SlideShare ist ein Scribd-Unternehmen logo
1 von 54
Downloaden Sie, um offline zu lesen
เอกสารประกอบการสอน

 การสรางเว็บเพจดวยโปรแกรมสําร็จรูป
Macromedia Dreamweaver 8



           นายแมนสรวง แซซม
                          ิ้
                ครู คศ.1



            โรงเรียนแมจนวิทยาคม
                        ั
 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 3
        อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย
คํานํา
          เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การสรางเว็บเพจดวยโปรแกรมสําเร็จรูป เลมนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใชในการ
ประกอบการเรียนการสอน ในสาระการเรียนรูเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่ง
เนื้อภายในเอกสารนี้ มีทั้งหมด 7 บท ประกอบดวย บทที่ 1 ทําความรูจักกับ Macromedia Dreamweaver 8
บทที่ 2 กําหนดคุณสมบัติและการจัดขอมูลของเว็บไซต บทที่ 3 การใสขอความบนเว็บเพจ บทที่ 4 การใส
รูปภาพบนเว็บเพจ บทที่ 5 การจัดหนาเว็บเพจดวยตาราง บทที่ 6 การสรางไฮเปอรลิงกเชื่อโยงระหวางเว็บ
บทที่ 7 การเพิ่มลูกเลนใหหนาเว็บเพจ ซึ่งสามารถนําไปปฏิบัติและใชงานจริงได และสามารถนําไปสูการเปนมือ
อาชีพในการสรางเว็บเพจไดอีกดวย หวังวาเอกสารประกอบการสอนเลมนี้คงเปนประโยชนตอนักเรียน และ
ผูสนใจทั่วไปไดเปนอยางดี


                                                                        นายแมนสรวง แซซ้มิ
                                                                           มิถุนายน 2549




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                               2
สารบัญ
                                                    หนา

บทที่ 1 ทําความรูจักกับ Macromedia Dreamweaver 8   1
บทที่ 2 กําหนดคุณสมบัติและการจัดขอมูลของเว็บไซต   14
บทที่ 3 การใสขอความบนเว็บเพจ                      23
บทที่ 4 การใสรูปภาพบนเว็บเพจ                       26
บทที่ 5 การจัดหนาเว็บเพจดวยตาราง                  31
บทที่ 6 การสรางไฮเปอรลิงกเชื่อโยงระหวางเว็บ     34
บทที่ 7 การเพิ่มลูกเลนใหหนาเว็บเพจ               43




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                               3
บทที่ 1
                   ทําความรูจกกับ Macromedia Dreamweaver 8
                              ั




M        acromedia Dreamweaver เปนโปรแกรมสําหรับการสรางเว็บเพจ บริหารจัดการเว็บไซต รวม
         ไปถึงการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน เนื่องจากตัว Dreamweaver มีความสามารถที่โดดเดน ดังนี้
                 สามารถเขียนโปรแกรมสําหรับเว็บไดทุกรูปแบบ เชน ASP, ASP.Net, ColdFusion,
                 JSP, PHP, XML, XHTML
                 เมนูคําสั่งและเครื่องมือตางๆ เรียกใชงานไดงายและสะดวก
                 มีการปรับปรุงกลไกภายในใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
                 สามารถสรางแอปพลิเคชันงายๆ โดยไมจําเปนตองเขียนโปรแกรม
                 สรางเว็บเพจภาษาไทยไดทันทีโดยไมตองติดตองโปรแกรมเสริมเพราะ   Dreamweaver
                 รองรับตัวอักษรแบบ Unicode

การติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8
          ในการติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8 เริ่มจากใสแผนซีดีติดตั้งลงในไดรฟซดีรอม หลังจากนั้น
                                                                                ี
ทําตามขั้นตอนดังนี้                                 1 ดับเบิลคลิกที่ไอคอน




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                        4
2   ปรากฏหนาตางตอนรับการติดตั้งโปรแกรม จากนั้น
    คลิกที่ปุม               เพื่อเริ่มตนการติดตั้ง

                                                        3   ปรากฏขอความการใชงานโปรแกรมคลิกที่ปุม
                                                                            เพื่อยอมรับขอตกลง




                                                                4     คลิกปุม                  หากตองการเลือก
                                                                      ตําแหนงในการติดตั้งโปรแกรม




                   5       คลิกปุม




                                                                                 6    คลิกปุม

 แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                         5
7    คลิกปุม                 เพื่อเริ่มตนการติดตั้ง




                                                                 ปรากฏสถานะการติดตั้ง




     7    เมื่อติดตั้งโปรแกรมเรียบรอยแลว คลิกที่ปุม
          เพียงเทานี้ก็สามารถใชโปรแกรม Dreamweaver 8 ไดแลว




    แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                             6
การเขาสูโปรแกรม Dreamweaver 8

         เมื่อเราติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8 เรียบรอยแลว สามารถเปดโปรแกรมขึ้นมาใชงานไดเลย โดยมี
ขั้นตอนดังนี้




                                                                       2     เลือก All Programs>Macromedia>
                                                                             Macromedia Dreamweaver 8 เพื่อ
                                                                             เริ่มตนการใชงาน




     1    คลิกปุม




                                      3    เลือกรูปแบบพื้นที่ทํางานของโปรแกรม โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                                    Designer หมายถึง การสรางและออกแบบเว็บเพจโดยทั่วไป ซึ่ง
                                                    สวนมากนิยมเลือกรูปแบบนี้
                                                    Code หมายถึง วิธีการสรางเว็บเพจที่เนนการเขียนชุดคําสั่งเอง
                                                    จากนั้นคลิกปุม OK (โดยในที่เลือก Disigner)




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                             7
แนะนําสวนประกอบของโปรแกรม Dreamweaver 8

        กอนลงมือสรางหนาเว็บเพจนั้น ขอแนะนะสวนประกอบของโปรแกรม Dreamweaver 8 วาแต
ละสวนมีรายละเอียดอยางไรบาง

หนาจอ Start Page
         ในการเปดโปรแกรม Dreamweaver 8 ทุกครั้งจะปรากฏหนาจอเริ่มตน (Start Page)
สําหรับเปดเว็บเพจเดิมหรือสรางเว็บเพจใหม โดยแบงเปน 3 กลุม ดังนี้

           1     เปดเว็บเพจที่เคยใชงานมาแลว

                                              2     การสรางงานใหม           3     การสรางงานตามแบบฟอรม




   1. เปดไฟลเว็บเพจที่เคยใชงานมาแลว (Open a Recent Item)
       เปนสวนแรกของหนาจอเริ่มตนใชสําหรับเปดงานที่เราทําคางไว ซึ่งเลือกจากรายการชื่อที่แสดงอยู โดย
โปรแกรมจะแสดงงานที่เปดใชบอยอยูดานบน
   2. การสรางงานใหม (Create New)
       ในสวนนี้เปนการเลือกประเภทงานที่ตองการสรางใหม โดยเลือกประเภทไฟลตางๆ ได เชน HTML,
PHP, ASP JavaScript, ASP VBScript, ASP.NET C#, ASP.NET VB, JSS, CSS หรือเลือก
แบบฟอรมอื่นๆ เปนตน
   3. การสรางงานตามแบบฟอรม (Create from Sample)
       เปนสรางเว็บเพจตามแบบฟอรมที่โปรแกรมไดจดไวใหแลว ซึ่งมีรูปแบบใหเลือกหลายประเภท
                                                   ั



แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                 8
ตัวอยางแบบฟอรมที่ชวยในการออกแบบ

      นอกจากนี้ยังสามารถศึกษาโปรแกรม Dreamweaver 8 จากอินเตอรเน็ตในหัวขอ Take a
quick tour of Dereamweaver. หรือเรียนรูจากโปรแกรมชวยสอนจากหัวขอ Learn about
documentation resources




                      เรียนรูจากโปรแกรมชวยสอน (Dreamweaver Help)




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                             9
สวนประกอบหนาจอโปรแกรม
      เมื่อเราเลือกประเภทการทํางานแลว (ในกรณีน้ีผูสอนคลิกเลือก HTML จากสวนของ Create
New) จะปรากฏหนาตางการทํางานของโปรแกรม
                          1     Titlebar

                                        2    Menu Bar            3    Insert Bar




    4    Toolbar



5       Document Area




    6    Status Bar




                                                                  7    Properties Inspector                8      Panel




1. Titlebar
   เปนสวนแสดงชื่อโปรแกรม Dreamweaver 8 และชื่อไฟลที่ทํางานอยู



2. Menu Bar
      เปนสวนที่รวบรวมเมนูคําสั่งการทํางานเอาไว ซึ่งสามารถเปดเมนูตางๆ ขึ้นมาใชงานโดยคลิกที่ชื่อเมนูแลว
เลื่อนเมาสไปยังตําแหนงที่ตองการได หากเมนูนั้นมีคําสั่งยอยจะมีลูกศร แลวเลื่อนเมาสไปยังคําสั่งยอยเหลานั้น
                            
ได




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                    10
คําสั่งยอยของเมนูตางๆ                         แสดงคําสั่งยอยของเมนู Table Mode

3. Insert Bar
   เปนแถบที่ประกอบดวยปุมคําสั่งที่ใชในการแทรกออบเจ็กต (องคประกอบตางๆ) ลงในเว็บเพจ โดยแบงเปน
   หมวดหมูซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
                  Common เปนชุดคําสั่งสําหรับแทรกออปเจ็กตที่เรียกใชงานบอยๆ ในการสรางเว็บเพจ
                 เชน รูปภาพ กราฟก ตาราง ไฟลมีเดีย เปนตน



                  Layout สําหรับเลือกมุมมองในการสรางเว็บเพจ เชน มุมมองปกติ มุมมองแบบขยาย
                  เพื่อใหเห็นออปเจ็กตตางๆ ไดอยางชัดเจน


                  Forms สํากรับแทรกออปเจ็กตที่ใชสรางแบบฟอรมรับขอมูลจากผูชม เชน ชองรับขอความ
                  และฟลดชนิดตางๆ


                  Text สําหรับจัดรูปแบบขอความในเว็บเพจ เชน หัวเรื่อง ตัวหนา ตัวเอียง จัดหัวขอ จัดยอ
                  หนา และแทรกสัญลักษณพิเศษตางๆ


                  Application สําหรับแทรกคําสั่งและการดึงขอมูลจากฐานขอมูลมาแสดงบนเว็บ




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                               11
Flash element สําหรับนําไฟล Flash เขามาใชงาน



                   Favorite สําหรับจัดเก็บออบเจ็กตที่ชอบเพื่อความสะดวกในการใชงาน


                   Show as Tabs เปลี่ยนแถบเครื่องมือใหแสดงผลในลักษณะแท็บคําสั่งเรียงตอกันไป




4. Toolbar
   เปนแถบเครื่องมือที่เก็บปุมคําสั่งที่ตองใชงานบอยๆ ซึ่งประกอบดวย



                   Show Code View                    สําหรับแสดงการทํางานในรูปแบบ HTML
                   นอกจากนี้ยังสามารถเขียนคําสั่ง HTML หรือคําสั่งภาษาสคริปต (Script) อื่นๆ ไดดวย




                   Show Code and Design                    สําหรับแสดงการทํางานแบบ HTML กับ
                   การแสดงพื้นที่ออกแบบ โดยจะแสดงสวนของคําสั่งไวดานบนและแสดงเว็บเพจปกติไว
                   ดานลาง




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                          12
Show Design View                           สําหรับแสดงเว็บเพจคลายกับที่เราเห็นใจเบรา
                 เซอร เชน ขอความ กราฟก หรือออปเจ็กตอื่นๆ และสามารถแกไขเนื้อหาลงเว็บเพจได




5. Document Area
   เปนสวนที่ใชสําหรับสรางหนาเว็บเพจ โดยการใสเนื้อหาและจัดองคประกอบตางๆ นํามาวางใน
   Document Area และสามารถเลือกพื้นที่การทํางานไดหลายมุมมอง เชน Show Code View,
   Show Code and Design View ดังที่ไดกลาวไวแลวขางตน




6. Status Bar
   คือ แถบแสดงสถานะที่อยูบริเวณดานลางของพื้นที่สรางงาน (Document Area) ซึ่งประกอบดวย 2
   สวน คือ ทางดานซายเรียกวา Tag Selector ใชสําหรับแสดงคําสั่ง HTML ของสวนประกอบใน
   เว็บเพจที่เลือกอยู และทางดานขวาเปนสวนที่บอกขนาดและเวลาที่ใชในการดาวนโหลดเว็บเพจ


             Tag Selector                                     สวนที่บอกขนาดและเวลาที่ใชในการดาวน
7. Properties Inspector                                       โหลดเว็บเพจ

แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                              13
เปนหนาตางแสดงคุณสมบัติของออปเจ็กตที่เรากําลังเลือกในเว็บเพจ และสามารถกําหนดหรือแกไข
    คุณสมบัติของสวนประกอบตางๆ ในหนาเว็บเพจได เชน ขอความ สี ขนาด ตาราง ลิงก เปนตน
    โดยรายละเอียดภายในหนาตาง Properties Inspector จะไมเหมือนกันขึ้นอยูกับวาขณะนั้นเรากําลัง
    เลือกทํางานกับออปเจ็กตใดอยู

      สําหรับซอน/แสดง Properties Inspector                 สําหรับยอ/ขยาย Properties Inspector




                                  Properties Inspector ของภาพกราฟก




                                   Properties Inspector ของขอความ




                                   Properties Inspector ของตาราง

8. Panels
   เปนกรอบเล็กๆ บริเวณดานขวา ประกอบดวยเครื่องมือสําหรับใชทางานตางๆ ซึ่งแตละสวนของ Panels
                                                              ํ
   จะมีหนาที่แตกตางกันไป เชน การจัดเก็บ Code, CSS, Behavior อีกทั้งไฟลและโฟลเดอรภายใน
   เว็บไซต (โดยรายละเอียดตางๆ จะอธิบายใน Chapter ตอๆ ไป) และเรียกขึ้นมาใชงานโดยใชคําสั่ง
   Windows จากนั้นเลือกชื่อ Panels ทีตองการเปด/ปด หรือใชคียลัดดานหลังชื่อ Panels ก็ได
                                             ่
   เชนกัน

