใช้สาหรับ
สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์
ตามที่ต้องการ โดยจะใช้การเขียนด้วยภาษาใด
ภาษาหนึ่ง เช่น BASIC C Pascal
Assemble เป็นต้น
ภาษาคอมพิวเตอร์
    คอมพิวเตอร์จะสามารถทางานได้จะต้องมีการ
เขียนโปรแกรมหรือซอร์ฟแวร์ เพื่อสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทางาน โปรแกรมต่าง ๆ ที่เขียน
จะต้องเขียนไปตามกฎเกณฑ์ของภาษาที่
คอมพิวเตอร์เข้าใจ เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ระดับของภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาระดับต่า (Low Level Language)
เป็นภาษาที่มนุษย์ทาความเข้าใจได้ยาก
แต่ละคาสั่งประกอบขึ้นจากกลุ่มตัวเลข
0 และ 1 เป็นเลขฐานสองไม่เหมาะใช้ใน
การพัฒนาโปรแกรมได้แก่ ภาษาเครื่อง
และภาษาแอสเซมบลี้
หลักการเขียนโปรแกรม
การแปลรหัสแอสกี้
หรือ Asscii code
มีวิธีการอ่านดังนี้
จะอ่านจากบนลงล่าง
จาก b7-b6-b5-b4
           และ
อ่านจากซ้ายไปขวา
จาก b3-b2-b1-b0
๑. การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่นๆ
ทาได้โดยเอาเลขฐานสิบตั้ง แล้วหารด้วยเลขฐาน
ที่ต้องการเปลียนหารไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งผลลัพธ์
              ่
เป็น “ศูนย์” ในการหารนั้นต้องเขียนเศษไว้ทุกครั้ง
จากนั้นนาตัวสุดท้ายมาเขียนเป็นเลขฐานที่ต้องการ
ตัวแรกเรียงกันไปจากล่างไปบนจนหมดทุกตัว
หลักการเขียนโปรแกรม
ภาษาระดับกลาง (Medium Level Language)

    มีลักษณะเป็นภาษาแบบโครงสร้าง ทาความ
เข้าใจได้ เหมือนกับภาษาระดับสูง แต่ทางานได้
รวดเร็วเหมือนกับภาษาระดับต่า นิยมใช้กน ั
แพร่หลาย ได้แก่ ภาษาซี
ภาษาระดับสูง (High Level Language)

เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะของการใช้
คาสั่งเป็นภาษาอังกฤษ เช่น ภาษาBASIC
ภาษาPascal ภาษาJAVA
ภาษาBASIC              ภาษาPascal




            ภาษาJAVA
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
1.การวิเคราะห์ปัญหา
2. การออกแบบโปรแกรม
3. การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
4. การทดสอบโปรแกรม
5. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม
6. การบารุงรักษาโปรแกรม

1. การวิเคราะห์ปัญหา
องค์ประกอบอยู่ 3 องค์ประกอบ ที่จะช่วยในการ
วิเคราะห์ปัญหาได้แก่

     Output           Input         Processing
1.การระบุข้อมูลออก     Output


   • กาหนดวัตถุประสงค์ของงาน และ รูปแบบของผลลัพธ์
2.การระบุข้อมูลเข้า     Input


   • ข้อมูลที่นาเข้าสู่คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอะไรบ้าง
3.การกาหนดวิธการประมวลผล
                ี                    Processing