    คลิกเพื่อซอน/แสดง Panels
                                                                        คลิกเพื่อเปดพาเนลที่ซอนอยู


                                                                        ดับเบิลคลิกเพื่อขยายกลุมพาเนล



        คลิกเพื่อเปดหัวขอยอย


แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                         14
บทที่ 2
                                           กําหนดคุณสมบัติและการจัดขอมูลของเว็บไซต
         เมื่อเริ่มตนสรางเว็บไซตนั้น   เราตองทําความเขาใจในเรื่องการกําหนดโครงสรางการจัดขอมูลของ
เว็บไซตและการกําหนดคุณสมบัติตางๆ โดยใน Chapter นี้จะอธิบายขั้นตอนในการสรางเว็บไซต และ เว็บ
เพจและกําหนดคุณสมบัติตางๆ เชน การแกไขและการบันทึกเว็บไซต เพื่อเตรียมความพรอมกอนการใสเนื้อหา
ใหกับเว็บเพจ

การกําหนดไฟลและโฟลเดอรภายในเว็บไซต
           ภายในเว็บไซตประกอบดวยหนาเว็บเพจและไฟลตางๆ เปนจํานวนมาก หากเว็บไซตของเรามีขนาด
ใหญจํานวนหนาเว็บเพจและไฟลตางๆ ก็จะมีจํานวนมากขึ้น ดังนั้นการวางแผนในการจัดเก็บไฟลเหลานี้ก็นับวา
เปนสิ่งสําคัญ
           โครงสรางโฟลเดอรภายในเว็บไซตจะประกอบไปดวยโฟลเดอรหลักและโฟลเดอรยอยๆ ที่ซอนกันอยู
                                                                                  
เปนชั้น ๆ ลงมา ดังนั้นในการแบงโฟลเดอรหสําหรับเก็บไฟลควรแบงเปนหมวดหมู และแยกตามประเภทของ
ไฟล เชน เว็บเพจ กราฟก สคริปต เปนตน

                                          โครงสรางของโฟลเดอรดังรูปตัวอยาง เปนการกําหนดตําแหนงและ
                                          สถานที่เก็บไฟลขอมูล โดยมีรายระเอียดของโครงสรางโฟลเดอร
                                          ภายในเว็บไซต ดังนี้
                                              1. WEBket3 เปนโฟลเดอรหลักของเว็บไซต สําหรับ
                                                   เก็บไฟล HTML ของเว็บเพจ
                                              2. Data เปนโฟลเดอรยอยเก็บฐานขอมูล
                                              3. Flash เปนโฟลเดอรยอยเก็บไฟลที่เปนภาพเคลื่อนไหว
                                                   ที่ทําจากโปรแกรมแฟลช
                                              4. galary เปนโฟลเดอรยอยที่เก็บเกี่ยวกับภาพที่ตางๆ ที่
                                                                         
                                                   เปนกิจกรรมตางๆ
                                              5. image เปนโฟลเดอรยอยที่เก็บรูปภาพตางๆ ที่ใชใน
                                                   เว็บเพจทั้งหมด


  ตัวอยางโครงสรางโฟลเดอรภายในเว็บไซต




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                             15
Dreamweaver Site

        ขั้นแรกของการสรางเว็บไซต คือการสราง Dreamweaver Site เพื่อกําหนดชื่อเว็บไซต ระบุ
ไฟลเดอรสําหรับจัดเก็บไฟล เปนตน โดยโฟลเดอรน้จะเปนแหลงรวมเว็บเพจ กราฟก ไฟลอื่นที่สําคัญใหอยู
                                                ี
ภายในสถานที่เดียวกัน เพื่อความสะดวกในการอัพโหลดขึ้นสูอินเตอรเน็ต โดยการสราง Dreamweaver
Site มีขั้นตอนดังนี้
                                  1     คลิกเมนู Site>Manage




                                                                               2      คลิกปุม
                                                                                      แลวเลือกคําสั่ง Site




                                                                        3    พิมพชื่อไซตที่ตองการลงในชอง What
                                                                             would you like to name your
                                                                             site? (ควรเปนภาษาอังกฤษ)




                                                                         4    คลิกปุม
                                                                              เพื่อเริ่มตนขั้นตอไป


แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                 16
5       คลิกที่ชอง No, I do not want use
                                                                         a server technology เพื่อสราง
                                                                         เฉพาะไฟล HTML




                                                                  6      คลิกปุม




  7     คลิกที่ชอง Edit Local copies on my
        machine, then upload to server
        when ready (recommended) เพื่อเลือก
        ทํางานในเครื่องคอมพิวเตอรกอนแลวจึงอัพ
        โหลดขึ้นไปยังเชิรฟเวอรภายหลัง




               9     คลิกปุมเลือกโฟลเดอรหลักที่เตรียมไว   8       คลิกปุม       เพื่อเลือกโฟลเดอรที่ตองการเก็บ
                                                                     เว็บไซต




                                                                 10
                                                                  9      คลิกปุม




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                 17
11    คลิกปุมเลือกโฟลเดอรหลักที่เตรียมไว




  12    คลิกเลือกหัวขอ None เนี่องจากขณะนี้
        ยังไมตองการเชื่อมตอกับเว็บเซิรฟเวอร
               




                                                                               13   คลิกปุม




  14    คลิกที่ปุม               เพื่อสราง Dreamweaver Site
        ตามคาที่กาหนดไว
                    ํ



                                              ปรากฏชื่อไซตบริเวณพาเนล Files

แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                             18
การสรางหนาเว็บเพจ
           เราสามารถสรางหนาเว็บเพจขึ้นมาใหมไดทันที ในกรณีที่เปดโปรแกรมแลวไมปรากฏหนาเว็บเพจใน
พื้นที่สรางงาน โดยการสรางหนาเว็บเพจมีขั้นตอนดังนี้

       1     คลิกเมนู File > New                 2    คลิกเลือก Basic page
                                                                         3     คลิกเลือก HTML เพื่อสรางหนา
                                                                               เว็บเพจเปลาแบบธรรมดา




                                                                                           4     คลิกปุม Create




                                                                                  5     ปรากฏหนาวางเปลา
                                                                                        สําหรับสรางเว็บเพจ




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                            19
การกําหนดคุณสมบัติใหเว็บเพจ
         เมื่อเราสรางหนาเว็บเพจขึ้นมาแลวขั้นตอนตอไปคือ การกําหนดคุณสมบัติใหเว็บเพจ โดยมีขั้นตอนดังนี้


                                                             1     คลิกเมนู Modify > Page Properties



                                                              2
                                                                       ปรากฎหนาตาง Page Properties สําหรับ
                                                                       กําหนดคุณสมบัติใหเว็บเพจ




         ชื่อของเว็บเพจ
         ชื่อของเว็บเพจจะไปปรากฏอยูที่แถบ Titlebar โดยการตั้งชื่อหนาเว็บเพจมีขั้นตอนดังนี้
                                  1    ในชอง Category                        2     พิมพชื่อเว็บที่ตองการ
                                       คลิกเลือก Title/Encoding




                                                                                                     3        คลิกปุม Apply




                                                                          4       ปรากฏชื่อที่ตั้งบนแถบ Titlebar




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                       20
กําหนดรูปแบบแสดงภาษา
         เราสามารถกําหนดรูปแบบการแสดงภาษาเพื่อใหเว็บเพจแสดงผลเปนภาษาไทย โดยมีขั้นตอนดังนี้

                1    ในชอง Category คลิกเลือก Title/Encoding
                                                      2    ในชอง Encoding คลิกเลือก Thai (Windows)




                                                3   คลิกปุม OK

การใสสีพื้นหลังใหหนาเว็บเพจ
             พื้นหลัง (Background) ในหนาเว็บเพจปกติจะมีสีขาวไมเปนที่นาสนใจ การใสสีใหพื้นหลังก็
เปนอีกวิธีหนึ่งซึ่งจะชวยใหเว็บของเรานาสนใจมากขึ้น โดยการใสสีพื้นหลังใหหนาเว็บเพจมีขั้นตอนดังนี้
                      1     คลิกเมนู Modify > Page Properties

                                                            2       ในชอง Categry คลิกเลือก Appearance


                                                                3     คลิกในชอง Background area




                                               5    คลิกที่ปุม OK        4    คลิกเลือกสีที่ตองการเปนพื้นหลัง

แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                             21
6     ปรากฎสีพื้นหลัง
                                                                               บนหนาเว็บเพจที่ตองการ




การบันทึกเว็บเพจ
          เมื่อสรางและกําหนดคุณสมบัติพื้นฐานของเว็บเพจเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไปที่ขาดไมไดคือ การ
บันทึกเว็บเพจเพื่อปองกันการผิดพลาดระหวางการทํางาน โดยการบันทึกเว็บเพจมีขั้นตอนดังนี้

           1     คลิกเมนู File > Save หรือปุม <Ctrl+S>
                                            




                                                                  2     เลือกโฟลเดอร




                          3    ตั้งชื่อไฟล


                                                                         4     คลิกปุม Save เพื่อบันทึกเว็บเพจ


แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                22
การทดสอบเว็บเพจกับเบราเซอร
          ในระหวางการสรางเว็บเพจ เราตองตรวจสอบการแสดงผลของเนื้อหา เชน สี ขนาด และตําแหนง
ของขอความหรือรูปภาพเมื่อนําขึ้นไปแสดงผลบนเบราเซอร โดยมีขั้นตอนดังนี้

                                                                 1     คลิกเมนู File > Save หรือปุม <Ctrl+S>
                                                                                                  


                                                                 2     คลิกที่ปุม   เลือก Preview in
                                                                       iexplore หรือกดปุม <F12>




                                                                        3      ปรากฏผลการทดสอบเว็บเพจใน
                                                                               Internet Explorer




การปดไฟลเว็บเพจ
            หลังจากที่แกไขหรือบันทึกเว็บเพจเรียบรอยแลว เมื่อตองการเลิกใชงานเราสามารถปดไฟลในแตละ
หนาตาง โดยมีหลายวิธีดังนี้
             o กดปุมคียบอรด <Ctrl+F4>
             o คลิกเมนู File > Close
             o คลิกปุม Close            บริเวณมุมขวาของหนาตางงาน




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                              23
บทที่ 3
                                                                               การใสขอความบนเว็บเพจ
         ขอความตางๆ บนหนาเว็บเพจนับวาเปนองคประกอบที่มีความสําคัญมาก เนื่องจากขอความที่
ปรากฏบนหนาเว็บเพจ จะเปนตัวกลางสื่อความหมายถึงผูเขามาเยี่ยมชมเว็บไซต ดวยเหตุนี้จึงจําเปนตองจัดวาง
ขอความเนื้อหาตางๆ บนหนาเว็บเพจใหเหมาะสมสวยงาม เพื่อเปนสิ่งดึงดูดใหมีผูเขาชมเว็บไซตของเรามากๆ

เริ่มใสขอความในเว็บเพจ




         วางเคอรเ ซอรใ นตํา แหนง ที่ตอ งการพิม พ ขอ ความ แล วพิ ม พข อ ความที่ต อ งการ เพีย งเทานี้ ก็จ ะได
         ขอความที่ตองการแลว แตถาตองการตกแตงสวนตางๆ เพิ่มเติม เชน ใสสีพื้นหลังหรือกําหนดระยะหาง
         จากขอบก็สามารถทําไดเชนกัน




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                            24
การเลือกรูปแบบตัวอักษร (Font)
         ในการเลือกรูปแบบตัวอักษรที่ไมมีมาตรฐานนั้น อาจจะเกิดปญหาไดในกรณีที่มีผูเขาชมเว็บไซตแลว
อานยาก ไมสวย หรือเปนภาษาที่อานไมออก ดังนั้นจึงควรใชรูปแบบตัวอักษรที่เปนมาตรฐาน เชน MS Sans
Serif เนื่องจากสามารถแสดงผลบนเบราเซอรทุกชนิด โดยการเลือกรูปแบบตัวอักษร (Font) มีขั้นตอนดังนี้

                  2       คลิกเลือก Edit Font List




  1     คลิกในชอง Font บริเวณ
        ดานลางในหนาตาง
        Properties




                                      4     คลิกที่ปุม       สําหรับ        3   คลิกเลือกรูปแบบตัวอักษร
                                            เพิ่มรูปแบบตัวอักษรอีก               MS Sans Serif


                                     Properties Inspector ของขอความ




  สรางหัวขอ         ขนาดตัวอักษร        สีตัวอักษร       ตัวหนา ตัวเอียง       จัดเรียงหัวขอและลิสตบุค

                                          จัดตําแหนงยอหนาขอความ




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                 25
การนําขอมูลจากไฟลอื่นมาใช
        ความสามารถพิเศษอีกอยางของ Dreamweaver 8 ก็คือ นําขอมูลตางๆ ที่อยูในไฟลประเภทอื่น
เชน Word, Excel, Powerpoint เปนตน มาวางบนพื้นที่สรางงานซึ่งจะชวยเพิ่มความสะดวกและ
ประหยัดเวลาในการทํางานเปนอยางมาก โดยมีขั้นตอนดังนี้
                  1       เลือกขอมูลจากหนาเอกสาร Word




                                                                        2    คลิกเมาสขวาเลือกคําสั่ง คัดลอก

                                                                        3    กลับมาทํางานในหนาเว็บเพจของ
                                                                             โปรแกรม Dreamweaver 8
                                                                             จากนั้นคลิกเมนู Edit > Paste




                      4      ปรากฏไฟลจากหนาเอกสาร Word มาใชในเว็บเพจของ
                             Dreaweaver 8 แลว



แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                      26
บทที่ 4
                                                                             การใสรูปภาพบนเว็บเพจ

            ภายในเว็บเพจของเรานอกจากจะมีเนื้อหาที่มีประโยชนแกผูเขาชมแลว หากมีการเพิ่มรูปภาพกราฟก
ตางๆ ก็จะชวยใหเว็บเพจมีสีสันสวยงามนาสนใจมากยิ่งขึ้น ดังนั้นเราจะเห็นไดวาเว็บไซตจํานวนมากจึงนิยมนํา
รูปภาพมาใชตกแตงและอธิบายเนื้อหาเพื่อใหผูเขามาเยี่ยมชมเว็บไซตไดเห็นภาพและเขาใจเนื้อหามากขึ้น

ขอพิจารณาในการเลือกใชรูปภาพ
         ในการนําภาพมาประกอบขอความบนเว็บเพจนั้น ควรพิจารณาและเลือกรูปภาพที่นํามาใชใหเหมาะสม
โดยมีขอพิจารณาดังนี้
         1. ไมควรเนนรูปภาพภายในเว็บเพจมากจนเกินไป ควรจะมีขอความและรูปภาพที่สมดุลกัน
         2. การใชรูปภาพที่เปนไฟลขนาดใหญจะทําใหการโหลดเว็บเพจใชเวลานานกวาจะแสดงภาพ ดังนั้น
             จึงควรใชภาพที่มีพอเหมาะกับสิ่งที่เราตองการสื่อกับผูชม หรืออาจใชโปรแกรมทางกราฟก เชน
             Photoshop หรือ ACDSee ทําการลดขนาดภาพ (Resize) กอนนํามาลงบนเว็บเพจก็ได
         3. ปจจุบันการนํารูปภาพลงเว็บเพจควรคํานึงถึงที่มาและลิขสิทธิ์ของรูปภาพนั้นดวย แตบางเว็บไซตก็
             มีการแจกรูปภาพใหฟรี ซึ่งสามารถนํามาใชประโยชนโดยไมตองเสียคาลิขสิทธิ์
                                                                       
         4. ควรเลือกใชภาพที่มีโทนเดียวกับสวนประกอบอื่นภายในเว็บเพจ เพื่อความกลมกลืนไมแตกตางกัน


ชนิดของรูปภาพที่ใชในเว็บเพจ
            ชนิดของรูปภาพที่ใชในเว็บเพจมีอยู 3 ชนิดดวยกัน ซึ่งแตละชนิดมีรายละเอียดและลักษณะที่แตกตาง
กันดังนี้
         GIF (Graphic Interchange Format)
                    GIF นับเปนไฟลภาพที่สามารถแสดงผลกับเบราเซอรไดทุกชนิด จึงไดรับความนิยม โดย
ส ว นมากมั ก จะใช รู ป ภาพไฟล .gif        กํ า หนดฉากหลั ง หรื อ พื้ น ที่ โ ปรงใส การใช ทํ า ภาพเคลื่ อ นไหว
(Animation) ภาพโลโก ตัวการตูน ภาพตัวอักษรลายเสนตางๆ
         JPG (Joint Photographic Expert Group)
                    JPG เปนไฟลภาพที่แสดงสีไดถึง 16.7 ลานสี เหมาะสําหรับภาพที่ใชสีจํานวนมาก ภาพที่
มีการไลระดับสีอยางตอเนื่องหรือภาพถายทั่วไป
         PNG (Portable Network Graphic)
                    PNG เปนไฟลภาพที่ไมไดรับความนิยมมากนักเมื่อเทียบกับ GIF, JPG เนื่องจากเปน
รูปแบบใหม จึงไมสามารถแสดงผลไดทุกเบราเซอร




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                      27
การใสรูปภาพลงบนเว็บ
         ในการใสรูปภาพลงบนเว็บเพจ มีขั้นตอนดังนี้
  1    วางเคอรเซอรตรงตําแหนงที่ตองการใสรูปภาพ
                           2   ในแท็บ Common คลิกที่ปุม               เลือก Image


                                                              3    ในชอง Look in ใหเลือกโฟลเดอรที่เก็บไฟลภาพ




                                                      4    เลือกรูปภาพที่ตองการ     5       คลิกปุม OK



        6    ปรากฏหนาตางแสดงขอความวา ภาพนี้อยู          7    เลือกโฟลเดอรที่ใชเก็บภาพ
             นอกเว็บไซตใหกอบปเขามาในเว็บไซต
                              
             จากนั้นคลิกปุม Yes




                                                                                         8     คลิกที่ปุม Save



                                                      9   ปรากฏรูปภาพที่ตองการบนเว็บเพจ


แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                 28
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ
         เมื่อเรานํารูปภาพมาวางไวในเว็บเพจแลว หากเราตองการจัดเกี่ยวกับรูปภาพในลักษณะตางๆ เชน การ
ปรับขนาด การจัดวางรูป การใสขอความอธิบายรูปภาพ การใสกรอบใหรูปภาพ การกําหนดระยะหางระหวาง
รูปภาพ เปนตน เราสามารถจัดการเกี่ยวกับรูปภาพไดโดยใช




   กําหนดระยะหางของรูป                ใสกรอบใหรูปภาพ       การจัดวางรูป         ปรับแสงและความคมชัด

                          ปรับขนาดของรูปภาพ               ใสขอความอธิบายรูปภาพ

การจัดวางรูปภาพประกอบขอความ
          เราสามารถจัดวางรูปภาพประกอบขอความบนหนาเว็บเพจใหมีความสวยงาม เปนที่นาดูของผูเขามา
เยี่ยมชมเว็บไซต โดยมีขั้นตอนดังนี้

                                                                         1    คลิกเลือกรูปภาพที่ตองการ

                                                                                   2   คลิกเลือกรูปแบบการจัดวางรูปภาพ
                                                                                       ในหนาตาง Properties ของ
                                                                                       Align โดยในที่นี้เลือก Left เพื่อจัด
                                                                                       วางรูปภาพไวดานซายมือ




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                     29
3    ปรากฏการจัดวางรูปที่ตองการ

                  ในการจัดวางรูปภาพประกอบขอความมีรายละเอียดดังนี้
                          • Default เปนการจัดเรียงแบบปกติ
                          • Baseline เปนการจัดใหขอบลางของรูปภาพอยูแนวเดียวกับบรรทัดของ
                            ขอความ
                          • Top เปนการจัดใหขอบบนของรูปภาพอยูแนวเดียวกันกับบรรทัดของขอความ
                          • Middle เปนการจัดใหตรงกลางของรูปภาพอยูแนวเดียวกันกับบรรทัดของ
                            ขอความ
                          • Bottom เปนการจัดใหขอบลางของรูปภาพอยูแนวเดียวกันกับบรรทัดของ
                            ขอความคลายการจัดแบบ Baseline
                          • Text Top เปนการจัดใหขอบบนของรูปภาพอยูแนวเดียวกับบรรทัดของ
                            ขอความคลายการจัดแบบ Top
                          • Absolote Bottom เปนการจัดใหขอบลางของรูปภาพอยูแนวเดียวกับ
                            สวนกลางของบรรทัดขอความ
                          • Left เปนการจัดใหรูปภาพอยูทางซายมือของบรรทัดขอความ
                          • Right เปนการจัดใหรูปภาพอยูทางขวามือของบรรทัดขอความ


การใสรูปภาพเปนฉากหลัง
         การใสรูปภาพเปนฉากหลัง (Background) ถือวาเปนการเพิ่มความสวยงามและนาสนใจใหกับ
เว็บเพจ ซึ่งภาพที่นาจะนํามาเปนฉากหลังตองไมมีลวดลายหรือสีสันมากเกินไป เพื่อไมใหผูชมเว็บไซตสับสน
หรือสีของพื้นหลังอาจตัดกับสีของขอความทําใหลําบากในการอานได ดังนั้นภาพที่นํามาเปนฉากหลังตองเปนสีที่
กลมกลืนกับขอความหรือรูปภาพที่วางไวในเว็บเพจ ซึ่งการใสรูปภาพเปนฉากหลังมีขั้นตอนดังนี้




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                              30
1       คลิกที่ปุม Page Properties... หรือกดปุม <Ctrl+J> เพื่อเปดหนาตาง Page Properties


   2       คลิกที่หัวขอ Apperance




           4     เลือกไฟลรูปภาพที่ตองการนํามาเปนฉากหลัง
                                                                             3       คลิกที่ปุม Browse...


                                                                      5    คลิกที่ปุม OK




                                                                                  6      คลิกที่ปุม OK ที่
                                                                                         หนาตาง Page
                                                                                         Properties อีกครั้ง


                                                                                  7      ปรากฏภาพที่ นํ า มาเป น
                                                                                         ฉากหลังเรียบรอยแลว




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                  31
บทที่ 5
                                                                 การจัดหนาเว็บเพจดวยตาราง
          เว็บเพจสวนมากมักนิยมใชตารางในการจัดวางองคประกอบ ซึ่งสวนมากจะเกี่ยวกับการนําเสนอขอมูลที่
เปนรายชื่อหรือรายการตางๆ และที่สําคัญคือใชตารางสําหรับจัดเลยเอาตหนาเอกสาร เพื่อชวยในการแสดงขอมูล
และองคประกอบตรงตามตําแหนงที่ตองการ
โครงสรางของตาราง
         กอนที่จะลงมือสรางตารางควรมาทําความรูจักโครงสรางของตารางซึ่งจะชวยทํางานไดงายขึ้น โดยมี
รายละเอียดดังนี้
    • คอลัมน (Column) ชองในแนวตั้ง
    • แถว (Row) ชองในแนวนอน
    • เซลล (Cell) ชองแตละชองที่อยูในตาราง
    • Cell Spacing เปนชองวางระหวางเซลลแตละเซลล
    • Cell Padding เปนระยะหางของขอความหรือรูปภาพจากขอบทุกดานของเซลล
    • สีพื้นเซลล
    • ขอบตาราง
    • ขอบเซลล
    • ความกวางทั้งหมดของตาราง
    • ความกวางจริงในคอลัมน
    • ความกวางของคอลัมนที่กําหนด
    • คอลัมนที่ไมกําหนดความกวาง
               Row          Cell Padding                        สีพื้นเซลล




        Cell                     ขอบเซลล                     ขอบตาราง                   Column

                                                                  คอลัมนที่ไมกําหนดความกวาง
                     ความกวางจริงในคอลัมน
                                                      ความกวางทั้งหมดของตาราง

แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                 32
วิธีการสรางตาราง
         ในโปรแกรม Dreamweaver มีเครื่องในการสรางตารางมากมาย เชน เครื่องมือในการสรางเสน
ขอบของตาราง กําหนดสีพื้นตารางและเซลล การจัดขอมูลตางๆ ภายในเซลล เปนตน โดยวีธีการสรางตารางมี
ขั้นตอนดังนี้
   1       คลิกแท็บ Common ที่แถบ Insert Bar




                                            2   คลิกที่ปุม Insert Table     เพื่อสรางตาราง




       3    ปรากฎหนาตาง Table จากนั้นในชอง Rows ใหกําหนดจํานวนแถว
            ของตาราง โดยในที่นี้กําหนดเปน 3



                                                               4    ในชอง Column ใหกําหนดจํานวน
                                                                    คอลัมนของตาราง โดยในที่นี้กําหนด
                                                                    เปน 3




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                         33
การกําหนดคุณบัติของตาราง
       ในหนาตาง Properties จะแสดงคุณสมบัติของตาราง ซึ่งมีรายละเอียดในการปรับแตง
ดังนี้




    •    Table Id               แสดงชื่อตาราง
    •    Rows                   แสดงจํานวนแถว
    •    Cols                   แสดงจํานวนคอลัมน
    •    W                      ความกวาง
    •    H                      ความสูง
    •    CellPad                แสดงระยะหางระหวางขอบเซลลและเนื้อหาภายในเซลล
    •    CellSpace              แสดงระยะหางระหวางเซลลแตละเซลล
    •    Align                  กําหนดตําแหนงตาราง
    •    Border                 กําหนดความหนาของเสนตาราง
    •    Bg Color               กําหนดสีพื้นตาราง
    •    Brdr                   กําหนดสีขอบตาราง
    •    Bg Image               กําหนดฉากหลังตาราง
    •        Clear Column Widths                ยกเลิกคาความกวางในทุกคอลัมน
    •         Convert Table Widths to Pixels            เปลี่ยนหนวยวัดความกวางใหเปนพิกเซล
    •         Convert Table Widths to Percent เปลี่ยนหนวยวัดความกวางใหเปนเปอรเซ็นต
    •         Clear Row Heights         ยกเลิกคาความสูงในแถว
    •         Convert Table Heights to Pixels           เปลี่ยนหนวยวัดความสูงใหเปนพิกเซล
    •         Convert Table Heights to Percent เปลี่ยนหนวยวัดความสูงใหเปนเปอรเซ็นต




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                         34
บทที่ 6
                                                         การสรางไฮเปอรลิงกเชื่อโยงระหวางเว็บ
         ไฮเปอรลิงก (Hyperlink)                หรือที่เรียกวา “ลิงก” เปนการเชื่อมโยงเว็บไซตบนอินเตอรเน็ต
จากจุดหนึ่งโยงไปยังอีกจุดหนึ่ง หรือเชื่อมตอเขาสูอีเมลลของ Webmaster เพื่อติดตอสื่อสารกัน การ
เชื่อมโยงในลักษณะนี้นับวามีประโยชนอยางมาก เนื่องจากทําใหผูเขาชม สามารถเขาถึงขอมูลและเนื้อหาทุกหนา
เว็บเพจภายในเว็บไซตของเราได

สวนประกอบของไฮเปอรลิงก
         ในการทํางานของไฮเปอรลิงกมีสวนประกอบดังนี้
         1. ตนทาง (Source Anchor) หมายถึง สวนประกอบบนเว็บที่เปนจะลิงก ซึ่งเมื่อเลื่อเมาสไปชี้
            พอยเตอรจะเปลี่ยนเปนรูปมือ และเมื่อคลิกเลือกหนาเว็บหรือขอมูลปลายทางจะปรากฏขึ้นมา ซึ่ง
            อาจเปนขอความหรือรูปภาพก็ได
         2. ปลายทาง (Destination Anchor) หมายถึง เนื้อหาขอมูลตางๆ ไมวาจะเปนขอความหรือ
            รูปภาพ ซึ่งถูกเรียกใหปรากฏขึ้นมาเมื่อมีผูชมคลิกที่ลิงกตนทาง ซึ่งลิงกปลายทางแบงไดเปนหลาย
            รูปแบบ ดังนี้
                      ตําแหนงเฉพาะบนเว็บเพจ             คือการสั่งใหเบราเซอรเปดเว็บเพจพรอมทั้งเลื่อนไปยัง
                                                         ตําแหนงที่ระบุไวโดยทันที
                      เว็บเพจหรือเว็บไซต                โดยสวนมากลิงกบ นเว็บเพจจะใชสําหรับ เปดไปยัง
                                                         หนาเว็บเพจอื่นภายในเว็บไซตเดียวกัน หรือเปดไปยัง
                                                         หนาเว็บไซตอื่น
                      ไฟลเอกสารอื่นๆ                    สามารถลิ ง ก ไ ปยั ง เนื้ อ หาหรื อ ข อ มู ล ต า งๆ บน
                                                         อินเตอรเน็ตได หากรูตําแหนงที่อยู โดยวิธีการทํางาน
                                                         ของเบราเซอร จะขึ้นอยูกับประเภทของไฟลเหลานั้น
                      คําสั่งสงอีเมลล                  คื อ การสั่ ง ให เ ป ด โปรแกรมอี เ มลล บ นเครื่ อ ง
                                                         คอมพิ ว เตอร ข องผู ช ม เพื่ อ เตรี ย มเขี ย นข อ ความส ง
                                                         อีเมลล
                      การรันโปรกแกรมจาวาสคริปต สําหรับใชในการโตตอบบนเว็บเพจ การปดวินโดวเบ
                                                         ราเซอร การเปดลิงก็เปนวินโดวใหม แบบปอบอัพ