   • ต้องทราบสูตรหรือวิธีการประมวลผล
2. การออกแบบโปรแกรม
      คือ การนาปัญหาทีวิเคราะห์ได้จากขั้นตอนที่ 1
                       ่
มาวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนว่าจะต้องเขียนโปรแกรม
เพื่อแก้ปัญหาอย่างไร การวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนนี้
เรียกว่าอัลกอริทึม(Algorithm) ซึ่งอัลกอริทึม
แบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ รหัสเทียม(Pseudocode)
และ ผังงาน(Flowchart)
ตัวอย่างการต้มไข่ไก่
             วัตถุดิบ : ไข่ไก่    ผลลัพธ์ : ไข่ต้มสุก
 Algorithm 1                     Algorithm 2
   • ต้มน้าให้เดือด              • ต้มน้าให้เดือด
   • ใส่ไข่                      • ใส่ไข่
   • รอ 10 นาที                  • รอ 5 นาที
   • ดับไฟ / ปิดเตา              • ดับไฟ / ปิดเตา
   • ปอกไข่
ระหว่าง Algorithm 1 และ Algorithm 2
ผลทีได้เหมือนกันคือ ไข่ต้ม
     ่
ผลลัพธ์อัลกอริธึม 1 สามารถทานได้เลย ส่วน
อัลกอริธึม 2 ต้องปอกก่อนทาน
สรุปคือ เราได้ผลลัพธ์ตามที่โจทย์ต้องการคือ ไข่
ต้ม
เราลองนาขั้นตอนการต้มไข่มาวิเคราะห์
• ต้มน้าให้เดือด   =>    การกระทา(Process)
• ใส่ไข่            =>   การป้อนข้อมูล(Input)
• รอ 10 นาที        =>   การกระทา(Process)
• ดับไฟ             =>   การกระทา(Process)
• ปอกไข่            =>   การกระทา(Process)
• ผลลัพธ์           =>   ไข่ต้มสุก (Output)
ซูโดโค้ด (Pseudo code)
คือ การเขียนอัลกอริทึมจะมีการใช้ข้อความที่เป็น
ภาษาอังกฤษ ในการแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหา
สามารถอ่านง่าย
            ตัวอย่าง
         การหาค่าเฉลีย
                     ่
Algorithm Avarage_Sum          Algorithm การหาค่าเฉลี่ย
                           1. ตัวนับ = 0
1. count = 0
                           2. ผลรวม = 0
2. sum =0
                           3. รับค่าทางแป้นพิมพ์เก็บไว้ใน (ข้อมูล)
3. INPUT (value)
                           4. ถ้าข้อมูลมากกว่า 0
4. IF value > 0 THEN
                               เพิมค่าตัวนับขึนหนึงค่า
                                  ่           ้ ่
        count = count+1
                               ผลรวม = ผลรวม + ค่าข้อมูล
        sum = sum+ value
                               ย้อนกลับไปทาขั้นตอนที่ 3
        GOTO 3
                               ถ้าไม่มากกว่าไปทาขันตอนที่ 5
                                                  ้
    ELSE GOTO 5
                           5. ค่าเฉลี่ย = ผลรวมหารด้วยตัวนับ
5. avarage = sum/count
                           6. แสดงค่าเฉลี่ยทางจอภาพ
6. OUTPUT (avarage)
                               โดยมีทศนิยมสองตาแหน่ง
7. END
                           7. จบ
Example การหาพื้นที่
ผังงาน (Flow Chart)
    คือ แผนภาพที่ใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศร เพื่อ
แสดงถึงขั้นตอนการทางานของโปรแกรมหรือระบบที
ละขั้นตอน รวมไปถึง ทิศทางการไหลของข้อมูล
ตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ออกมาตามที่ต้องการ
สัญลักษณ์ผังงาน
ประกอบด้วยสัญลักษณ์ต่างๆดังนี้
             จุดเริ่มต้น/สิ้นสุดของโปรแกรม
             (Terminal)
สัญลักษณ์ผังงาน

  ลูกศรแสดงทิศทางการทางานของ
โปรแกรม และการไหลของข้อมูล
(Flow line)
สัญลักษณ์ผังงาน
  ใช้แสดงคาสั่งในการ
 ประมวลผลหรือการกาหนดค่า
 ให้กับตัวแปร (Processing)
สัญลักษณ์ผังงาน

  การตรวจสอบเงือนไขเพื่อ
                  ่
การตัดสินใจ เงื่อนไขเป็นจริง
หรือเท็จ (Decision)
สัญลักษณ์ผังงาน
  แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงาน
ภายใน เพื่อไปสู่การทางาน
อย่างใดอย่างหนึ่งที่
เหมือนกัน (Connector)
สัญลักษณ์ผังงาน

   แสดงผลลัพธ์ออกทาง
 เครื่องพิมพ์ (Document)
สัญลักษณ์ผังงาน

   แสดงผลลัพธ์ออกทาง
 จอภาพ (Monitor)
สัญลักษณ์ผังงาน

  การขึ้นหน้าใหม่ ในกรณีที่ผัง
งานยาวมากเกินกว่าที่จะแสดง
พอในหนึ่งหน้า (Next Page)
การออกแบบโปรแกรม
ขั้นตอนวิธีและโปรแกรมที่เราออกแบบจะอาศัย
 โครงสร้างควบคุมการทางาน 3 อย่าง คือ
     1. โครงสร้างแบบตามลาดับ
     2. โครงสร้างแบบมีทางเลือก
     3. โครงสร้างแบบทาซ้า
1.โครงสร้างแบบตามลาดับ (sequential structure)

     เป็นขั้นตอนการทางานที่เป็นไปตามลาดับ
 ก่อน-หลัง และแต่ละขั้นตอนจะถูกประมวลผล
 เพียงครั้งเดียวเท่านั้น
เริมต้น
    ่
             ตัวอย่าง
 เขียนจม.
             ผังงานการเขียนและส่งจดหมาย
 พับจม.
ใส่ซองจม.
จ่าหน้าซอง
ปิดซองจม.
   จบ
2.โครงสร้างแบบมีทางเลือก(selection structure)

เป็นขั้นตอนการทางานที่บางขั้นตอน จะได้รับ
หรือไม่ได้รับการประมวลผล ขึ้นอยู่กับเงื่อนไข
บางประการ
โครงสร้างแบบมีทางเลือก        1

                     มี    มีแสตมป์   ไม่มี
                            หรือไม่
                                         ซื้อแสตมป์



                          ติดแสตมป์

                            ส่งจม.