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                           35
รูปแบบลิงกตางๆ บนอินเตอรเน็ต
          ลิงกนับวาเปนสวนสําคัญของหนาเว็บเพจ โดยในปจจุบันไดมีลิงกในรูปแบบตางๆ มากมาย ซึ่งสามารถ
แบงไดดังนี้
          ลิงกขอความ หมายถึง ลิงกที่ใชขอความเปนจุดเชื่อมโยงไปยังตําแหนงปลายทาง ซึ่งปกติจะใชสีให
แตกตางจากขอความปกติหรือมีการขีดเสนใตขอความนั้นๆ




                   ตัวอยางลิงกขอความ (www.mwk.ac.th/maechancop)

         ลิงกรูปภาพ หมายถึง ลิงกที่ใชรูปภาพเปนจุดเชื่อมโยง โดยเมื่อนําเมาสไปวางบนรูปภาพเคอรเซอรของ
เมาสจะเปลี่ยนเปนรูปมือ




                              ตัวอยางลิงกรูปภาพ (www.sawasdeeit.com)


แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                               36
ลิงกภาพเคลื่อนไหว ในปจจุบันนี้ลิงกภาพเคลื่อนนิยมนํามาใชตกแตงหนาเว็บเพจ เนื่องจากมีความ
สวยงามและมีลูกเลนตางๆ ที่ทําใหผเู ขาชมเว็บไซตสนุกและตื่นตา โดยการลิงกแบบภาพเคลื่อนไหวจะใชรูปภาพ
เปนจุดเชื่อมโยงเชนเดียวกัน แตเมื่อนําเมาสไปวางไวบนรูปจะมีลูกเลนตางๆ เชน การเปลี่ยนรูป ขนาดสี ปรากฏ
ขึ้นมา

ภาพกอนนําเคอรเซอรไปวาง




                                                                               ภาพหลังนําเคอรเซอรไปวาง

       ลิงกแบบ Flash การสรางลิงกดวยโปรแกรม Macromedia Flash หรือโปรแกรม
SWISH จะมีลูกเลนความสวยงามและสามารถโตตอบกับผูเขาชมไดดวย โดยการลิงกแบบ Flash เพื่อ
ประกอบในเว็บเพจมักเปนที่นิยมในปจจุบัน




                          ตัวอยางลิงกแบบ Flash (www.kapook.com)


แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                37
เราสามารถตรวจสอบลิงกที่สรางจากโปรแกรม Macromedia Flash โดยคลิกขวาที่ลิงก ถามี
คําสั่ง About Macromedia Flash Player แสดงวาเปนลิงกแบบ Flash




                                        คลิกทดสอบลิงกแบบ Flash

การสรางลิงกขอความ
         ในการลิงกขอความนั้นสามารถทําได 2 วิธี คือ
         วิธีที่ 1 การลิงกขอความไปยังหนาเว็บเพจอื่นในเว็บไซตเดียวกัน มีขั้นตอนดังนี้

                                                                            1     เลือกขอความที่ตองการ
                                                                                  สรางจุดลิงก




                                                                            2     คลิกที่ปุม




   3    ปรากฎหนาตาง Select
        File จากนั้นคลิกเลือกเว็บ
        เพจปลายทางที่ตองการลิงก


   4    คลิกปุม OK




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                    38
จากนั้นใหบันทึกเว็บเพจแลวกดปุม F12 เพื่อเรียกดูผานเบราเซอร ทดสอบโดยการคลิกที่ลิงก จากนั้น
ก็จะเชื่อมโยงไปยังหนาเว็บเพจที่กําหนด




คลิกที่ลิงก




                                                                                      ปรากฏหนาเว็บเพจที่ตองการ

           วิธีที่ 2 การลิงกขอความไปยังสวนตางๆ ในหนาเว็บเพจเดียวกัน มีขั้นตอนดังนี้

                                                                                      2     คลิกเมนู Insert >
                                                                                            Named Anchor




                                                                                  3       ปรากฎหนาตาง Named Anchor
                                                                                          จากนั้น พิมพชื่อลิงก โดยในที่นี้พิมพคํา
                                                                                          วา When




               1    วางเคอรเซอรหนาขอความที่ตองการลิงกไปหา                                    4     คลิกปุม OK
แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                          39
ปรากฎไอคอน




                                                            5     เลือกขอความที่ใชเปนจุดลิงก



                                                            6     พิมพ # ตามดวยชื่อจุดลิงก
                                                                  โดยในที่นี้พิมพคําวา When

                              เมื่อบันทึกและคลิกลิงกที่สรางขึ้น บนหนาเว็บเบราเซอร
                          7
                              จะปรากฎการลิงกไปยังสวนที่ตองการ




                                                                           8     ปรากฏสวนที่ลิงก




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                      40
การสรางลิงกดวยรูปภาพ
         การสรางลิงกดวยรูปภาพนับเปนการเพิ่มความนาสนใจกับลิงกในหนาเว็บเพจ โดยมีขั้นตอนดังนี้



                                                                              1    คลิกเลือกรูปที่ตองการ
                                                                                   สรางลิงก
                                                                                  4    คลิกปุม OK




   2    คลิก        ในหนาตาง Properties เพื่อ
        เลือกหนาเว็บเพจที่ตองการลิงกไปหา


                                              3    ปรากฎหนาตาง Select File เลือกเว็บเพจปลายทางที่ตอง


         บันทึกหนาเว็บเพจ จากนั้น กดปุม F12 เพื่อทดสอบกับเบราเซอร



                                                               << ทดสอบกับเบราเซอร




         หนาเว็บเพจที่ปรากฏขึ้นมา >>




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                               41
การลิงกกลับไปหนาโฮมเพจ
         หากตองการสรางลิงกรูปภาพกลับไปหนาโฮมเพจ (หนาแรกของเว็บไซต) มีขั้นตอนดังนี้



                                                                            1   คลิกเลือกรูปที่ตองการ
                                                                                สรางลิงก


                                                                           2    คลิก         ในหนาตาง
                                                                                Properties เพื่อเลือกหนา
                                                                                เว็บเพจที่ตองการลิงกไปหา




          3    ปรากฎหนาตาง Select File
               เลือกเว็บเพจปลายทางที่ตอง

                          4   คลิกปุม OK




         บันทึกหนาเว็บเพจ จากนั้น กดปุม F12 เพื่อทดสอบกับเบราเซอร


                                                                       << ทดสอบกับเบราเซอร




     หนาเว็บเพจที่ปรากฎขึ้นมา >>

แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                            42
การลิงกไปยังเว็บไซตอื่น
         เปนการสรางลิงกไปยังเว็บไซตหรือแหลงขอมูลภายนอกเว็บไซตของเรา ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้




                                                                                1     ลากเมาสเลือกขอความ
                                                                                      หรือรูปภาพสําหรับ
                                                                                      กําหนดใหเปนจุดลิงก




   2    พิมพชื่อเว็บเพจปลายทางในชอง Link ใหใส http:// จากนั้นตามดวยชื่อเว็บไซตที่ตองการลิงก
        ในตัวอยางพิมพ http://www.mwk.ac.th/maechancop

         บันทึกหนาเว็บเพจ จากนั้น กดปุม F12 เพื่อทดสอบกับเบราเซอร




       ทดสอบกับเบราเซอร >>




                                                                                    << หนาเว็บเพจที่ปรากฎขึ้นมา




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                43
บทที่ 7
                                                                  การเพิ่มลูกเลนใหหนาเว็บเพจ
           เมื่อไดเรียนรูถึงองคประกอบพื้นฐานในการสรางเว็บเพจ เชน การใสขความ รูปภาพ การใชตาราง การ
สรางลิงก เรียบรอยแลว หากตองการเพิ่มลูกเลนบนหนาเว็บเพจเพื่อดึงดูดความสนใจของผูเขาชม ก็สามารถทําได
มากมาย ไมวาจะเปนการใชภาพเคลื่อนไหว การคนหาขอมูล การสรางเมนู Pop Up เปนตน ซึ่งเราจะมาศึกษา
กันในบทนี้

การสรางชองคนหาขอมูลในเว็บเพจ
         การใส Search Engine หรือเครื่องมือสําหรับการคนหาขอมูลตางๆ นับเปนสิ่งที่สําคัญขาด
ไมไดโดยการสรางชองคนหาขอมูลในเว็บเพจมีขั้นตอนดังนี้
                                        2    คลิกปุม Form         บนแท็บ Forms




   1    วางเคอรเซอรบริเวณ
        ที่ตองการสรางชอง
        คนหาขอมูล


         กําหนดคาในชอง Properties ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

   3    ในชอง Action ใหพิมพ http://www.google.co.th/search เพื่อสราง Search engine ของ Google




                                   4    ในชอง Method ใหเลือกคา




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                               44
6      คลิกปุม Text Field          เพื่อใสฟลดรับขอมูล




            7    วางในบริเวณเดิมที่เราจะสรางฟลดรับขอมูล

                                  8    ใสชื่อของ Field ที่ตองการ


                                                                               9       คลิกปุม OK




       10    Text Field ที่ได




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                              45
11      คลิกปุม Button        แบบ Submit เพื่อสรางปุมสงขอมูลจากฟอรมไปยัง Google




                                 12      พิมพชื่อปุมลงไปในชอง Value


                 บันทึกหนาเว็บเพจ จากนั้น กดปุม F12 เพื่อทดสอบกับเบราเซอร




                13   ทดสอบกับเบราเซอรพิมพขอมูลที่ตองการคนหาแลวคลิกที่ปุม Search




แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                        46
เพิ่มเติมลูกเลนดวย Behavior
          ในโปรแกรม Dreamwever สามารถสรางการโตตอบระหวางองคประกอบตางๆ บนเว็บเพจกับผู
เยี่ยมชมเว็บไซต เชน เมื่อนําเมาสไปวางบนลิงกจะมีกรอบเมนูยอยปรากฏใหเลือกหรือแสดงขอความอธิบาย เปน
ตน โดยเราเรียกคุณสมบัตที่ใชสรางนี้วา Behaviors
                           ิ

     ความหมายของ Behaviors
     Behavior คือ การนํา JavaScript สําเร็จรูปที่โปรแกรม Dreamweaver สรางไวใหมาใช
Behaviors ประกอบดวย 2 สวนดวยกันคือ
     1. Event หมายถึง การกําหนดเหตุการณหรือลูกเลนตางๆ ที่สรางไวใหเกิดขึ้นเมื่อไร เชน เมื่อผู
         เยี่ยมชม นําเมาสไปวางหรือคลิก
     2. Action หมายถึง การตอบสนองของเหตุการณที่เราตองการใหเกิดขึ้น ซึ่งเปนผลมาจากชุดคําสั่ง
         ภาษา JavaScript ที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงการทํางานตางๆ เชน การแสดงภาพ การแสดงกลอง
         ขอความ การเปดหนาตางเบราเซอรใหม เปนตน

         การเปดพาเนล Behavior
         กอนการสราง Behavior ใหเราเปดพาเนล Behavors ขึ้นมากอน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

                                                1     คลิกเมนู Windows > Behaviors หรือกดปุม <Shift+F4>




                                                                                     2    ปรกฎพาเนล Behaviors
                                                                                          ซึ่งจะชวยในการกําหนด
                                                                                          Event และ Action




การนํา Behavior มาใชงาน
         ขอแนะนําการใชงาน Behavior เปนหัวขอตางๆ ดังนี้
         การสรางกลองขอความ (Popup Message)
         เปนการแสดงกลองขอความแจงคําเตือนตางๆ ใหผเู ยี่ยมชม ซึ่งมีขั้นตอนการสรางดังนี้


แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                47
1       คลิกเลือกรูปภาพ




                                                                       2     คลิกที่ปุม Add Behavior
                                                                                  เลือก Popup Message




   3    พิมพขอความที่ตองการใหแสดงบนรูปภาพ            4    คลิกปุม OK
                                                                      5     จากนั้นที่พาเนล Behavior จะปรากฏ
                                                                            Action เปน Popup Message และ
                                                                            Event เปน onClick




              6     บันทึกเว็บเพจแลวทดสอบเบราเซอร จากนั้นคลิกที่รปภาพจะปรากฏกลองขอความที่กําหนด
                                                                   ู
แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                           48
การใสเสียงเพลงลงในเว็บไซต
          การใสเสียงเพลงนับเปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยเพิ่มความนาสนใจใหกับเว็บไซตของเรา ยกตัวอยางเชน ให
เปดเสียงเพลงเมื่อผูเยี่ยมชมคลิกเมาสบนปุมหรือเมื่อเปดหนาเว็บเพจ
          สําหรับการใสเสียงเพลงลงในเว็บไซต มีขั้นตอนดังนี้
    2    คลิกปุม Media : Flash
                                                3     เลือก Plugin




                                                                            1    วางเคอรเซอรบริเวณที่ตองการ
                                                                                 สรางหนาจอควบคุมเสียง
   4     ปรากฎหนาตาง Select File ในชอง Look in คลิกเลือกโฟลเดอรที่เก็บไฟลเพลง



                                                                  5     คลิกเลือกไฟลเพลงที่ตองการใสลงในเว็บเพจ



                                                                  6     คลิกที่ปุม OK




   7     คลิกที่ปุม Yes เพื่อ Copy ไฟลเพลงไวภายในเว็บของเรา




                                                              8       คลิกที่ปุม Save เพื่อบันทึกไฟลเพลง


แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49                                                                                      49
Dream weaver8
Dream weaver8
Dream weaver8
Dream weaver8
Dream weaver8

Weitere ähnliche Inhalte

Was ist angesagt?

Joomla คืออะไร
Joomla คืออะไรJoomla คืออะไร
Joomla คืออะไรkrudaojar
 
คู่มือ อบรม Joomla! 3.x
คู่มือ อบรม Joomla! 3.xคู่มือ อบรม Joomla! 3.x
คู่มือ อบรม Joomla! 3.xPisan Chueachatchai
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอมdekthai
 
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบกลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบเขมิกา กุลาศรี
 
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforiaการสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + VuforiaDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashการสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashmathawee wattana
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmswithawat na wanma
 
คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8duangnapa27
 

Was ist angesagt? (17)

Flash8
Flash8Flash8
Flash8
 
Joomla คืออะไร
Joomla คืออะไรJoomla คืออะไร
Joomla คืออะไร
 
Joomla2-5-article-manager
Joomla2-5-article-managerJoomla2-5-article-manager
Joomla2-5-article-manager
 
คู่มือ อบรม Joomla! 3.x
คู่มือ อบรม Joomla! 3.xคู่มือ อบรม Joomla! 3.x
คู่มือ อบรม Joomla! 3.x
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
Joomla 3.7 Workshop 1 Day
Joomla 3.7 Workshop 1 Day Joomla 3.7 Workshop 1 Day
Joomla 3.7 Workshop 1 Day
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบกลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน  Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
กลุ่มที่ 7ขั้นตอนการเข้าใช้งาน Wordpress ในฐานะผู้ดูแลระบบ
 
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforiaการสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flashการสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
การสร้างบทเรียน Cai ด้วย Flash
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studioสอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
 
joomla-2-5-install-appserv
joomla-2-5-install-appservjoomla-2-5-install-appserv
joomla-2-5-install-appserv
 
Hanfbookflash8
Hanfbookflash8Hanfbookflash8
Hanfbookflash8
 
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cmsคู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
 
คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8คู่มือ Dreamwever 8
คู่มือ Dreamwever 8
 

Ähnlich wie Dream weaver8

Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2beauten
 
Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2beauten
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)kruthanyaporn
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6arachaporn
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6arachaporn
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8doraemonbookie
 
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ Dream
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์  Dreamคู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์  Dream
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ Dreamsommat
 
Joomla-installation
Joomla-installationJoomla-installation
Joomla-installationSo Pias
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5พงศธร ภักดี
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลKriangx Ch
 

Ähnlich wie Dream weaver8 (20)

Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2
 
Webpagemaker2
Webpagemaker2Webpagemaker2
Webpagemaker2
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
 
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ Dream
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์  Dreamคู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์  Dream
คู่มือประกอบการสร้างเว็บไซต์ Dream
 
วิธีการติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8
วิธีการติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8วิธีการติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8
วิธีการติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8
 
Joomla-installation
Joomla-installationJoomla-installation
Joomla-installation
 
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
แผนการสอน เว็บไซต์ ม.5
 
20121102 joomla2-5
20121102 joomla2-520121102 joomla2-5
20121102 joomla2-5
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
รูปทรงกลม
รูปทรงกลมรูปทรงกลม
รูปทรงกลม
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
เอกสารประกอบการสอน Dreamweaver8 ม.6
เอกสารประกอบการสอน  Dreamweaver8 ม.6เอกสารประกอบการสอน  Dreamweaver8 ม.6
เอกสารประกอบการสอน Dreamweaver8 ม.6
 