                           จบงาน
3. โครงสร้างแบบทาซ้า (repetition structure)
      เป็นขั้นตอนการทางานที่บางขั้นตอน
จะถูกประมวลผลซ้ามากกว่า 1 ครั้ง ขึ้นอยู่กับ
เงื่อนไขบางประการ
เริ่มต้น    โครงสร้างแบบทาซ้า
         เรียน


         สอบ

ตก   ตรวจสอบคะแนน
       ผ่านหรือตก
             ผ่าน
      บันทึกคะแนน

         สิ้นสุด
3.การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
     การสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
เป็นการนาผังงานที่เขียนไว้มาแปลงเป็น
โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์โดยการเขียน
โปรแกรมสามารถเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์
ระดับสูงตามความเหมาะสม เช่น Pascal, C,
C++ เป็นต้น ฯลฯ
4. การทดสอบโปรแกรม
    การทดสอบโปรแกรม หรือการดีบั๊ก
โปรแกรม (Debugging) คือ การนาโปรแกรม
มาตรวจสอบด้วยการแปลโปรแกรมโดยใช้ตัว
แปลภาษา (Complier หรือ Interpreter)
คอมไพเลอร์ (Complier)
• ใช้กับการทางานในภาษาระดับสูง
• แปลความหมายของชุดคาสั่งที่เขียนทั้งหมด
   ในคราวเดียวกัน
• เป็นชุดของรหัสคาสั่งเก็บไว้ใช้เมื่อต้องการ
• เหมาะกับการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่และซับซ้อน
อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
• สาหรับการเขียนโปรแกรมในภาษาระดับสูง
• แปลความหมายของชุดคาสั่งทีละบรรทัดคาสั่ง
• เหมาะสาหรับการเขียนโปรแกรมที่มีขนาดเล็ก
5.การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม
เอกสารประกอบโปรแกรมโดยทั่วไปจะมีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ
คือ
       1.เอกสารประกอบโปรแกรมสาหรับผู้ใช้
(User Documentation) จะเหมาะสาหรับผู้ใช้ที่ไม่ต้อง
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโปรแกรม จะเน้นการอธิบาย
เกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมเป็นหลัก
2.เอกสารประกอบสาหรับผู้เขียนโปรแกรม
(Technical Documentation)
      ส่วนอธิบายด้านเทคนิค ซึ่งส่วนนี้มักจะทา
เป็นเอกสารแยกต่างหากจากโปรแกรม จะอธิบาย
ในรายละเอียดที่มากขึ้น
6.การบารุงรักษา
หลังจากที่มีการใช้งานโปรแกรมไปนานๆ แล้ว
อาจต้องมีการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมให้ตรงตาม
ความต้องการของผู้ใช้ที่อาจเปลี่ยนแปลงไป
ประโยชน์ของการเขียนผังงาน
 ช่วยลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถ
 นาไปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน
ช่วยให้การตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้อย่างง่าย
เมื่อเกิดข้อผิดพลาด
ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้
อย่างง่ายดายและรวดเร็วมากขึ้น
กิจกรรมทาในห้อง
1. การออกแบบโปรแกรมอาศัยโครงสร้างควบคุมการ
   ทางานกี่อย่าง อะไรบ้างจงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
2. จงอธิบายการบารุงรักษาโปรแกรมมาพอสังเขป
3. ประโยชน์ของการเขียนผังงานคือ
ใบงาน 4.2
1. จงอธิบายการเขียนโปรแกรมด้วย
   ภาษาคอมพิวเตอร์มาพอสังเขป
2. การทดสอบโปรแกรม คือ
3. ตัวแปลภาษามีกี่ประเภท อะไรบ้างจงอธิบาย

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน9inglobin
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาบทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาjack4212
 
สัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานสัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานPannathat Champakul
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)Fair Kung Nattaput
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)Kroopop Su
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานแบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานAmonrat Tabklang
 
โครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานโครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานChittraporn Phalao
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงานการเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงานณัฐพล บัวพันธ์
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานChess
 

Was ist angesagt? (20)

ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
1
11
1
 
Programmer1
Programmer1Programmer1
Programmer1
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาบทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
บทที่4การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
 
สัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานสัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงาน
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานแบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
โครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานโครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงาน
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
1122
11221122
1122
 
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงานการเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 

Ähnlich wie หลักการเขียนโปรแกรม

C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น-
 
Programming
ProgrammingProgramming
Programmingsa
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศMeaw Sukee
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์Onrutai Intanin
 
การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34pachchary
 

Ähnlich wie หลักการเขียนโปรแกรม (20)

C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Programming
ProgrammingProgramming
Programming
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
Q1
Q1Q1
Q1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Chapter 04 Compare
Chapter 04 CompareChapter 04 Compare
Chapter 04 Compare
 
C1white
C1whiteC1white
C1white
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Chapter 05 Loop
Chapter 05 LoopChapter 05 Loop
Chapter 05 Loop
 
Chapter 05 Loop
Chapter 05 LoopChapter 05 Loop
Chapter 05 Loop
 
การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34
 

หลักการเขียนโปรแกรม