Dream weaver8

  • 1. เอกสารประกอบการสอน การสรางเว็บเพจดวยโปรแกรมสําร็จรูป Macromedia Dreamweaver 8 นายแมนสรวง แซซม ิ้ ครู คศ.1 โรงเรียนแมจนวิทยาคม ั สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 3 อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย
  • 2. คํานํา เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การสรางเว็บเพจดวยโปรแกรมสําเร็จรูป เลมนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใชในการ ประกอบการเรียนการสอน ในสาระการเรียนรูเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่ง เนื้อภายในเอกสารนี้ มีทั้งหมด 7 บท ประกอบดวย บทที่ 1 ทําความรูจักกับ Macromedia Dreamweaver 8 บทที่ 2 กําหนดคุณสมบัติและการจัดขอมูลของเว็บไซต บทที่ 3 การใสขอความบนเว็บเพจ บทที่ 4 การใส รูปภาพบนเว็บเพจ บทที่ 5 การจัดหนาเว็บเพจดวยตาราง บทที่ 6 การสรางไฮเปอรลิงกเชื่อโยงระหวางเว็บ บทที่ 7 การเพิ่มลูกเลนใหหนาเว็บเพจ ซึ่งสามารถนําไปปฏิบัติและใชงานจริงได และสามารถนําไปสูการเปนมือ อาชีพในการสรางเว็บเพจไดอีกดวย หวังวาเอกสารประกอบการสอนเลมนี้คงเปนประโยชนตอนักเรียน และ ผูสนใจทั่วไปไดเปนอยางดี นายแมนสรวง แซซ้มิ มิถุนายน 2549 แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 2
  • 3. สารบัญ หนา บทที่ 1 ทําความรูจักกับ Macromedia Dreamweaver 8 1 บทที่ 2 กําหนดคุณสมบัติและการจัดขอมูลของเว็บไซต 14 บทที่ 3 การใสขอความบนเว็บเพจ 23 บทที่ 4 การใสรูปภาพบนเว็บเพจ 26 บทที่ 5 การจัดหนาเว็บเพจดวยตาราง 31 บทที่ 6 การสรางไฮเปอรลิงกเชื่อโยงระหวางเว็บ 34 บทที่ 7 การเพิ่มลูกเลนใหหนาเว็บเพจ 43 แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 3
  • 4. บทที่ 1 ทําความรูจกกับ Macromedia Dreamweaver 8 ั M acromedia Dreamweaver เปนโปรแกรมสําหรับการสรางเว็บเพจ บริหารจัดการเว็บไซต รวม ไปถึงการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน เนื่องจากตัว Dreamweaver มีความสามารถที่โดดเดน ดังนี้ สามารถเขียนโปรแกรมสําหรับเว็บไดทุกรูปแบบ เชน ASP, ASP.Net, ColdFusion, JSP, PHP, XML, XHTML เมนูคําสั่งและเครื่องมือตางๆ เรียกใชงานไดงายและสะดวก มีการปรับปรุงกลไกภายในใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น สามารถสรางแอปพลิเคชันงายๆ โดยไมจําเปนตองเขียนโปรแกรม สรางเว็บเพจภาษาไทยไดทันทีโดยไมตองติดตองโปรแกรมเสริมเพราะ Dreamweaver รองรับตัวอักษรแบบ Unicode การติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8 ในการติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8 เริ่มจากใสแผนซีดีติดตั้งลงในไดรฟซดีรอม หลังจากนั้น ี ทําตามขั้นตอนดังนี้ 1 ดับเบิลคลิกที่ไอคอน แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 4
  • 5. 2 ปรากฏหนาตางตอนรับการติดตั้งโปรแกรม จากนั้น คลิกที่ปุม เพื่อเริ่มตนการติดตั้ง 3 ปรากฏขอความการใชงานโปรแกรมคลิกที่ปุม เพื่อยอมรับขอตกลง 4 คลิกปุม หากตองการเลือก ตําแหนงในการติดตั้งโปรแกรม 5 คลิกปุม 6 คลิกปุม แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 5
  • 6. 7 คลิกปุม เพื่อเริ่มตนการติดตั้ง ปรากฏสถานะการติดตั้ง 7 เมื่อติดตั้งโปรแกรมเรียบรอยแลว คลิกที่ปุม เพียงเทานี้ก็สามารถใชโปรแกรม Dreamweaver 8 ไดแลว แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 6
  • 7. การเขาสูโปรแกรม Dreamweaver 8 เมื่อเราติดตั้งโปรแกรม Dreamweaver 8 เรียบรอยแลว สามารถเปดโปรแกรมขึ้นมาใชงานไดเลย โดยมี ขั้นตอนดังนี้ 2 เลือก All Programs>Macromedia> Macromedia Dreamweaver 8 เพื่อ เริ่มตนการใชงาน 1 คลิกปุม 3 เลือกรูปแบบพื้นที่ทํางานของโปรแกรม โดยมีรายละเอียดดังนี้ Designer หมายถึง การสรางและออกแบบเว็บเพจโดยทั่วไป ซึ่ง สวนมากนิยมเลือกรูปแบบนี้ Code หมายถึง วิธีการสรางเว็บเพจที่เนนการเขียนชุดคําสั่งเอง จากนั้นคลิกปุม OK (โดยในที่เลือก Disigner) แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 7
  • 8. แนะนําสวนประกอบของโปรแกรม Dreamweaver 8 กอนลงมือสรางหนาเว็บเพจนั้น ขอแนะนะสวนประกอบของโปรแกรม Dreamweaver 8 วาแต ละสวนมีรายละเอียดอยางไรบาง หนาจอ Start Page ในการเปดโปรแกรม Dreamweaver 8 ทุกครั้งจะปรากฏหนาจอเริ่มตน (Start Page) สําหรับเปดเว็บเพจเดิมหรือสรางเว็บเพจใหม โดยแบงเปน 3 กลุม ดังนี้ 1 เปดเว็บเพจที่เคยใชงานมาแลว 2 การสรางงานใหม 3 การสรางงานตามแบบฟอรม 1. เปดไฟลเว็บเพจที่เคยใชงานมาแลว (Open a Recent Item) เปนสวนแรกของหนาจอเริ่มตนใชสําหรับเปดงานที่เราทําคางไว ซึ่งเลือกจากรายการชื่อที่แสดงอยู โดย โปรแกรมจะแสดงงานที่เปดใชบอยอยูดานบน 2. การสรางงานใหม (Create New) ในสวนนี้เปนการเลือกประเภทงานที่ตองการสรางใหม โดยเลือกประเภทไฟลตางๆ ได เชน HTML, PHP, ASP JavaScript, ASP VBScript, ASP.NET C#, ASP.NET VB, JSS, CSS หรือเลือก แบบฟอรมอื่นๆ เปนตน 3. การสรางงานตามแบบฟอรม (Create from Sample) เปนสรางเว็บเพจตามแบบฟอรมที่โปรแกรมไดจดไวใหแลว ซึ่งมีรูปแบบใหเลือกหลายประเภท ั แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 8
  • 9. ตัวอยางแบบฟอรมที่ชวยในการออกแบบ นอกจากนี้ยังสามารถศึกษาโปรแกรม Dreamweaver 8 จากอินเตอรเน็ตในหัวขอ Take a quick tour of Dereamweaver. หรือเรียนรูจากโปรแกรมชวยสอนจากหัวขอ Learn about documentation resources เรียนรูจากโปรแกรมชวยสอน (Dreamweaver Help) แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 9
  • 10. สวนประกอบหนาจอโปรแกรม เมื่อเราเลือกประเภทการทํางานแลว (ในกรณีน้ีผูสอนคลิกเลือก HTML จากสวนของ Create New) จะปรากฏหนาตางการทํางานของโปรแกรม 1 Titlebar 2 Menu Bar 3 Insert Bar 4 Toolbar 5 Document Area 6 Status Bar 7 Properties Inspector 8 Panel 1. Titlebar เปนสวนแสดงชื่อโปรแกรม Dreamweaver 8 และชื่อไฟลที่ทํางานอยู 2. Menu Bar เปนสวนที่รวบรวมเมนูคําสั่งการทํางานเอาไว ซึ่งสามารถเปดเมนูตางๆ ขึ้นมาใชงานโดยคลิกที่ชื่อเมนูแลว เลื่อนเมาสไปยังตําแหนงที่ตองการได หากเมนูนั้นมีคําสั่งยอยจะมีลูกศร แลวเลื่อนเมาสไปยังคําสั่งยอยเหลานั้น  ได แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 10
  • 11. คําสั่งยอยของเมนูตางๆ แสดงคําสั่งยอยของเมนู Table Mode 3. Insert Bar เปนแถบที่ประกอบดวยปุมคําสั่งที่ใชในการแทรกออบเจ็กต (องคประกอบตางๆ) ลงในเว็บเพจ โดยแบงเปน หมวดหมูซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ Common เปนชุดคําสั่งสําหรับแทรกออปเจ็กตที่เรียกใชงานบอยๆ ในการสรางเว็บเพจ เชน รูปภาพ กราฟก ตาราง ไฟลมีเดีย เปนตน Layout สําหรับเลือกมุมมองในการสรางเว็บเพจ เชน มุมมองปกติ มุมมองแบบขยาย เพื่อใหเห็นออปเจ็กตตางๆ ไดอยางชัดเจน Forms สํากรับแทรกออปเจ็กตที่ใชสรางแบบฟอรมรับขอมูลจากผูชม เชน ชองรับขอความ และฟลดชนิดตางๆ Text สําหรับจัดรูปแบบขอความในเว็บเพจ เชน หัวเรื่อง ตัวหนา ตัวเอียง จัดหัวขอ จัดยอ หนา และแทรกสัญลักษณพิเศษตางๆ Application สําหรับแทรกคําสั่งและการดึงขอมูลจากฐานขอมูลมาแสดงบนเว็บ แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 11
  • 12. Flash element สําหรับนําไฟล Flash เขามาใชงาน Favorite สําหรับจัดเก็บออบเจ็กตที่ชอบเพื่อความสะดวกในการใชงาน Show as Tabs เปลี่ยนแถบเครื่องมือใหแสดงผลในลักษณะแท็บคําสั่งเรียงตอกันไป 4. Toolbar เปนแถบเครื่องมือที่เก็บปุมคําสั่งที่ตองใชงานบอยๆ ซึ่งประกอบดวย Show Code View สําหรับแสดงการทํางานในรูปแบบ HTML นอกจากนี้ยังสามารถเขียนคําสั่ง HTML หรือคําสั่งภาษาสคริปต (Script) อื่นๆ ไดดวย Show Code and Design สําหรับแสดงการทํางานแบบ HTML กับ การแสดงพื้นที่ออกแบบ โดยจะแสดงสวนของคําสั่งไวดานบนและแสดงเว็บเพจปกติไว ดานลาง แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 12
  • 13. Show Design View สําหรับแสดงเว็บเพจคลายกับที่เราเห็นใจเบรา เซอร เชน ขอความ กราฟก หรือออปเจ็กตอื่นๆ และสามารถแกไขเนื้อหาลงเว็บเพจได 5. Document Area เปนสวนที่ใชสําหรับสรางหนาเว็บเพจ โดยการใสเนื้อหาและจัดองคประกอบตางๆ นํามาวางใน Document Area และสามารถเลือกพื้นที่การทํางานไดหลายมุมมอง เชน Show Code View, Show Code and Design View ดังที่ไดกลาวไวแลวขางตน 6. Status Bar คือ แถบแสดงสถานะที่อยูบริเวณดานลางของพื้นที่สรางงาน (Document Area) ซึ่งประกอบดวย 2 สวน คือ ทางดานซายเรียกวา Tag Selector ใชสําหรับแสดงคําสั่ง HTML ของสวนประกอบใน เว็บเพจที่เลือกอยู และทางดานขวาเปนสวนที่บอกขนาดและเวลาที่ใชในการดาวนโหลดเว็บเพจ Tag Selector สวนที่บอกขนาดและเวลาที่ใชในการดาวน 7. Properties Inspector โหลดเว็บเพจ แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 13
  • 14. เปนหนาตางแสดงคุณสมบัติของออปเจ็กตที่เรากําลังเลือกในเว็บเพจ และสามารถกําหนดหรือแกไข คุณสมบัติของสวนประกอบตางๆ ในหนาเว็บเพจได เชน ขอความ สี ขนาด ตาราง ลิงก เปนตน โดยรายละเอียดภายในหนาตาง Properties Inspector จะไมเหมือนกันขึ้นอยูกับวาขณะนั้นเรากําลัง เลือกทํางานกับออปเจ็กตใดอยู สําหรับซอน/แสดง Properties Inspector สําหรับยอ/ขยาย Properties Inspector Properties Inspector ของภาพกราฟก Properties Inspector ของขอความ Properties Inspector ของตาราง 8. Panels เปนกรอบเล็กๆ บริเวณดานขวา ประกอบดวยเครื่องมือสําหรับใชทางานตางๆ ซึ่งแตละสวนของ Panels ํ จะมีหนาที่แตกตางกันไป เชน การจัดเก็บ Code, CSS, Behavior อีกทั้งไฟลและโฟลเดอรภายใน เว็บไซต (โดยรายละเอียดตางๆ จะอธิบายใน Chapter ตอๆ ไป) และเรียกขึ้นมาใชงานโดยใชคําสั่ง Windows จากนั้นเลือกชื่อ Panels ทีตองการเปด/ปด หรือใชคียลัดดานหลังชื่อ Panels ก็ได ่ เชนกัน คลิกเพื่อซอน/แสดง Panels คลิกเพื่อเปดพาเนลที่ซอนอยู ดับเบิลคลิกเพื่อขยายกลุมพาเนล คลิกเพื่อเปดหัวขอยอย แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 14
  • 15. บทที่ 2 กําหนดคุณสมบัติและการจัดขอมูลของเว็บไซต เมื่อเริ่มตนสรางเว็บไซตนั้น เราตองทําความเขาใจในเรื่องการกําหนดโครงสรางการจัดขอมูลของ เว็บไซตและการกําหนดคุณสมบัติตางๆ โดยใน Chapter นี้จะอธิบายขั้นตอนในการสรางเว็บไซต และ เว็บ เพจและกําหนดคุณสมบัติตางๆ เชน การแกไขและการบันทึกเว็บไซต เพื่อเตรียมความพรอมกอนการใสเนื้อหา ใหกับเว็บเพจ การกําหนดไฟลและโฟลเดอรภายในเว็บไซต ภายในเว็บไซตประกอบดวยหนาเว็บเพจและไฟลตางๆ เปนจํานวนมาก หากเว็บไซตของเรามีขนาด ใหญจํานวนหนาเว็บเพจและไฟลตางๆ ก็จะมีจํานวนมากขึ้น ดังนั้นการวางแผนในการจัดเก็บไฟลเหลานี้ก็นับวา เปนสิ่งสําคัญ โครงสรางโฟลเดอรภายในเว็บไซตจะประกอบไปดวยโฟลเดอรหลักและโฟลเดอรยอยๆ ที่ซอนกันอยู  เปนชั้น ๆ ลงมา ดังนั้นในการแบงโฟลเดอรหสําหรับเก็บไฟลควรแบงเปนหมวดหมู และแยกตามประเภทของ ไฟล เชน เว็บเพจ กราฟก สคริปต เปนตน โครงสรางของโฟลเดอรดังรูปตัวอยาง เปนการกําหนดตําแหนงและ สถานที่เก็บไฟลขอมูล โดยมีรายระเอียดของโครงสรางโฟลเดอร ภายในเว็บไซต ดังนี้ 1. WEBket3 เปนโฟลเดอรหลักของเว็บไซต สําหรับ เก็บไฟล HTML ของเว็บเพจ 2. Data เปนโฟลเดอรยอยเก็บฐานขอมูล 3. Flash เปนโฟลเดอรยอยเก็บไฟลที่เปนภาพเคลื่อนไหว ที่ทําจากโปรแกรมแฟลช 4. galary เปนโฟลเดอรยอยที่เก็บเกี่ยวกับภาพที่ตางๆ ที่  เปนกิจกรรมตางๆ 5. image เปนโฟลเดอรยอยที่เก็บรูปภาพตางๆ ที่ใชใน เว็บเพจทั้งหมด ตัวอยางโครงสรางโฟลเดอรภายในเว็บไซต แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 15
  • 16. Dreamweaver Site ขั้นแรกของการสรางเว็บไซต คือการสราง Dreamweaver Site เพื่อกําหนดชื่อเว็บไซต ระบุ ไฟลเดอรสําหรับจัดเก็บไฟล เปนตน โดยโฟลเดอรน้จะเปนแหลงรวมเว็บเพจ กราฟก ไฟลอื่นที่สําคัญใหอยู ี ภายในสถานที่เดียวกัน เพื่อความสะดวกในการอัพโหลดขึ้นสูอินเตอรเน็ต โดยการสราง Dreamweaver Site มีขั้นตอนดังนี้ 1 คลิกเมนู Site>Manage 2 คลิกปุม แลวเลือกคําสั่ง Site 3 พิมพชื่อไซตที่ตองการลงในชอง What would you like to name your site? (ควรเปนภาษาอังกฤษ) 4 คลิกปุม เพื่อเริ่มตนขั้นตอไป แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 16
  • 17. 5 คลิกที่ชอง No, I do not want use a server technology เพื่อสราง เฉพาะไฟล HTML 6 คลิกปุม 7 คลิกที่ชอง Edit Local copies on my machine, then upload to server when ready (recommended) เพื่อเลือก ทํางานในเครื่องคอมพิวเตอรกอนแลวจึงอัพ โหลดขึ้นไปยังเชิรฟเวอรภายหลัง 9 คลิกปุมเลือกโฟลเดอรหลักที่เตรียมไว 8 คลิกปุม เพื่อเลือกโฟลเดอรที่ตองการเก็บ เว็บไซต 10 9 คลิกปุม แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 17
  • 18. 11 คลิกปุมเลือกโฟลเดอรหลักที่เตรียมไว 12 คลิกเลือกหัวขอ None เนี่องจากขณะนี้ ยังไมตองการเชื่อมตอกับเว็บเซิรฟเวอร  13 คลิกปุม 14 คลิกที่ปุม เพื่อสราง Dreamweaver Site ตามคาที่กาหนดไว ํ ปรากฏชื่อไซตบริเวณพาเนล Files แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 18
  • 19. การสรางหนาเว็บเพจ เราสามารถสรางหนาเว็บเพจขึ้นมาใหมไดทันที ในกรณีที่เปดโปรแกรมแลวไมปรากฏหนาเว็บเพจใน พื้นที่สรางงาน โดยการสรางหนาเว็บเพจมีขั้นตอนดังนี้ 1 คลิกเมนู File > New 2 คลิกเลือก Basic page 3 คลิกเลือก HTML เพื่อสรางหนา เว็บเพจเปลาแบบธรรมดา 4 คลิกปุม Create 5 ปรากฏหนาวางเปลา สําหรับสรางเว็บเพจ แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 19
  • 20. การกําหนดคุณสมบัติใหเว็บเพจ เมื่อเราสรางหนาเว็บเพจขึ้นมาแลวขั้นตอนตอไปคือ การกําหนดคุณสมบัติใหเว็บเพจ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1 คลิกเมนู Modify > Page Properties 2 ปรากฎหนาตาง Page Properties สําหรับ กําหนดคุณสมบัติใหเว็บเพจ ชื่อของเว็บเพจ ชื่อของเว็บเพจจะไปปรากฏอยูที่แถบ Titlebar โดยการตั้งชื่อหนาเว็บเพจมีขั้นตอนดังนี้ 1 ในชอง Category 2 พิมพชื่อเว็บที่ตองการ คลิกเลือก Title/Encoding 3 คลิกปุม Apply 4 ปรากฏชื่อที่ตั้งบนแถบ Titlebar แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 20
  • 21. กําหนดรูปแบบแสดงภาษา เราสามารถกําหนดรูปแบบการแสดงภาษาเพื่อใหเว็บเพจแสดงผลเปนภาษาไทย โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1 ในชอง Category คลิกเลือก Title/Encoding 2 ในชอง Encoding คลิกเลือก Thai (Windows) 3 คลิกปุม OK การใสสีพื้นหลังใหหนาเว็บเพจ พื้นหลัง (Background) ในหนาเว็บเพจปกติจะมีสีขาวไมเปนที่นาสนใจ การใสสีใหพื้นหลังก็ เปนอีกวิธีหนึ่งซึ่งจะชวยใหเว็บของเรานาสนใจมากขึ้น โดยการใสสีพื้นหลังใหหนาเว็บเพจมีขั้นตอนดังนี้ 1 คลิกเมนู Modify > Page Properties 2 ในชอง Categry คลิกเลือก Appearance 3 คลิกในชอง Background area 5 คลิกที่ปุม OK 4 คลิกเลือกสีที่ตองการเปนพื้นหลัง แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 21
  • 22. 6 ปรากฎสีพื้นหลัง บนหนาเว็บเพจที่ตองการ การบันทึกเว็บเพจ เมื่อสรางและกําหนดคุณสมบัติพื้นฐานของเว็บเพจเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไปที่ขาดไมไดคือ การ บันทึกเว็บเพจเพื่อปองกันการผิดพลาดระหวางการทํางาน โดยการบันทึกเว็บเพจมีขั้นตอนดังนี้ 1 คลิกเมนู File > Save หรือปุม <Ctrl+S>  2 เลือกโฟลเดอร 3 ตั้งชื่อไฟล 4 คลิกปุม Save เพื่อบันทึกเว็บเพจ แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 22
  • 23. การทดสอบเว็บเพจกับเบราเซอร ในระหวางการสรางเว็บเพจ เราตองตรวจสอบการแสดงผลของเนื้อหา เชน สี ขนาด และตําแหนง ของขอความหรือรูปภาพเมื่อนําขึ้นไปแสดงผลบนเบราเซอร โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1 คลิกเมนู File > Save หรือปุม <Ctrl+S>  2 คลิกที่ปุม เลือก Preview in iexplore หรือกดปุม <F12> 3 ปรากฏผลการทดสอบเว็บเพจใน Internet Explorer การปดไฟลเว็บเพจ หลังจากที่แกไขหรือบันทึกเว็บเพจเรียบรอยแลว เมื่อตองการเลิกใชงานเราสามารถปดไฟลในแตละ หนาตาง โดยมีหลายวิธีดังนี้ o กดปุมคียบอรด <Ctrl+F4> o คลิกเมนู File > Close o คลิกปุม Close บริเวณมุมขวาของหนาตางงาน แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 23
  • 24. บทที่ 3 การใสขอความบนเว็บเพจ ขอความตางๆ บนหนาเว็บเพจนับวาเปนองคประกอบที่มีความสําคัญมาก เนื่องจากขอความที่ ปรากฏบนหนาเว็บเพจ จะเปนตัวกลางสื่อความหมายถึงผูเขามาเยี่ยมชมเว็บไซต ดวยเหตุนี้จึงจําเปนตองจัดวาง ขอความเนื้อหาตางๆ บนหนาเว็บเพจใหเหมาะสมสวยงาม เพื่อเปนสิ่งดึงดูดใหมีผูเขาชมเว็บไซตของเรามากๆ เริ่มใสขอความในเว็บเพจ วางเคอรเ ซอรใ นตํา แหนง ที่ตอ งการพิม พ ขอ ความ แล วพิ ม พข อ ความที่ต อ งการ เพีย งเทานี้ ก็จ ะได ขอความที่ตองการแลว แตถาตองการตกแตงสวนตางๆ เพิ่มเติม เชน ใสสีพื้นหลังหรือกําหนดระยะหาง จากขอบก็สามารถทําไดเชนกัน แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 24
  • 25. การเลือกรูปแบบตัวอักษร (Font) ในการเลือกรูปแบบตัวอักษรที่ไมมีมาตรฐานนั้น อาจจะเกิดปญหาไดในกรณีที่มีผูเขาชมเว็บไซตแลว อานยาก ไมสวย หรือเปนภาษาที่อานไมออก ดังนั้นจึงควรใชรูปแบบตัวอักษรที่เปนมาตรฐาน เชน MS Sans Serif เนื่องจากสามารถแสดงผลบนเบราเซอรทุกชนิด โดยการเลือกรูปแบบตัวอักษร (Font) มีขั้นตอนดังนี้ 2 คลิกเลือก Edit Font List 1 คลิกในชอง Font บริเวณ ดานลางในหนาตาง Properties 4 คลิกที่ปุม สําหรับ 3 คลิกเลือกรูปแบบตัวอักษร เพิ่มรูปแบบตัวอักษรอีก MS Sans Serif Properties Inspector ของขอความ สรางหัวขอ ขนาดตัวอักษร สีตัวอักษร ตัวหนา ตัวเอียง จัดเรียงหัวขอและลิสตบุค จัดตําแหนงยอหนาขอความ แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 25
  • 26. การนําขอมูลจากไฟลอื่นมาใช ความสามารถพิเศษอีกอยางของ Dreamweaver 8 ก็คือ นําขอมูลตางๆ ที่อยูในไฟลประเภทอื่น เชน Word, Excel, Powerpoint เปนตน มาวางบนพื้นที่สรางงานซึ่งจะชวยเพิ่มความสะดวกและ ประหยัดเวลาในการทํางานเปนอยางมาก โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1 เลือกขอมูลจากหนาเอกสาร Word 2 คลิกเมาสขวาเลือกคําสั่ง คัดลอก 3 กลับมาทํางานในหนาเว็บเพจของ โปรแกรม Dreamweaver 8 จากนั้นคลิกเมนู Edit > Paste 4 ปรากฏไฟลจากหนาเอกสาร Word มาใชในเว็บเพจของ Dreaweaver 8 แลว แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 26
  • 27. บทที่ 4 การใสรูปภาพบนเว็บเพจ ภายในเว็บเพจของเรานอกจากจะมีเนื้อหาที่มีประโยชนแกผูเขาชมแลว หากมีการเพิ่มรูปภาพกราฟก ตางๆ ก็จะชวยใหเว็บเพจมีสีสันสวยงามนาสนใจมากยิ่งขึ้น ดังนั้นเราจะเห็นไดวาเว็บไซตจํานวนมากจึงนิยมนํา รูปภาพมาใชตกแตงและอธิบายเนื้อหาเพื่อใหผูเขามาเยี่ยมชมเว็บไซตไดเห็นภาพและเขาใจเนื้อหามากขึ้น ขอพิจารณาในการเลือกใชรูปภาพ ในการนําภาพมาประกอบขอความบนเว็บเพจนั้น ควรพิจารณาและเลือกรูปภาพที่นํามาใชใหเหมาะสม โดยมีขอพิจารณาดังนี้ 1. ไมควรเนนรูปภาพภายในเว็บเพจมากจนเกินไป ควรจะมีขอความและรูปภาพที่สมดุลกัน 2. การใชรูปภาพที่เปนไฟลขนาดใหญจะทําใหการโหลดเว็บเพจใชเวลานานกวาจะแสดงภาพ ดังนั้น จึงควรใชภาพที่มีพอเหมาะกับสิ่งที่เราตองการสื่อกับผูชม หรืออาจใชโปรแกรมทางกราฟก เชน Photoshop หรือ ACDSee ทําการลดขนาดภาพ (Resize) กอนนํามาลงบนเว็บเพจก็ได 3. ปจจุบันการนํารูปภาพลงเว็บเพจควรคํานึงถึงที่มาและลิขสิทธิ์ของรูปภาพนั้นดวย แตบางเว็บไซตก็ มีการแจกรูปภาพใหฟรี ซึ่งสามารถนํามาใชประโยชนโดยไมตองเสียคาลิขสิทธิ์  4. ควรเลือกใชภาพที่มีโทนเดียวกับสวนประกอบอื่นภายในเว็บเพจ เพื่อความกลมกลืนไมแตกตางกัน ชนิดของรูปภาพที่ใชในเว็บเพจ ชนิดของรูปภาพที่ใชในเว็บเพจมีอยู 3 ชนิดดวยกัน ซึ่งแตละชนิดมีรายละเอียดและลักษณะที่แตกตาง กันดังนี้ GIF (Graphic Interchange Format) GIF นับเปนไฟลภาพที่สามารถแสดงผลกับเบราเซอรไดทุกชนิด จึงไดรับความนิยม โดย ส ว นมากมั ก จะใช รู ป ภาพไฟล .gif กํ า หนดฉากหลั ง หรื อ พื้ น ที่ โ ปรงใส การใช ทํ า ภาพเคลื่ อ นไหว (Animation) ภาพโลโก ตัวการตูน ภาพตัวอักษรลายเสนตางๆ JPG (Joint Photographic Expert Group) JPG เปนไฟลภาพที่แสดงสีไดถึง 16.7 ลานสี เหมาะสําหรับภาพที่ใชสีจํานวนมาก ภาพที่ มีการไลระดับสีอยางตอเนื่องหรือภาพถายทั่วไป PNG (Portable Network Graphic) PNG เปนไฟลภาพที่ไมไดรับความนิยมมากนักเมื่อเทียบกับ GIF, JPG เนื่องจากเปน รูปแบบใหม จึงไมสามารถแสดงผลไดทุกเบราเซอร แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 27
  • 28. การใสรูปภาพลงบนเว็บ ในการใสรูปภาพลงบนเว็บเพจ มีขั้นตอนดังนี้ 1 วางเคอรเซอรตรงตําแหนงที่ตองการใสรูปภาพ 2 ในแท็บ Common คลิกที่ปุม เลือก Image 3 ในชอง Look in ใหเลือกโฟลเดอรที่เก็บไฟลภาพ 4 เลือกรูปภาพที่ตองการ 5 คลิกปุม OK 6 ปรากฏหนาตางแสดงขอความวา ภาพนี้อยู 7 เลือกโฟลเดอรที่ใชเก็บภาพ นอกเว็บไซตใหกอบปเขามาในเว็บไซต  จากนั้นคลิกปุม Yes 8 คลิกที่ปุม Save 9 ปรากฏรูปภาพที่ตองการบนเว็บเพจ แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 28
  • 29. การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ เมื่อเรานํารูปภาพมาวางไวในเว็บเพจแลว หากเราตองการจัดเกี่ยวกับรูปภาพในลักษณะตางๆ เชน การ ปรับขนาด การจัดวางรูป การใสขอความอธิบายรูปภาพ การใสกรอบใหรูปภาพ การกําหนดระยะหางระหวาง รูปภาพ เปนตน เราสามารถจัดการเกี่ยวกับรูปภาพไดโดยใช กําหนดระยะหางของรูป ใสกรอบใหรูปภาพ การจัดวางรูป ปรับแสงและความคมชัด ปรับขนาดของรูปภาพ ใสขอความอธิบายรูปภาพ การจัดวางรูปภาพประกอบขอความ เราสามารถจัดวางรูปภาพประกอบขอความบนหนาเว็บเพจใหมีความสวยงาม เปนที่นาดูของผูเขามา เยี่ยมชมเว็บไซต โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1 คลิกเลือกรูปภาพที่ตองการ 2 คลิกเลือกรูปแบบการจัดวางรูปภาพ ในหนาตาง Properties ของ Align โดยในที่นี้เลือก Left เพื่อจัด วางรูปภาพไวดานซายมือ แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 29
  • 30. 3 ปรากฏการจัดวางรูปที่ตองการ ในการจัดวางรูปภาพประกอบขอความมีรายละเอียดดังนี้ • Default เปนการจัดเรียงแบบปกติ • Baseline เปนการจัดใหขอบลางของรูปภาพอยูแนวเดียวกับบรรทัดของ ขอความ • Top เปนการจัดใหขอบบนของรูปภาพอยูแนวเดียวกันกับบรรทัดของขอความ • Middle เปนการจัดใหตรงกลางของรูปภาพอยูแนวเดียวกันกับบรรทัดของ ขอความ • Bottom เปนการจัดใหขอบลางของรูปภาพอยูแนวเดียวกันกับบรรทัดของ ขอความคลายการจัดแบบ Baseline • Text Top เปนการจัดใหขอบบนของรูปภาพอยูแนวเดียวกับบรรทัดของ ขอความคลายการจัดแบบ Top • Absolote Bottom เปนการจัดใหขอบลางของรูปภาพอยูแนวเดียวกับ สวนกลางของบรรทัดขอความ • Left เปนการจัดใหรูปภาพอยูทางซายมือของบรรทัดขอความ • Right เปนการจัดใหรูปภาพอยูทางขวามือของบรรทัดขอความ การใสรูปภาพเปนฉากหลัง การใสรูปภาพเปนฉากหลัง (Background) ถือวาเปนการเพิ่มความสวยงามและนาสนใจใหกับ เว็บเพจ ซึ่งภาพที่นาจะนํามาเปนฉากหลังตองไมมีลวดลายหรือสีสันมากเกินไป เพื่อไมใหผูชมเว็บไซตสับสน หรือสีของพื้นหลังอาจตัดกับสีของขอความทําใหลําบากในการอานได ดังนั้นภาพที่นํามาเปนฉากหลังตองเปนสีที่ กลมกลืนกับขอความหรือรูปภาพที่วางไวในเว็บเพจ ซึ่งการใสรูปภาพเปนฉากหลังมีขั้นตอนดังนี้ แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 30
  • 31. 1 คลิกที่ปุม Page Properties... หรือกดปุม <Ctrl+J> เพื่อเปดหนาตาง Page Properties 2 คลิกที่หัวขอ Apperance 4 เลือกไฟลรูปภาพที่ตองการนํามาเปนฉากหลัง  3 คลิกที่ปุม Browse... 5 คลิกที่ปุม OK 6 คลิกที่ปุม OK ที่ หนาตาง Page Properties อีกครั้ง 7 ปรากฏภาพที่ นํ า มาเป น ฉากหลังเรียบรอยแลว แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 31
  • 32. บทที่ 5 การจัดหนาเว็บเพจดวยตาราง เว็บเพจสวนมากมักนิยมใชตารางในการจัดวางองคประกอบ ซึ่งสวนมากจะเกี่ยวกับการนําเสนอขอมูลที่ เปนรายชื่อหรือรายการตางๆ และที่สําคัญคือใชตารางสําหรับจัดเลยเอาตหนาเอกสาร เพื่อชวยในการแสดงขอมูล และองคประกอบตรงตามตําแหนงที่ตองการ โครงสรางของตาราง กอนที่จะลงมือสรางตารางควรมาทําความรูจักโครงสรางของตารางซึ่งจะชวยทํางานไดงายขึ้น โดยมี รายละเอียดดังนี้ • คอลัมน (Column) ชองในแนวตั้ง • แถว (Row) ชองในแนวนอน • เซลล (Cell) ชองแตละชองที่อยูในตาราง • Cell Spacing เปนชองวางระหวางเซลลแตละเซลล • Cell Padding เปนระยะหางของขอความหรือรูปภาพจากขอบทุกดานของเซลล • สีพื้นเซลล • ขอบตาราง • ขอบเซลล • ความกวางทั้งหมดของตาราง • ความกวางจริงในคอลัมน • ความกวางของคอลัมนที่กําหนด • คอลัมนที่ไมกําหนดความกวาง Row Cell Padding สีพื้นเซลล Cell ขอบเซลล ขอบตาราง Column คอลัมนที่ไมกําหนดความกวาง ความกวางจริงในคอลัมน ความกวางทั้งหมดของตาราง แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 32
  • 33. วิธีการสรางตาราง ในโปรแกรม Dreamweaver มีเครื่องในการสรางตารางมากมาย เชน เครื่องมือในการสรางเสน ขอบของตาราง กําหนดสีพื้นตารางและเซลล การจัดขอมูลตางๆ ภายในเซลล เปนตน โดยวีธีการสรางตารางมี ขั้นตอนดังนี้ 1 คลิกแท็บ Common ที่แถบ Insert Bar 2 คลิกที่ปุม Insert Table เพื่อสรางตาราง 3 ปรากฎหนาตาง Table จากนั้นในชอง Rows ใหกําหนดจํานวนแถว ของตาราง โดยในที่นี้กําหนดเปน 3 4 ในชอง Column ใหกําหนดจํานวน คอลัมนของตาราง โดยในที่นี้กําหนด เปน 3 แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 33
  • 34. การกําหนดคุณบัติของตาราง ในหนาตาง Properties จะแสดงคุณสมบัติของตาราง ซึ่งมีรายละเอียดในการปรับแตง ดังนี้ • Table Id แสดงชื่อตาราง • Rows แสดงจํานวนแถว • Cols แสดงจํานวนคอลัมน • W ความกวาง • H ความสูง • CellPad แสดงระยะหางระหวางขอบเซลลและเนื้อหาภายในเซลล • CellSpace แสดงระยะหางระหวางเซลลแตละเซลล • Align กําหนดตําแหนงตาราง • Border กําหนดความหนาของเสนตาราง • Bg Color กําหนดสีพื้นตาราง • Brdr กําหนดสีขอบตาราง • Bg Image กําหนดฉากหลังตาราง • Clear Column Widths ยกเลิกคาความกวางในทุกคอลัมน • Convert Table Widths to Pixels เปลี่ยนหนวยวัดความกวางใหเปนพิกเซล • Convert Table Widths to Percent เปลี่ยนหนวยวัดความกวางใหเปนเปอรเซ็นต • Clear Row Heights ยกเลิกคาความสูงในแถว • Convert Table Heights to Pixels เปลี่ยนหนวยวัดความสูงใหเปนพิกเซล • Convert Table Heights to Percent เปลี่ยนหนวยวัดความสูงใหเปนเปอรเซ็นต แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 34
  • 35. บทที่ 6 การสรางไฮเปอรลิงกเชื่อโยงระหวางเว็บ ไฮเปอรลิงก (Hyperlink) หรือที่เรียกวา “ลิงก” เปนการเชื่อมโยงเว็บไซตบนอินเตอรเน็ต จากจุดหนึ่งโยงไปยังอีกจุดหนึ่ง หรือเชื่อมตอเขาสูอีเมลลของ Webmaster เพื่อติดตอสื่อสารกัน การ เชื่อมโยงในลักษณะนี้นับวามีประโยชนอยางมาก เนื่องจากทําใหผูเขาชม สามารถเขาถึงขอมูลและเนื้อหาทุกหนา เว็บเพจภายในเว็บไซตของเราได สวนประกอบของไฮเปอรลิงก ในการทํางานของไฮเปอรลิงกมีสวนประกอบดังนี้ 1. ตนทาง (Source Anchor) หมายถึง สวนประกอบบนเว็บที่เปนจะลิงก ซึ่งเมื่อเลื่อเมาสไปชี้ พอยเตอรจะเปลี่ยนเปนรูปมือ และเมื่อคลิกเลือกหนาเว็บหรือขอมูลปลายทางจะปรากฏขึ้นมา ซึ่ง อาจเปนขอความหรือรูปภาพก็ได 2. ปลายทาง (Destination Anchor) หมายถึง เนื้อหาขอมูลตางๆ ไมวาจะเปนขอความหรือ รูปภาพ ซึ่งถูกเรียกใหปรากฏขึ้นมาเมื่อมีผูชมคลิกที่ลิงกตนทาง ซึ่งลิงกปลายทางแบงไดเปนหลาย รูปแบบ ดังนี้ ตําแหนงเฉพาะบนเว็บเพจ คือการสั่งใหเบราเซอรเปดเว็บเพจพรอมทั้งเลื่อนไปยัง ตําแหนงที่ระบุไวโดยทันที เว็บเพจหรือเว็บไซต โดยสวนมากลิงกบ นเว็บเพจจะใชสําหรับ เปดไปยัง หนาเว็บเพจอื่นภายในเว็บไซตเดียวกัน หรือเปดไปยัง หนาเว็บไซตอื่น ไฟลเอกสารอื่นๆ สามารถลิ ง ก ไ ปยั ง เนื้ อ หาหรื อ ข อ มู ล ต า งๆ บน อินเตอรเน็ตได หากรูตําแหนงที่อยู โดยวิธีการทํางาน ของเบราเซอร จะขึ้นอยูกับประเภทของไฟลเหลานั้น คําสั่งสงอีเมลล คื อ การสั่ ง ให เ ป ด โปรแกรมอี เ มลล บ นเครื่ อ ง คอมพิ ว เตอร ข องผู ช ม เพื่ อ เตรี ย มเขี ย นข อ ความส ง อีเมลล การรันโปรกแกรมจาวาสคริปต สําหรับใชในการโตตอบบนเว็บเพจ การปดวินโดวเบ ราเซอร การเปดลิงก็เปนวินโดวใหม แบบปอบอัพ แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 35
  • 36. รูปแบบลิงกตางๆ บนอินเตอรเน็ต ลิงกนับวาเปนสวนสําคัญของหนาเว็บเพจ โดยในปจจุบันไดมีลิงกในรูปแบบตางๆ มากมาย ซึ่งสามารถ แบงไดดังนี้ ลิงกขอความ หมายถึง ลิงกที่ใชขอความเปนจุดเชื่อมโยงไปยังตําแหนงปลายทาง ซึ่งปกติจะใชสีให แตกตางจากขอความปกติหรือมีการขีดเสนใตขอความนั้นๆ ตัวอยางลิงกขอความ (www.mwk.ac.th/maechancop) ลิงกรูปภาพ หมายถึง ลิงกที่ใชรูปภาพเปนจุดเชื่อมโยง โดยเมื่อนําเมาสไปวางบนรูปภาพเคอรเซอรของ เมาสจะเปลี่ยนเปนรูปมือ ตัวอยางลิงกรูปภาพ (www.sawasdeeit.com) แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 36
  • 37. ลิงกภาพเคลื่อนไหว ในปจจุบันนี้ลิงกภาพเคลื่อนนิยมนํามาใชตกแตงหนาเว็บเพจ เนื่องจากมีความ สวยงามและมีลูกเลนตางๆ ที่ทําใหผเู ขาชมเว็บไซตสนุกและตื่นตา โดยการลิงกแบบภาพเคลื่อนไหวจะใชรูปภาพ เปนจุดเชื่อมโยงเชนเดียวกัน แตเมื่อนําเมาสไปวางไวบนรูปจะมีลูกเลนตางๆ เชน การเปลี่ยนรูป ขนาดสี ปรากฏ ขึ้นมา ภาพกอนนําเคอรเซอรไปวาง ภาพหลังนําเคอรเซอรไปวาง ลิงกแบบ Flash การสรางลิงกดวยโปรแกรม Macromedia Flash หรือโปรแกรม SWISH จะมีลูกเลนความสวยงามและสามารถโตตอบกับผูเขาชมไดดวย โดยการลิงกแบบ Flash เพื่อ ประกอบในเว็บเพจมักเปนที่นิยมในปจจุบัน ตัวอยางลิงกแบบ Flash (www.kapook.com) แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 37
  • 38. เราสามารถตรวจสอบลิงกที่สรางจากโปรแกรม Macromedia Flash โดยคลิกขวาที่ลิงก ถามี คําสั่ง About Macromedia Flash Player แสดงวาเปนลิงกแบบ Flash คลิกทดสอบลิงกแบบ Flash การสรางลิงกขอความ ในการลิงกขอความนั้นสามารถทําได 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 การลิงกขอความไปยังหนาเว็บเพจอื่นในเว็บไซตเดียวกัน มีขั้นตอนดังนี้ 1 เลือกขอความที่ตองการ สรางจุดลิงก 2 คลิกที่ปุม 3 ปรากฎหนาตาง Select File จากนั้นคลิกเลือกเว็บ เพจปลายทางที่ตองการลิงก 4 คลิกปุม OK แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 38
  • 39. จากนั้นใหบันทึกเว็บเพจแลวกดปุม F12 เพื่อเรียกดูผานเบราเซอร ทดสอบโดยการคลิกที่ลิงก จากนั้น ก็จะเชื่อมโยงไปยังหนาเว็บเพจที่กําหนด คลิกที่ลิงก ปรากฏหนาเว็บเพจที่ตองการ วิธีที่ 2 การลิงกขอความไปยังสวนตางๆ ในหนาเว็บเพจเดียวกัน มีขั้นตอนดังนี้ 2 คลิกเมนู Insert > Named Anchor 3 ปรากฎหนาตาง Named Anchor จากนั้น พิมพชื่อลิงก โดยในที่นี้พิมพคํา วา When 1 วางเคอรเซอรหนาขอความที่ตองการลิงกไปหา 4 คลิกปุม OK แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 39
  • 40. ปรากฎไอคอน 5 เลือกขอความที่ใชเปนจุดลิงก 6 พิมพ # ตามดวยชื่อจุดลิงก โดยในที่นี้พิมพคําวา When เมื่อบันทึกและคลิกลิงกที่สรางขึ้น บนหนาเว็บเบราเซอร 7 จะปรากฎการลิงกไปยังสวนที่ตองการ 8 ปรากฏสวนที่ลิงก แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 40
  • 41. การสรางลิงกดวยรูปภาพ การสรางลิงกดวยรูปภาพนับเปนการเพิ่มความนาสนใจกับลิงกในหนาเว็บเพจ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1 คลิกเลือกรูปที่ตองการ สรางลิงก 4 คลิกปุม OK 2 คลิก ในหนาตาง Properties เพื่อ เลือกหนาเว็บเพจที่ตองการลิงกไปหา 3 ปรากฎหนาตาง Select File เลือกเว็บเพจปลายทางที่ตอง บันทึกหนาเว็บเพจ จากนั้น กดปุม F12 เพื่อทดสอบกับเบราเซอร << ทดสอบกับเบราเซอร หนาเว็บเพจที่ปรากฏขึ้นมา >> แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 41
  • 42. การลิงกกลับไปหนาโฮมเพจ หากตองการสรางลิงกรูปภาพกลับไปหนาโฮมเพจ (หนาแรกของเว็บไซต) มีขั้นตอนดังนี้ 1 คลิกเลือกรูปที่ตองการ สรางลิงก 2 คลิก ในหนาตาง Properties เพื่อเลือกหนา เว็บเพจที่ตองการลิงกไปหา 3 ปรากฎหนาตาง Select File เลือกเว็บเพจปลายทางที่ตอง 4 คลิกปุม OK บันทึกหนาเว็บเพจ จากนั้น กดปุม F12 เพื่อทดสอบกับเบราเซอร << ทดสอบกับเบราเซอร หนาเว็บเพจที่ปรากฎขึ้นมา >> แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 42
  • 43. การลิงกไปยังเว็บไซตอื่น เปนการสรางลิงกไปยังเว็บไซตหรือแหลงขอมูลภายนอกเว็บไซตของเรา ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1 ลากเมาสเลือกขอความ หรือรูปภาพสําหรับ กําหนดใหเปนจุดลิงก 2 พิมพชื่อเว็บเพจปลายทางในชอง Link ใหใส http:// จากนั้นตามดวยชื่อเว็บไซตที่ตองการลิงก ในตัวอยางพิมพ http://www.mwk.ac.th/maechancop บันทึกหนาเว็บเพจ จากนั้น กดปุม F12 เพื่อทดสอบกับเบราเซอร ทดสอบกับเบราเซอร >> << หนาเว็บเพจที่ปรากฎขึ้นมา แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 43
  • 44. บทที่ 7 การเพิ่มลูกเลนใหหนาเว็บเพจ เมื่อไดเรียนรูถึงองคประกอบพื้นฐานในการสรางเว็บเพจ เชน การใสขความ รูปภาพ การใชตาราง การ สรางลิงก เรียบรอยแลว หากตองการเพิ่มลูกเลนบนหนาเว็บเพจเพื่อดึงดูดความสนใจของผูเขาชม ก็สามารถทําได มากมาย ไมวาจะเปนการใชภาพเคลื่อนไหว การคนหาขอมูล การสรางเมนู Pop Up เปนตน ซึ่งเราจะมาศึกษา กันในบทนี้ การสรางชองคนหาขอมูลในเว็บเพจ การใส Search Engine หรือเครื่องมือสําหรับการคนหาขอมูลตางๆ นับเปนสิ่งที่สําคัญขาด ไมไดโดยการสรางชองคนหาขอมูลในเว็บเพจมีขั้นตอนดังนี้ 2 คลิกปุม Form บนแท็บ Forms 1 วางเคอรเซอรบริเวณ ที่ตองการสรางชอง คนหาขอมูล กําหนดคาในชอง Properties ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 3 ในชอง Action ใหพิมพ http://www.google.co.th/search เพื่อสราง Search engine ของ Google 4 ในชอง Method ใหเลือกคา แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 44
  • 45. 6 คลิกปุม Text Field เพื่อใสฟลดรับขอมูล 7 วางในบริเวณเดิมที่เราจะสรางฟลดรับขอมูล 8 ใสชื่อของ Field ที่ตองการ 9 คลิกปุม OK 10 Text Field ที่ได แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 45
  • 46. 11 คลิกปุม Button แบบ Submit เพื่อสรางปุมสงขอมูลจากฟอรมไปยัง Google 12 พิมพชื่อปุมลงไปในชอง Value บันทึกหนาเว็บเพจ จากนั้น กดปุม F12 เพื่อทดสอบกับเบราเซอร 13 ทดสอบกับเบราเซอรพิมพขอมูลที่ตองการคนหาแลวคลิกที่ปุม Search แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 46
  • 47. เพิ่มเติมลูกเลนดวย Behavior ในโปรแกรม Dreamwever สามารถสรางการโตตอบระหวางองคประกอบตางๆ บนเว็บเพจกับผู เยี่ยมชมเว็บไซต เชน เมื่อนําเมาสไปวางบนลิงกจะมีกรอบเมนูยอยปรากฏใหเลือกหรือแสดงขอความอธิบาย เปน ตน โดยเราเรียกคุณสมบัตที่ใชสรางนี้วา Behaviors ิ ความหมายของ Behaviors Behavior คือ การนํา JavaScript สําเร็จรูปที่โปรแกรม Dreamweaver สรางไวใหมาใช Behaviors ประกอบดวย 2 สวนดวยกันคือ 1. Event หมายถึง การกําหนดเหตุการณหรือลูกเลนตางๆ ที่สรางไวใหเกิดขึ้นเมื่อไร เชน เมื่อผู เยี่ยมชม นําเมาสไปวางหรือคลิก 2. Action หมายถึง การตอบสนองของเหตุการณที่เราตองการใหเกิดขึ้น ซึ่งเปนผลมาจากชุดคําสั่ง ภาษา JavaScript ที่เขียนขึ้นเพื่อแสดงการทํางานตางๆ เชน การแสดงภาพ การแสดงกลอง ขอความ การเปดหนาตางเบราเซอรใหม เปนตน การเปดพาเนล Behavior กอนการสราง Behavior ใหเราเปดพาเนล Behavors ขึ้นมากอน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1 คลิกเมนู Windows > Behaviors หรือกดปุม <Shift+F4> 2 ปรกฎพาเนล Behaviors ซึ่งจะชวยในการกําหนด Event และ Action การนํา Behavior มาใชงาน ขอแนะนําการใชงาน Behavior เปนหัวขอตางๆ ดังนี้ การสรางกลองขอความ (Popup Message) เปนการแสดงกลองขอความแจงคําเตือนตางๆ ใหผเู ยี่ยมชม ซึ่งมีขั้นตอนการสรางดังนี้ แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 47
  • 48. 1 คลิกเลือกรูปภาพ 2 คลิกที่ปุม Add Behavior เลือก Popup Message 3 พิมพขอความที่ตองการใหแสดงบนรูปภาพ 4 คลิกปุม OK 5 จากนั้นที่พาเนล Behavior จะปรากฏ Action เปน Popup Message และ Event เปน onClick 6 บันทึกเว็บเพจแลวทดสอบเบราเซอร จากนั้นคลิกที่รปภาพจะปรากฏกลองขอความที่กําหนด ู แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 48
  • 49. การใสเสียงเพลงลงในเว็บไซต การใสเสียงเพลงนับเปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยเพิ่มความนาสนใจใหกับเว็บไซตของเรา ยกตัวอยางเชน ให เปดเสียงเพลงเมื่อผูเยี่ยมชมคลิกเมาสบนปุมหรือเมื่อเปดหนาเว็บเพจ สําหรับการใสเสียงเพลงลงในเว็บไซต มีขั้นตอนดังนี้ 2 คลิกปุม Media : Flash 3 เลือก Plugin 1 วางเคอรเซอรบริเวณที่ตองการ สรางหนาจอควบคุมเสียง 4 ปรากฎหนาตาง Select File ในชอง Look in คลิกเลือกโฟลเดอรที่เก็บไฟลเพลง 5 คลิกเลือกไฟลเพลงที่ตองการใสลงในเว็บเพจ 6 คลิกที่ปุม OK 7 คลิกที่ปุม Yes เพื่อ Copy ไฟลเพลงไวภายในเว็บของเรา 8 คลิกที่ปุม Save เพื่อบันทึกไฟลเพลง แมนสรวง แซซิ้ม มิ.ย.49 49